You are on page 1of 43

การบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน

Community based treatment and rehabilitation :


CBTx

มณทิรา เมธา
พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ โรงพยาบาลธัญญารักษ์เชียงใหม่
1
แนวคิดและหลักการ
การบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน
Community based treatment and rehabilitation :
CBTx

2
การบาบัดืฟนฟูโดยมีืวนร
ส ืวมของชุมชน
(Community based treatment and rehabilitation : CBTx)

▪ ปี ค.ศ. 2014 มีประชากรกว่า 20 ล้านคนทั่วโลกที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด


และมีผู้เสียชีวิตจากยาเสพติดมากกว่า 200,000 คน /ปี
▪ สาหรับประเทศไทยในปี 2560 คาดการณ์ว่ามีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดมากถึง 1.4
ล้านคน
▪ ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาในภาครัฐได้เพียง 2 แสนราย
ต่ อ ปี เ ท่ า นั้ น แสดงว่ า ยั ง คงมี ปั ญ หาผู้ เ สพ/ผู้ ติ ด ยาเสพติ ด ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า สู่
กระบวนการบาบัดอีกเป็นจานวนกว่าล้านคนและยังคงอาศัยอยู่ในชุมชน
▪ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการดาเนินงานการบาบัดฟื้นฟูโดยชุมชนมีส่วน
ร่วม (Community based) เพื่อตอบโจทย์การแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดของ
ประเทศ
3
ปรัชญาของการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน

การบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (Community
based treatment and rehabilitation: CBTx)
มี เ ป้ า หมายหลั ก ที่ ส าคั ญ คื อ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การดู แ ลผู้ ใ ช้
ยาเสพติดแบบองค์รวมด้วยความเข้มข้นที่แตกต่างกันไปตามแต่
บริบทและความซับซ้อนของปัญหาในผู้ใช้ยาเสพติดแต่ละราย

4
แนวคิดสาคัญ

❑ เน้ น ความต่ อ เนื่ อ งของกระบวนการดู แ ลตั้ งแต่ ก ระบวนการค้ น หา


ผู้ป่วย (outreach) การช่วยเหลือพื้นฐาน (basic support) การลด
อันตราย (harm reduction) และการกลับคืนสู่สังคม (social
reintegration) โดยไม่เข้าผิดช่องทางในการเข้าสู่ระบบ
❑ จัดบริการต่างๆในชุมชนให้ใกล้ชิดกับสถานที่ที่ผู้ใช้ ยาเสพติดอาศัยอยู่
ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
❑ รบกวนความเชื่อมโยงทางสังคมและการทางานของผู้ใช้ ยาเสพติดให้
น้อยที่สุด

5
แนวคิดสาคัญ (ต่อ)
❑ บูรณาการรูป แบบการดู แ ลเข้ ากั บระบบบริการสุ ขภาพและระบบ
บริการทางสังคมที่มีอยู่เดิม
❑ จัดตั้งรูปแบบการดูแลผู้ใช้ ยาเสพติดบนทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่
แล้ว รวมไปถึงทรัพยากรทางครอบครัว
❑ อาศัยการมีส่วนร่วมของบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ ยาเสพติด
ครอบครัว และชุมชนในการวางแผนและรูปแบบบริการ

6
แนวคิดสำคัญ แนวคิดสาคัญ (ต่อ)
❑ อาศั ย การจั ด การแบบองค์ ร วม โดยการก าหนดบั ญ ชี ค วาม
ต้องการที่จาเป็นของแต่ละบุคคล (สุขภาพ ครอบครัว การศึกษา
การจ้างงาน และที่อยู่อาศัย)
❑ มีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดของภาคประชาสังคม
ผู้บังคับใช้กฎหมาย และผู้ให้บริการทางด้านสุขภาพ
❑ ก าหนดเครื่ อ งมื อ ในการดู แ ลผู้ ใ ช้ ย าเสพติ ด บนหลั ก ฐานเชิ ง
ประจักษ์

