You are on page 1of 25

ชื่อโครงงาน แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า (Wind Turbine Model)

ผู้จัดทำ 1. นายกฤษณะ ระวัง


2. นางสาววัชชิราภรณ์ หารมาก
ครูที่ปรึกษา 1. นางสาวณัฐณิชา ซุยจอหอ
2. นายเฉลิมชัย ธิสานสังข์
3. นายเอกราช ไชยหง
ปีการศึกษา: 2565
สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพพล

บทคัดย่อ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำลองกังหันลมผลิ ตกระแสไฟฟ้า จัดทำขึ้น


เพื่อศึกษาการการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังลม สรางแบบจําลองกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก และ
ศึกษาขอมูลทางเทคนิคและหลักการทางานของสวนประกอบตางๆ ของกังหันลมผลิตไฟฟา โดยใช
มอเตอร130 เครื่องปั่นไฟ ใบพัดขนาดเล็ก2ตั ว มี2ฝัง ฝังที่หนึ่งมอเตอร์ DC ใช้พลังงานจากถ่าน
รีโมท แทนลมธรรมชาติ ฝังที่สอง มอเตอร์ปั่นไฟ เป็นตัวผลิตกระไฟฟ้า โดยใช้หลอดไฟLED โคง
งานชิ้นนี้จัดขึ้เพื่อนำเสนอภายในอาคารที่ลมธรรมชาติไม่สามารภผ่านเข้ามาได้

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีเนื่องจาก


ได้รับความอนุเคราะห์และสนับสนุนเป็นอย่างดี จากการสนับสนุนในการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
ท่านผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพล ท่านรองผู้อำนวยการวุฒิไกร โฮชิน
รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ คุณครูแผนกช่างไฟฟ้ากำลัง คุณครูเฉลิมชัย ธิสานสังข์ คุณครู
ปรียาภรณ์ อบมาและคุณครูณัฐณิชา ซุยจอหอ ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนก
สามั ญ สั ม พั น ธ์ ที่ ให้ ก ารแนะนำในการออกแบบชิ้ น งาน เป็ น ที่ ป รึ ก ษา ตรวจสอบ และแก้ ไข
ข้อบกพร่องในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์จนเสร็จสมบูรณ์
คณะผู้ จัดทำโครงงานมี ความรู้สึกภาคภูมิใจและซาบซึ้ งเป็นอย่างยิ่ งที่ได้รับ ความกรุณ า
จากท่านที่ได้กล่าวมาข้างต้นจึงขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

เรื่อง หน้า

บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญเรื่อง ค
สารบัญตาราง จ
สารบัญรูปภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ 1
1.2 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1
1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1
1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2
1.5 ตัวแปร 2
1.6 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ 2
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง
2.1 ลักษณะเหล็กฉาก 3
2.2 ลักษณะของน็อต 4
2.3 ลักษณะปัม๊ ดูด 5
2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง 6
2.5 ลักษณะของสวิตซ์ 7
2.6 ลักษณะของแบตเตอรี่ 7
2.7 ลักษะของท่อ PVC 8
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษาค้นคว้า
3.1 วัสดุและอุปกรณ์ 9
3.2 วิธีการทดลอง 9
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า
4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ 13
4.2 ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป 14
และอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
4.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ 15
สารบัญ(ต่อ)

เรื่อง หน้า

บทที่ 5 สรุป และอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า


5.1 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 16
5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า 16
5.3 ประโยชน์ 16
5.4 ข้อเสนอแนะ 16
เอกสารอ้างอิง 17
ภาคผนวก 18

สารบัญตาราง

หน้า

4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ 13
4.2 ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป 14
และอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
4.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ 15

สารบัญภาพ

หน้า

รูปภาพที่ 2.1 ลักษณะเหล็กฉาก 3


รูปภาพที่ 2.2 ลักษณะของน็อต 4
รูปภาพที่ 2.3 ลักษณะปัม๊ ดูด 5
รูปภาพที่ 2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง 6
รูปภาพที่ 2.5 ลักษณะของสวิตซ์ 7
รูปภาพที่ 2.6 ลักษณะของแบตเตอรี่ 7
รูปภาพที่ 2.7 ลักษะของท่อ PVC 8
รูปภาพที่ ผนวก ข 20
รูปภาพที่ ผนวก ค 22
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ทีม่ าและความสำคัญของโครงงาน


จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนวิชาโครงงานคณะผู้จัดทำจึงได้คิดค้นแบบจำลองกังหันลมผลิต
กระแสฟ้า ที่มีประโยชน์ต่อการใช้งานในการทำเกษตรกร และไฟฟ้าในที่พักอาศัก
เนื่องจากพลังงานเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
(fossil fuel) ที่เราใชกันเป็นหลักในปัจจุบันปนพลงงานที่ใชแล้วหมดสิ้นไปมีจำนวนลดลงอย่างมาก ใน
อนาคตจะขาดแคลนมีราคาสูงขึ้นและในที่สุดก็จะถูกใชจนหมดสิ้นไปจากโลก การคนหาและการนํา
พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลขึ้นมาใชทำได้ยากขึ้น อีกทั้งการเผาไหมพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลก
อใหเกิดแกสมลภาวะที่ทำใหเกิดภาวะโลกรอน ทั่วโลกจึงเสาะแสวงหาพลังงานทดแทน (alternative
energy) อื่นๆ มาใชงานทดแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลใหมากขึ้น เชน พลังงานแสงอาทิตย
พลังงานน้ ำ พลั งงานลม เป็น นตน โดยพลังงานทดแทนดังกล่ าวจะต้ องเป็น พลังงานสีเขียว (green
energy) ที่ไม่กอใหเกิดแกสมลภาวะซึ่งจะทำใหเกิดภาวะโลกรอน
ดังนั้น คณะผู้จัดทำจึงได้ คิดค้น แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า ทำจากอุปกรณ์ขนาด
เล็กที่ทำจากมอเตอร์รถบังคับ ใบพัด เครื่องปั่นไฟในการผลิกระแสไฟฟ้า เพื่อศึกษาและสามารถนำไปใช้
ในอนาคต

1.2 จุดมุง่ หมายของการศึกษาค้นคว้า


1.2.1 ศึกษาการสร้างแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า
1.2.2 ศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า
1.2.3 ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานของแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า
1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1. แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ามีความเหมาะในการนำเสนอ
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ามีความเหมาะสม
1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1.4.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา
แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าที่จัดทำขึ้นสามารถศึกษาและดูวงจรฟ้า ที่สามารถ
นำไปใช้จากชิ้นเล็กเป็นชิ้นใหญ่ได้
1.4.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยการอาชีพพล
1.4.3 ขอบเขตด้านเวลา
การจั ด ทำแบบจำลองกั งหั น ลมผลิ ต กระแสไฟฟ้ า มี ก ำหนดระยะเวลา ตั้ งแต่ วัน ที่ 1
กรกฎาคม 2565 ถึง 15 สิงหาคม 2565

1.5 ตัวแปร
การทดลองที่ 1 การสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า
ตัวแปรตาม คือ การทำงาน
ตัวแปรควบคุม คือ ผลิตกระแสไฟ
การทดลองที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของแบบจำลองกังหันลมผลิต
กระแสฟ้า
ตัวแปรต้น คือ ตูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ตัวแปรตาม คือ กังหันหมุน
ตัวแปรควบคุม คือ ผลิตกระแสไฟ
การทดลองที่ 3 ศึ ก ษาความพึ ง พอใจต่ อ การใช้ ง านของอุ ป กรณ์ เครื่ อ งดู ด ของเหลว
อเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ แบบจำลังกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า
ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจของการทำงาน
ตัวแปรควบคุม คือ ผลิตกระแสไฟ