7
แนวคิดสาคัญ แนวคิดสาคัญ (ต่อ)
❑ ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการแจ้งข้อมูลการบาบัดรักษาและสมัครใจมีส่วน
ร่วมในการบาบัดรักษา
❑ เคารพสิทธิมนุษยชน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และพิทักษ์ความลับของ
ผู้ใช้ยาเสพติด
❑ ยอมรับว่าการติดซ้าเป็นขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการรักษาและไม่ควร
หยุดกระบวนการนาผู้ใช้ยาเสพติดให้เข้าถึงบริการอีกครั้ง
❑ ลักษณะที่สาคัญของการดูแลที่ดีคือ การดูแลที่จะบูรณาการการรักษา
ฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าสู่การบริการทางสังคม
และสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืน และชุมชนสามารถตรวจสอบได้
8
การบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน
Community based treatment and rehabilitation:
CBTx
ความหมาย คือ รูปแบบการบาบัดรักษาเชิงบูรณาการ โดยเฉพาะ
ต่อผู้ใช้ยาเสพติดและติดยาในชุมชน เพื่อให้เกิดการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตามแนวคิดการคืนผู้ป่วยสู่สังคม เน้นการประสานความร่วมมือกับภาคี
เครื อ ข่ า ยทั้ ง ด้ า นสุ ข ภาพ สั ง คมและการบริ ก ารอื่ น ๆ ตลอดจนให้ ก าร
สนับสนุนครอบครัว และชุมชนของผู้ป่วยอย่างจริงจังในการแก้ปัญหายา
และสารเสพติด เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ในระยะยาว (UNODC, 2014)

9
การบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน
Community based treatment and
rehabilitation: CBTx
มีลักษณะ ดังนี้
❑มีการดาเนินการในชุมชน
❑มีการระดมทรัพยากรและการมีส่วนร่วมของชุมชน
❑เป็นเสมือนแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล
❑มีการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
❑มีการบูรณาการ การรักษาฟื้นฟูเข้ากับบริการทางสังคมและสุขภาพใน
ชุมชน
❑เข้ารับการบาบัดรักษาด้วยความสมัครใจและชุมชนรองรับค่าใช้จ่ายได้
10
เป้าหมายของการดาเนินการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วน
ร่วมของชุมชน
❑ เพื่อให้เกิดกระบวนการบาบัดฟื้นฟูในชุมชน ด้วยการดาเนินการของชุมชน
เองภายใต้แนวคิดการวางแผน การออกแบบ การกาหนดวิธีการดาเนินงาน
ตามศักยภาพและบริบทของชุมชนนั้นๆ โดยการสนับสนุนด้านวิชาการในการ
ดาเนินกิจกรรมจากหน่วยงานภาครัฐที่สาคัญ เช่น รพ.สต. รพช.
❑ มีการบูรณาการให้เกิดการดาเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมจากองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะ กรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.)
❑ ร่วมแรงร่วมใจให้การสนับสนุนช่วยเหลือทางด้านสังคมจากพหุภาคีทั้ง
ภาครัฐและเอกชน โดยมีเป้าหมายสาคัญร่วมกัน คือ ความร่วมมือในการ
แก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน

11
จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชนถูก
ออกแบบมาเพื่อ
1. เป็นการบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ที่สะดวก มีความยืดหยุ่น และแทรกแซงชีวิตประจาวันของผู้ป่วยน้อยกว่าวิธีอื่น
2. ช่ ว ยเหลื อ ให้ ผู้ ป่ ว ยได้ พั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาตนเองให้
สามารถลด ละ หรือเลิกยาเสพติดได้
3. ให้ชุมชนออกแบบระบบการบาบัดฟื้นฟูตามบริบทของพื้นที่ เพื่อสามารถ
ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยแต่ละคนได้อย่างเหมาะสม อีกทั้ง เป็นการช่วยลด
มลทิน (Stigma) และกระตุ้นให้เกิดการเสริมพลังชุมชน
4. เครือข่ายองค์กรในพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชน สมาชิกในชุมชนทุกคนส่งเสริม
กันให้เกิดการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเครือข่ายการบูรณาการงานในรูปแบบของการสร้างเสริม
พลังในตนเอง
5. ลดการส่งผู้ป่วยเข้าสู่สถานบาบัด และลดการกักขังผู้ป่วยในศูนย์บาบัดหรือ
เรือนจา
12
ชุมชนที่สามารถดาเนินการตามแนวทาง CBTx ได้ คือ
1. ชุมชนหมู่บ้าน
2. ชุมชนวัด หรือ ศาสนสถาน
3. ชุมชนโรงเรียน หรือสถานศึกษา
4. ชุมชนสถานประกอบการ หรือโรงงาน

13
ชุมชนที่สามารถดาเนินการตามแนวทาง CBTx
มีองค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ
1. ความสมบูรณ์ของชุมชนในการสร้างกระบวนการบาบัดฟื้นฟูโดยชุมชน
มีส่วนร่วม ซึ่งประกอบด้วย
1.1 ผู้นาชุมชนและคณะกรรมการชุมชนที่เข้มแข็งมีความมุ่งมั่นตั้งใจ
ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
1.2 มี ก ารส่ ง เสริ ม องค์ ค วามรู้ และข้ อ แนะน าที่ ส าคั ญ ในการ
ดาเนินการจากหน่วยงานสาธารณสุขภาครัฐที่อยู่ในพื้นที่
1.3 มีการสนับสนุนด้านสังคมจากองค์กรพัฒนาชุมชนทั้งภาครัฐและ
เอกชน เพื่อความยั่งยืนในการดาเนินงาน

14
องค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ
2. มีการกาหนดกิจกรรมโดยการทาประชาคมภายในชุมชนตาม
กระบวนการ Appreciation-Influence- Control : A-I-C เพื่อ
วิเคราะห์ และกาหนดปัญหาที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของยาและสาร
เสพติดในชุมชน ซึ่งเกิดจากความตระหนักและเป็นมติของคนในชุมชน
ด้ ว ยความร่ ว มมื อ จากคณะกรรมการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ระดั บ อ าเภอ
(พชอ.) เมื่อระบุปัญหาได้แล้วควรมีการระดมสมอง เพื่อกาหนดวิธีการและ
กิจกรรมในการแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดที่ครอบคลุม โดยบูรณาการ
กับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้เกิดการสนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้องตาม
หลักวิชาการและเป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานสาธารณสุขของภาครัฐ

15
องค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ

3. ชุ ม ชนในความหมายของการด าเนิ น งานตามกระบวนการ CBTx


แบ่งเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
1) ชุ ม ชนหมู่ บ้ า น ผู้ น าชุ ม ชน ได้ แ ก่ นายอ าเภอ ก านั น
ผู้ใหญ่บ้าน หรือผู้นาตามธรรมชาติที่ผู้คนในชุมชนให้ความเคารพนับถือ มี
ความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะดาเนินการแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน
หมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ได้แก่ ลูกบ้านที่สนใจ มีความพร้อมและมี
ศักยภาพที่จะร่วมกิจกรรม โดยสถานที่และกิจกรรมจะถูกกาหนดโดยมติ
ของคณะกรรมการ และมีการดาเนินการในชุมชนหรือหมู่บ้านนั้นๆ

16
2) ชุ มชนวั ด หรือศาสนสถาน ผู้นาชุมชน ได้แก่ เจ้า
อาวาสหรือผู้นาศาสนา หรือพระที่ผู้คนในชุมชนให้ความเคารพนับ
ถื อ และมี ค วามมุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจที่ จ ะแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในพื้ น ที่
คณะกรรมการ ได้แก่ พระลูกวัด และประชาชนที่มีความพร้อม มี
ศักยภาพในการร่วมดาเนินกิจกรรม สถานที่ ได้แก่ บริเวณในวัด
หรือ ศาสนสถาน หรือพื้นที่อื่นใดที่ถูกกาหนดขึ้นตามบริบทของ
ชุมชนนัน้ ๆ