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
1. แบบจำลอง ทางวิทยาศาสตร์ (scientific modeling) คือการสร้างของสิ่งหนึง่ เพื่อแทน
วัตถุ กระบวนการ ความสัมพันธ์ หรือ สถานการณ์ เช่น การสร้างแบบจำลองของโครงสร้างหลังคา
เพื่อให้วิศวกร สามารถคำนวณต่างๆได้ ก่อนที่จะสร้างจริง
2. กังหันลม เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่ของลมให้ เป็น
พลังงานกลได้ จากนั้นนำพลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรง เช่น การบดสีเมล็ดพืช การสูบน้ำ หรือใน
ปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้ประโยชน์มีมาตั้งแต่ชนชาวอียิปต์โบราณ
และมีความต่อ เนื่องถึงปัจจุบัน
3. กระแสไฟฟ้า คือการไหลของประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในประจุยัง
สามารถถูกนำพาโดยไอออนได้เช่นกันในสารอิเล็กโทรไลต์ หรือโดยทั้งไอออนและอิเล็กตรอนเช่นใน
พลาสมา
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการทำโครงงานครั้งนี้ได้ดำเนินการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานการทำโครงงานเกี่ยวข้อง
ต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบดำเนินงาน มีดังนี้
กังหั น ลมเป็ น เครื่องกลหมุน ชนิ ด หนึ่ งที่ ใช้เพื่ อการเก็บ เกี่ยวพลังงานจากการเคลื่อนที่ ของ
กระแส ลมมาใช้ประโยชน์กังหันมีหลากหลายรูปแบบที่แตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่ อนไขการนําไปงาน
หรือ เป้าหมายของการใช้งานและสภาพของกระแสลมในแต่ละท้องถิ่น กังหันลมเป็นเครื่องมือกลที่
ประดิษ ฐ์ คิดค้นมาใช้เพื่อทํ าให้มนุษย์มีความสะดวกสบายมากขึ้นโดยกังหันลมมีประวัติศาสตร์อัน
ยาวนานซึ่งมีการ ใช้มาตั้งแต่ยุคโบราญ
ประวัติ ในการพั ฒ นากั งหั น ลมแกนตั้ ง ตามที่ นั กประวัติ ศ าสตร์ได้ ก ล่าวไว้ว่ามนุ ษ ย์ มี ค วาม
พยายามที่จะนําพลังงานจากลมมาใช้เพื่อผ่อน การใช้แรงงานจากคนหรือสัตว์เป็นเวลานานมาแล้ว เริ่ม
ตั้งแต่การใช่พลังงานจากลมในการขับใบเรือ จากนั้นก็ได้พัฒนาพลังงานจากลมมาใช้เพื่อการบดเมล็ด
ธัญพืชและการชลประทานเพื่อการเกษตร จาก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ยังสามารถตรวจสอบได้
ย้อนกลับไป 1700 ปีก่อนคริสตศักราช Mr.Emperor Hummurabi ได้พัฒนากังหันลมเพื่อการปั้มน้ำใช้
ในการเกษตรในบริเวณที่ราบลุ่มของยุค เมโสโปเตเมีย ซากกังหันลมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกยังสามารถพบ
ได้ที่อิหร่าน หรืออัฟกานิสถาน

ภาพที่ ซากกังหันลมแกนตั้งที่เก่าแก่ที่สุดพบในอัฟกานิสถาน
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธกี ารศึกษาค้นคว้า
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
3.1.1 วัสดุ
1. มอเตอร์ DC จำนวน 1 เครื่อง
2. มอเตอร์ปั่นไฟ จำนวน 1 เครื่อง
3. ไม่อดั ขนาด จำนวน 1 เส้น
4. สายไฟ AWG จำนวน 1 เส้น
5. รังทาน จำนวน 1 เส้น
6. หลอดไฟ LED จำนวน 1 เส้น
7. ตะปูเกียว จำนวน 6 ตัว
8. ใบพัด จำนวน 2 ใบ
3.1.2 อุปกรณ์
1. บัดกรี จำนวน 1 เครื่อง
2. ตะกัว่ บัดกรี ขนาด 0.3 มม. จำนวน 20 เซนติเมตร

3.2 วิธีการทดลอง
3.2.1 วิธีสร้างอุปกรณ์
1. ตัดเหล็กกล่องและเหล็กฉาก ขนาดพอเหมาะ เพื่อสร้างเป็นโครงเหล็ก
2. ตัดท่อ PVC เพื่อทำการติดตั้งกับโครง และเจาะท่อ PVC เพื่อต่อหัวก๊อกและสายยาง
3. ทำการติดตั้งแบตเตอร์รี่และต่อวงจรไฟฟ้า
4. พ่นสีเพื่อความสวยงาม
3.2.2 วิธีการทดลองอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
3.2.2.1 ตอนที่ 1 ทำการเปรี ย บเที ย บผลการออกแบบอุ ป กรณ์ เครื่ อ งดู ด ของเหลว
โดยทดสอบความเหมาะสมและความสามารถในการทำงานของเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์แล้ว
บันทึกผลการทดลอง
3.2.2.2 ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
1. ใช้อุปกรณ์ เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป ขจำนวน 3 ครั้ง โดยการจับเวลา
(วินาที)
2. ใช้อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ จำนวน 3 ครั้ง โดยการจับเวลา
(วินาที)
3. นำเวลาที่ได้ทั้ง 3 ครั้ง มาวิเคราะห์ผล โดยการหาค่าเฉลี่ย

3.2.2.3 ตอนที่ 3 ทดสอบความพึงพอใจต่อการใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว


1. สร้างแบบสอบถาม เพือ่ เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้งานจริงจาก
2. นำอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวไปให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้งานซึ่งกลุ่มตัวอย่าง
คือ นักเรียน นักศึกษา คณะครู อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
3. เมื่ อทำการทดลองแล้วให้ กลุ่ม ตัวอย่างทำการตอบแบบสอบถามอุ ป กรณ์
เครื่องดูดของเหลวและนำมาวิเคราะห์ผล
4. นำแบบสอบถามมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
3.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.2.3.1 การจัดกระทำข้อมูลการศึกษาความเหมาะสมในการสร้างอุปกรณ์ เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์
3.2.3.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถามความคิด เห็นต่อความเหมาะสมในการสร้างอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ จำนวน 20 ฉบับ และได้ตรวจสอบพบว่าเป็นแบบสอบถามที่มีความ
สมบูรณ์และ นำไปวิเคราะห์
3.2.3.3 นำแบบสอบถามมาจัดจำแนกตาม เพศ และอายุแล้วนำมาตรวจให้คะแนน โดย
มีเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี้
มีความคิดเห็นมากที่สุด = 5 คะแนน
มีความคิดเห็นมาก = 4 คะแนน
มีความคิดเห็นปานกลาง = 3 คะแนน
มีความคิดเห็นน้อย = 2 คะแนน
มีความคิดเห็นน้อยที่สุด = 1 คะแนน
นำคะแนนที่ได้มาหาค่าพารามิเตอร์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
Microsoft office Excel
3.2.4 การหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์