17
3) ชุมชนโรงเรียนหรือสถานศึกษา ผู้นาชุมชน ได้แก่ อาจารย์
ใหญ่ ครูใหญ่หรือครูอาวุโสที่บุคคล ทั่วไปในพื้นที่นั้นให้ความเคารพนับถือ
และมี ค วามมุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจที่ จ ะแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในโรงเรี ย น หรื อ
สถานศึ ก ษาหรื อ ชุ ม ชนนั้ น คณะกรรมการ ได้ แ ก่ อาจารย์ หรื อ ครู ใ น
โรงเรียน หรือผู้ปกครอง หรือประชาชนทั่วไปเกี่ยวข้องกับโรงเรียนหรือ
สถานที่ศึกษาที่มีความพร้อม และมีศักยภาพในการร่วมดาเนินกิจกรรม
สถานที่ในการดาเนินการอาจเป็นพื้นที่ในโรงเรียนหรือสถานศึกษาสถาน
หรือที่อื่นใดที่ได้ถูกกาหนดไว้

18
4) ชุม ชนสถานประกอบการหรื อโรงงาน ผู้ นาชุม ชน ได้แ ก่
เจ้ า ของโรงงานหั ว หน้ า ฝ่ า ยบุ ค คลหรื อ บุ ค ลากรอาวุ โ สในสถาน
ประกอบการหรือโรงงาน ที่เจ้าหน้าที่ทั่วไปให้ความเคารพนับถือและมี
ความมุ่ งมั่นตั้งใจที่จะแก้ไขปัญ หายาเสพติด ในสถานประกอบการหรือ
โรงงานนั้ น ๆ คณะกรรมการชุ ม ชน ได้ แ ก่ เจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ า ยบุ ค คลหรื อ
เจ้าหน้าที่ทั่วไปที่มีใจและมีความพร้อมในการดาเนินกิจกรรม สถานที่
ดาเนินการ อาจเป็นพื้นที่ในสถานประกอบการ หรือโรงงาน ที่ถูกกาหนด
ไว้ กิ จ กรรมด าเนิ น การตามแนวทางที่ ก าหนดไว้ เพื่ อ การแก้ ไ ขปั ญ หา
ยาเสพติดในชุมชน

19
องค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ (ต่อ)

4. มี ก ารก าหนดระยะเวลาในการด าเนิ น งานให้ ไ ด้ ผ ล


สาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ทั้งระยะต้น ระยะกลาง และระยะ
ยาว เพื่อชุมชนจะเห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นระยะๆ ซึ่งส่งผลให้เกิด
การแก้ปัญหายาและสารเสพติดในชุมชนอย่างยั่งยืน

20
องค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ (ต่อ)

5. มีการกาหนดเป้าหมายของความสาเร็จที่สาคัญ และ
สามารถวัดผลได้สอดคล้องตามแนวทางในการแก้ไขปัญหายาและ
สารเสพติดระดับชาติ

21
รูปแบบและกระบวนการ
การบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน
Community based treatment and
rehabilitation : CBTx

22
รูปแบบของการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของ
ชุมชน
เป็นการดูแลผู้ใช้ยาและสารเสพติด รวมถึงให้บริการภายในชุมชน
โดยชุมชนตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับการคัดกรองปัญหาการเสพติดใน
ชุมชน การบาบัดรักษาและฟื้นฟูเป็นไปตามแนวทางของสาธารณสุขที่
ก าหนดไว้ ห รื อ มติ ข องคณะกรรมการ โดยมี ห น่ ว ยงานของกระทรวง
สาธารณสุขในพื้นที่เป็นศูนย์ประสานคัดกรอง หากเกินศักยภาพก็สามารถ
ส่ ง ต่ อ ไปยั ง สถานบ าบั ด ในเครื อ ข่ า ยได้ ทั้ ง นี้ เ มื่ อ บุ ค คลนั้ น บ าบั ด แล้ ว
สามารถกลับเข้าสู่ชุมชนโดยชุมชนให้ความช่วยเหลือทางสังคมตามบริบท
ชุมชนนั้น