ค่าเฉลี่ยโดยรวมเวลาเครือ่ งดูดของเหลวแบบทั่วไป – ค่าเฉลี่ยโดยรวมเวลาอุปกรณ์


ดูดของเหลวอเนกประสงค์ x 100
ค่าเฉลี่ยโดยรวมเครื่องดูดของเหลว

3.2.5 การจั ด กระทำข้ อ มู ล การศึ ก ษาความพึ งพอใจในการใช้ อุ ป กรณ์ เครื่อ งดู ด ของเหลว
อเนกประสงค์
3.2.5.1 เก็บรวบรวมแบบสอบถามความพึ งพอใจต่อการใช้อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ จำนวน 20 ฉบับ และได้ตรวจสอบพบว่าเป็นแบบสอบถามที่ มีความสมบูรณ์และนำไป
วิเคราะห์
3.2.5.2 นำแบบสอบถามมาจัดจำแนกตาม เพศ และอายุแล้วนำมาตรวจให้คะแนน โดย
มีเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี้
มีความพึงพอใจมากที่สุด = 5 คะแนน
มีความพึงพอใจมาก = 4 คะแนน
มีความพึงพอใจปานกลาง = 3 คะแนน
มีความพึงพอใจน้อย = 2 คะแนน
มีความพึงพอใจน้อยที่สุด = 1 คะแนน
นำคะแนนที่ได้มาหาค่าพารามิเตอร์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
Microsoft office Excel
3.2.5.3 วิธี ก ารวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล หลั งจากจั ด กระทำข้ อ มู ล แล้ ว ผู้ ศึ ก ษาค้ น คว้ าดำเนิ น
การวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขั้นตอนดังนี้
ตอนที่ 1 ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สถานภาพของผู้ ต อบแบบสอบถาม วิ เคราะห์ ข้ อ มู ล
โดยการแจกแจงความถี่หาค่าร้อยละ
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจต่ออุปกรณ์ เครื่องดูดของเหลวของนักเรียน
นักศึกษา คณะครู และชาวบ้าน ในอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย
( X ) โดยรวมและเป็นรายด้าน

3.2.6 การแปลความหมายค่าเฉลี่ย
การแปลความหมายค่ า เฉลี่ ย ระดั บ ความต้ อ งการ กำหนดเกณฑ์ ค ะแนนเฉลี่ ย
โดยใช้เกณฑ์ บุญส่ง นิลแก้ว (2545 : 256) ไว้ดังนี้
ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจต่อการใช้อุปกรณ์ช่วยขุดดิน
4.50 – 5.00 ระดับมากที่สุด
3.50 – 4.49 ระดับมาก
2.50 – 3.49 ระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 ระดับน้อย
1.00 – 1.49 ระดับน้อยที่สุด

บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
จากการทดลองในการทำโครงงานวิท ยาศาสตร์ เรื่อ ง อุ ป กรณ์ เครื่อ งดู ด ของเหลวอเนกประสงค์
มีผลการทดลองดังนี้
4.1 ผลการศึกษาความเหมาะสมการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
ตารางที่ 4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
ระดับคะแนนความคิดเห็นความเหมาะสมต่อการสร้าง
อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
รายการ
แบบที่ 1 แบบที่ 2
ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
1. สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก 4.46 4.55
2. การออกแบบทันสมัยสวยงาม 4.44 4.45
3. มีความคงทน แข็งแรง 4.45 4.57
4. การจัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม 4.57 4.68
5. น้ำหนักของชิ้นงานที่เหมาะต่อการใช้งาน 4.47 4.50
6. ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน 4.48 4.55
7. ราคาต้นทุนในการสร้าง 4.47 4.64
8. ลดระยะเวลาในการใช้งาน 4.50 4.72
โดยรวม 4.48 4.58

จากตารางที่ 4.1 ผู้ทดลองได้ประเมินความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์ดูดของเหลวโดยรวม


อุป กรณ์ ดูดของเหลว แบบที่ 1 มี ค่ าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มาก ( X =4.48) เมื่อพิ จารณาเป็ นรายด้าน
พบว่า ทุกด้านที่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 2 มีค่าเฉลี่ย อยู่ใน
ระดั บ มากที่ สุ ด ( X =4.58) เมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายด้ าน ด้ านที่ มี ค วามเหมาะสมมากที่ สุ ด คื อ ลด
ระยะเวลาในการใช้งาน ( X =4.72) รองลงมาคือ ด้านการจัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม ( X =4.68)
ด้านที่มีความเหมาะสมน้อยทีส่ ุด คือ ด้านการออกแบบทันสมัย ( X =4.45)

4.2 ผลการหาประสิ ท ธิ ภ าพของเครื่องดู ดของเหลวแบบทั่ วไปและอุป กรณ์ เครื่องดู ดของเหลว


อเนกประสงค์
จากการทดลองเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์ เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ผลการทดลอง ดังตารางที่ 4.2
ตารางที่ 4.2 ผลการหาประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์
เวลาในการใช้ เวลาในการใช้อุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป เฉลี่ย เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ เฉลี่ย
(วินาที) นาที (วินาที) นาที
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
90 98 101 96.33 28 26 27 27.00
107 105 104 105.33 29 30 31 30.00
114 116 110 113.33 33 35 26 31.33
โดยรวม 105.00 โดยรวม 29.44
ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
เพิ่มขึน้ คิดเป็นร้อยละ 28.04

จากตารางที่ 4.2 การหาประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์


เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ พบว่า เวลาในการใช้ เครื่องดูดของเหลวแบบทั่ วไป ใช้เวลาเฉลี่ ย
96.33, 105.33, และ 113.33 นาที ส่ ว นอุ ป กรณ์ เครื่ อ งดู ด ของเหลวอเนกประสงค์ ใช้ เวลาเฉลี่ ย
27.00, 30.00 และ 31.33 นาที ตามลำดับ เมื่ อ นำเวลาทั้ งหมดเฉลี่ ยโดยรวมและหาประสิท ธิภ าพ
พบว่า ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 28.04

4.3 ผลการสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานจริงของอุปกรณ์เซาะร่องลิ่ม
จากการสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานจริงของอุปกรณ์ดูดของเหลวของผู้ทดลองใช้งาน
ผลการศึกษาดังตารางที่ 4.3
ตารางที่ 4.3 ผลการสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานจริงของอุปกรณ์ดูดของเหลว
ลำดับที่ รายการความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ
1 รูปทรงมีขนาดเหมาะสม สามารถจัดได้งา่ ย 4.55
2 ทำจากวัสดุที่หาง่าย ราคาไม่แพง 4.57
3 การออกแบบสร้างคำนึงถึงความปลอดภัย 4.54
4 ความคุม้ ค่าในการใช้งาน 4.56
5 สามารถใช้งานได้นาน 4.50
6 สามารถเก็บน้ำมันเครื่องปริมาณที่เยอะ 4.68
7 สามารถทำความสะอาดได้ง่าย 4.58
8 ภาพรวมความพึงพอใจในการใช้งาน 4.77
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย 4.59

จากตารางที่ 4.3 ผู้ ท ดลองใช้อุ ป กรณ์ ดูด ของเหลว ความพึ งพอใจต่อ อุ ป กรณ์ ดูด ของเหลว
โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( X =4.59) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความพึงพอใจระดับมากที่สุด
คือ ภาพรวมความพึงพอใจในการใช้ งาน ( X =4.77) รองลงมาคือ สามารถเก็บ น้ำมันเครื่องปริมาณ
ที่ เยอะ ( X =4.68) สามารถทำความสะอาดได้ ง่ า ย( X =4.58) ทำจากวั ส ดุ ที่ ห าง่ า ย ราคาไม่ แ พง
( X =4.57) ความคุ้ ม ค่ า ในการใช้ ง าน( X =4.56) รู ป ทรงมี ข นาดเหมาะสม สามารถจั ด ได้ ง่ า ย
( X =4.55) การออกแบบสร้างคำนึงถึง ความปลอดภัย( X =4.54) สามารถใช้งานได้นาน( X =4.50)
ตามลำดับ

บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า

5.1 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ผลการทดลองหาความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์ดูดของเหลวโดยรวมอุปกรณ์ดูดของเหลว
แบบที่ 1 มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มาก ( X =4.48) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุ กด้านที่มีความ
เหมาะสม อยู่ ในระดั บ มาก ส่ วนอุ ป กรณ์ ดู ด ของเหลว แบบที่ 2 มี ค่ าเฉลี่ ย อยู่ ในระดั บ มากที่ สุ ด
( X =4.58) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ลดระยะเวลาในการใช้งาน
( X =4.72) รองลงมาคือ ด้านการจัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม ( X =4.68) ด้านที่มีความเหมาะสม
น้อยที่สุด คือ ด้านการออกแบบทันสมัย ( X =4.45)