23
รูปแบบของการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของ
ชุมชน
องค์ประกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบ คือ
1. องค์กรชุมชน ประกอบด้วย องค์กรพัฒนาเอกชนที่จะช่วย
ระบุตัวผู้ที่ใช้ยาและสารเสพติด โดยมีการ คัดกรองปัญหายาเสพติด และ
ส่ ง ต่ อ ไปยั ง หน่ ว ยบริ ก ารสาธารณสุ ข เมื่ อ จ าเป็ น องค์ ก รชุ ม ชนเน้ น เชิ ง
ป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพรวมถึงสนับสนุนช่วยเหลือให้ผู้ป่วยเสพติด
สามารถใช้ชีวิ ตขั้นพื้นฐานในชุม ชนได้ โดยการส่ งเข้าสู่สั งคม และการ
บริการฟื้นฟูสภาพจิตใจ

25
องค์ประกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบ

2. ศู นย์ สุข ภาพ ให้ การบริก ารการตรวจคั ดกรองและให้


คาปรึกษา โดยมีการให้บริการตรวจสุขภาพเบื้องต้นและการบริการอื่นๆ
ตามความต้องการ และความเหมาะสม ผู้ป่วยเสพติดบางรายอาจถูกนาส่ง
ไปรักษาที่โรงพยาบาลหรือคลินิกในกรณีจาเป็นเท่านั้น เช่น การรักษาโรค
เฉพาะทางยาเสพติด ในผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตจากการติดยา อาการเพ้อ
สับสน (Delirium) โรคติดเชื้อ และความผิดปกติทางจิตอื่น เป็นต้น

26
องค์ประกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบ

3. หน่วยสวัสดิการทางสังคมและองค์กรพัฒนาเอกชน ที่ให้
การศึกษา ให้คาปรึกษา ฝึกอบรมอาชีพและทักษะ สร้างโอกาสในการหา
รายได้ใ ห้สินเชื่อขนาดเล็ กกับบุคคลที่ มี ฐ านะยากจน ให้การสนับสนุน
ทางด้านจิตใจและสังคมอื่นๆ ที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทในพื้นที่

27
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน
สานั ก งานป้ อ งกั น ยาเสพติ ด และปราบปรามอาชญากรรมแห่ ง
สหประชาชาติ (UN Office on Drugs and Crime – UNODC) และ
องค์ ก ารอนามั ย โลก (WHO)ประจ าปี 2008 ให้ “หลั ก การของการ
บาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด” ดังนี้
หลักการที่ 1: การเข้าถึงการบริการรักษา ควรทางานเชิงรุกให้
เกิดช่องทางในการเข้าถึงบริการได้ง่าย ราคาไม่ แ พง เป็นที่ยอมรับ / มี
หลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ผลการรักษาเป็นอย่างไร ดี - ไม่ดี สาหรับผู้ป่วย
ทุกคนที่ต้องการได้รับการสนับสนุน

28
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน(ต่อ)
หลักการที่ 2: การตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัย
และ การวางแผนการรั ก ษา นั บ เป็ น พื้ น ฐานการบ าบั ด รั ก ษา
รายบุคคล ที่จะทาให้เข้าใจถึงความต้องการของผู้ป่วยเสพติดแต่
ละคน และช่วยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการบาบัดรักษามากขึ้น

29
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
หลั ก การที่ 3: การบ าบั ด รั ก ษาผู้ ติ ด ยาเสพติ ด จาก
ฐานข้ อ มู ล ที่ ย อมรั บ ตามมาตรฐาน ควรมีก ารศึ ก ษาข้ อ มู ล แนว
ปฏิ บั ติ ที่ ไ ด้ รั บ การพิ สู จ น์ โ ดยการศึ ก ษาและความรู้ ท าง
วิทยาศาสตร์ว่าสามารถรักษาผู้ติด ยาเสพติดอย่างได้ผล เพื่อเลือก
วิธีการรักษา

30
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
หลักการที่ 4: การบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด การพิทักษ์
สิทธิของผู้ป่ว ย มีกระบวนการบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยเสพ
ติดตามความสมัครใจ โดยการให้คาปรึกษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ป่วย การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย คานึงถึงสิทธิมนุษยชน และศักดิ์ศรี
แห่งความเป็นมนุษย์ และลดการตีตรา

31
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน(ต่อ)
หลักการที่ 5: กลุ่มเป้าหมายกลุ่มย่อย ควรมีแนวปฏิบัติใน
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ เช่น
กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มผู้หญิง (รวมทั้งหญิงตั้งครรภ์) ผู้ที่มีโรคร่วมทั้งทาง
กาย - จิต คนชายขอบ และควรคานึงถึงประเพณีและวัฒนธรรมที่
แตกต่างกันด้วย

32
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน(ต่อ)
หลักการที่ 6: การรักษาพฤติกรรมการติด ยาเสพติดและ
ความยุ ติ ธ รรมทางอาญา พฤติ ก รรมการติ ด ยาเสพติ ด นั บ เป็ น
สถานะสุ ข ภาพ และผู้ ป่ ว ยที่ ติ ด ยาแต่ ล ะคนควรจะได้ ก าร
บาบัดรักษาในระบบการดูแลสุขภาพแทนการดาเนินคดีทางอาญา

33
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน(ต่อ)
หลักการที่ 7: การมีส่วนเกี่ยวข้องของชุมชน การมีส่วน
ร่วม และการปฐมนิเทศผู้ป่วย สมาชิกในชุมชนทุกคนมีส่วนร่วมใน
การส่งเสริมให้ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบการช่วยเหลือ
การสนับสนุนทางสังคม และการระดมทุนจากชุมชน

34
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน(ต่อ)
หลักการที่ 8: มีระบบการพัฒนาคุณภาพเพื่อปรั บปรุ ง
ระบบการให้บริการบาบัดรักษาผู้ติดยาและสารเสพติด ซึ่งนับเป็น
สิ่งสาคัญที่ชุมชนต้องกาหนดข้อปฏิบัติ กฎ กติกาที่ชัดเจน เช่น
นโยบาย วิธีการรักษา กระบวนการ บทบาทหน้าที่ของสมาชิก
และแหล่งการเงิน มีการทบทวน ปรึกษาระหว่างกรรมการเป็น
ระยะๆ เพื่อการวางแผนพัฒนางาน

35
หลักการสาคัญ
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
หลักการที่ 9: ระบบการบาบัดรักษา: ควรมีการพัฒนา
นโยบาย การวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการประสานการบริการให้
ครอบคลุ ม การวางแผนการบ าบั ด รั ก ษา มี วิ ธี ก ารด าเนิ น งานที่
ชัดเจน สามารถติดตามและประเมินผลลัพธ์การบาบัดตามตัวชี้วัด
ที่ตั้งไว้

36
กระบวนการหลัก
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน
จากการรวบรวมผลและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานของ
ประเทศต่างๆ ที่ดาเนินการบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยเสพติดโดย
ชุมชนมีส่วนร่วม UNODC (2008) ได้สังเคราะห์ และสรุปเป็น
แนวปฏิบัติ ดังนี้

37
กระบวนการหลัก
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
1.การสร้างเครือข่าย (Networking) ด้วยการรวบรวมสรรพกาลังที่
มี ใ นชุ ม ชนทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนผนึ ก ก าลั ง จนเกิ ด เครื อ ข่ า ยที่ เ ข้ ม แข็ ง จน
สามารถดาเนินการ ดังนี้
▪ มีการขับเคลื่อนงาน และมีการเสริมพลังชุมชนเป็นระยะอย่างต่อเนือ่ ง
▪ มีการกาหนดเป้าหมายในการทางานร่วมกันของเครือข่ายที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม
▪ ชุมชนสามารถระบุกลุ่มบุคคลที่เป็นเป้าหมายที่จาเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ เช่น
ผู้หญิง เด็ก วัยรุ่น ผู้ติดเชื้อเอชไอวี คนไร้บ้าน ผู้ค้าบริการทางเพศ คนกลุ่มน้อย และคน
ชายขอบ
▪ มีการขับเคลื่อนโดยการสารวจและรวบรวมทรัพยากรที่มอี ยู่ ด้วยการประชุมเพื่อการ
วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
▪ มีการจัดรูปแบบการบริการที่หลากหลายในชุมชน ให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชนแต่ละ
แห่ง
38
กระบวนการหลัก
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
2. มี ก ารวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ความต้ อ งการของชุ ม ชน รวมถึ ง
ทรัพยากรที่ชุมชนมี (Information, Needs and Resource
Analysis -INRA) คณะกรรมการควรมีการประเมินการดาเนินงานแบบ
องค์ร วม เพื่ อ วิเ คราะห์ ข้อ มู ล ซึ่ งเป็ นปั จจั ย ที่ ส าคั ญ ความต้อ งการของ
ชุมชน และทรัพยากรของชุมชนเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน
▪ คณะกรรมการชุมชนควรให้ความสาคัญกับการประเมิน และบันทึกความต้องการ
การบาบัดรักษาของผู้ป่วยเป็นรายบุคคล ความต้องการของชุมชน โดยนาข้อมูล
เหล่ า นี้ ม าจั ด ล าดั บ ความส าคั ญ ในการแก้ ปั ญ หา หรื อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ โดย
คณะกรรมการต้องคานึงถึงความพร้อมขอทรัพยากรที่มีอยู่ด้วย
▪ การดาเนินในส่วนนี้จ ะประสบผลสาเร็จได้ ชุมชนต้องมีผู้นาที่เข้มแข็ง และมีผู้
ให้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพ
39
กระบวนการหลัก
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
3. ชุ ม ชนต้ อ งมี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด กระบวนการพั ฒ นา
คุ ณ ภาพและการประเมิ น ผลลั พ ธ์ ข องการด าเนิ น งานที่ ชั ด เจน
(Promotion change through Program Development and
Evaluation) โดยชุมชนควรมีการวิเคราะห์สถานการณ์ ผลลัพธ์
การด าเนิ น งาน และน าผลมาจั ด ท าเป็ น แผนยุ ท ธศาสตร์ ก าร
ดาเนินงานบนพื้นฐานความต้องการของชุมชนให้ครอบคลุมทุกมิติ

40
กระบวนการหลัก
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
4. การนาผู้ใช้ยาและสารเสพติดเข้าสู่การรักษาโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน (Engaging Clients in Community Based Treatment
Setting)
ชุมชนต้องมีช่องทางที่หลากหลาย สะดวกและง่ายต่อการเข้าถึง
บริการของผู้ใช้ยาและสารเสพติด โดยชุมชนต้องช่วยลดอุปสรรคในการ
เข้าถึงบริการของผู้ป่วย รวมถึงต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอต่อการให้บริการ
ผู้ป่วยเสพติดเสพติดด้วย

41
กระบวนการหลัก
ในการบาบัดฟื้นฟูโดยมีส่วนร่วมของชุมชน (ต่อ)
5. หลักการรักษาผู้ใช้ยาและสารเสพติด ขั้นตอนการ
ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ด้ า น จิ ต สั ง ค ม ใ น ชุ ม ช น
(Treatment principles, steps and psychosocial
strategies in Community based Setting)

42

You might also like