5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
5.2.1 จากการดำเนินการเครื่องดูดของเหลวเอนกประสงค์ เพื่อให้ได้ลักษณะรูปทรงที่เหมาะสม
ทางกลุ่มผู้สร้างได้ดำเนินการสร้างเครื่องต้นแบบขึ้นมาก่อนและดำเนินการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ
จากนั้นทำการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนทำให้ได้เครื่องดูดของเหลวเอนกประสงค์ ที่มีประสิทธิภาพและ
เป็นที่พึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่เข้าชมการทดสอบ
5.2.2 จากการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวเอนกประสงค์ และให้กลุ่ม
ตัวอย่างคือนักเรียนนักศึกษาแผนกวิชาช่างกลโรงงาน ประเมินความพึงพอใจในการใช้งาน ซึ่งโดยภาพ
ความพึงใจอยู่ในระดับมาก

5.3 ประโยชน์
5.3.1 ได้อุปกรณ์ดดู ของเหลวที่มีประสิทธิภาพ
5.3.2 อุปกรณ์ดูดของเหลวช่วยลดระยะเวลาในการใช้งานได้มากขึ้น

5.4 ข้อเสนอแนะ
5.4.1 วัสดุบางส่วนสามารถทำให้มีความแข็งแรงเพื่อให้ใช้งานได้นานยิ่งขึ้น
5.4.2 เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้นควรคำนึงถึงความสะดวก และความปลอดภัยในการทำงาน

เอกสารอ้างอิง
บริ ษั ท ซี เ จ เมทั ล ลิ ค จำกั ด . (2562). เหล็ ก กล่ อ ง. สื บ ค้ น เมื่ อ 4 กรกฎาคม 2565,
จาก https://www.cj.co.th/carbon-steel-tubes
บริษัท แอ๊ดวานซ์ ซินดิเคท จำกัด . (2562). สกรู – น๊อต. สื บค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2565,
จาก http://www.advance-thai.com
Misumi thailand. (2562). ความหมายของของเหลว. สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2565, จาก
https://th.misumi-ec.com/pr/recommend_category/stud_bolts201909
Onestockhome. (2562). ท่ อ PVC. สื บ ค้ น เมื่ อ 4 ก ร ก ฎ า ค ม 2565, จ า ก
https://www.onestockhome.com/th/steel/galvanized-steel-round-pipe
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพการใช้งาน
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์

แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพ
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
วิทยาลัยการอาชีพพล
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมาที่สุด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ ชาย หญิง
2. ระดับชั้น ปวช. ปวส.
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ระดับความคิดเห็น
ข้อที่ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด
1 รูปทรงมีขนาดเหมาะสม สามารถจัดได้ง่าย
2 ทำจากวัสดุที่หาง่าย ราคาไม่แพง
3 การออกแบบสร้างคำนึงถึงความปลอดภัย
4 ความคุ้มค่าในการใช้งาน
5 สามารถใช้งานได้นาน
6 สามารถเก็บน้ำมันเครื่องปริมาณที่เยอะ
7 สามารถทำความสะอาดได้ง่าย
8 ภาพรวมความพึงพอใจในการใช้งาน

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................……
………………………………………….……………......................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
ภาคผนวก ข
ภาพแสดงการทดสอบประสิทธิภาพการใช้งาน
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาพที่ 9 แสดงการทดสอบการใช้งานเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์

ภาพที่ 10 แสดงการทดสอบการใช้งานเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาคผนวก ค
ภาพแสดงการสร้างเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาพที่ 11 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน ภาพที่ 12 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน

ภาพที่ 13 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน ภาพที่ 14 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน

You might also like