You are on page 1of 14

งานวิจัยในชั้นเรียน

ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษา
ปที่ 3 เรื่อง โลกของเรา ( ทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต ) ดวยวิธีการ
สอบยอยทุกสัปดาหกับวิธีทดสอบเมื่อจบหนวยการเรียน
สภาพปญหา การพัฒนานักเรียนนั้น ตองพัฒนาใหครบทุกดาน คือทั้งดานอารมณ สังคม
และสติปญญา จากการศึกษาขอมูลจากการสอบในภาคเรียนที่ผานมา พบวานักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษา ปที่ 3 มีผลการเรียนในวิชาสังคมอยูในระดับต่ํากวาเกณฑที่ทางโรงเรียนกําหนดไว (รอยละ
80 นักเรียนตองไดเกรด 3 , 4 ) จัดวาเปนปญหาสําคัญ จําเปนตองแกไขโดยเรงดวน เพื่อใหผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ดีขึ้น
สาเหตุของปญหาการเรียนวิชาสังคมศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นอกจาก
สาเหตุในเรื่องเนื้อหาวิชาและความรูพื้นฐานแลว อาจมีสาเหตุอื่นอีก เชน วิธีการสอนของครู การ
วัดและประเมินผล ความบกพรองทางสติปญญา และการฝกฝนทบทวนบทเรียน ซึ่งจะทําใหนัก
เรียนมีความรูและแมนยําในเนื้อหาวิชามากขึ้น วิธีการหนึ่งที่จะทําใหนักเรียนไดฝกฝนและทบ
ทวนบทเรียนบอย ๆ คือ การทดสอบบอยๆ หรือการทดสอบยอย เพื่อใหนักเรียนไดเตรียมตัว ตื่น
ตัวตลอดเวลาโดยการทบทวนบทเรียนกอนสอน และการทดสอบยอยทําใหนักเรียนไดพัฒนาและ
ปรับปรุงแกไขขอบกพรองของตนเองตลอดเวลา นอกจากนี้แลว ยุพิน พิพิธกุล ( 2519 : 27 )
ไดกลาวถึงความสําคัญของการทดสอบยอยไววา การทดสอบยอยจะชวยกระตุนใหนักเรียนเกิด
การแขงขันและเรียนดวยความตั้งใจอยูเสมอ และ สําเริง บุญเรืองรัตน ( 2512 : 43 ) ไดกลาว
ถึงการทดสอบยอย ซึ่งสรุปไดวา การทดสอบหลาย ๆ ครั้งจะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนัก
เรียนสูงขึ้นกวาการที่ไมไดรับการทดสอบยอย หรือทดสอบรวมเพียงครั้งเดียว
จากแนวคิดดังกลาวขางตนพอสรุปไดวา การทดสอบยอยจะทําใหนักเรียนเตรียม
พรอมในการเรียนอยูเสมอ และยังชวยใหนักเรียนไดสํารวจแกไขขอบกพรองในการเรียนของตนเอง
อีกดวย นอกจากนี้ยังเปนการสรางสัมพันธตอเนื่องในการพัฒนาการเรียนสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนสูงขึ้นดวย ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาสังคม
ศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรื่อง โลกของเรา ( ทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต )
วัตถุประสงคของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 3 กลุมที่มีการทดสอบยอยทุกสัปดาหและกลุมที่มีการทดสอบเมื่อจบหนวย
การเรียน
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึษาของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาปที่ 3 กลุมที่มีการทดสอบยอยทุกสัปดาหและกลุมที่มีการทดสอบเมื่อจบ
หนวยการเรียน
สมมุติฐานในการวิจัย
การทดสอบยอยมีประโยชนตอนักเรียนหลายประการคือ
1. ชวยใหนักเรียนรูมากขึ้น เพราะการประเมินผลยอยทําใหนักเรียนตองเตรียมตัว
อยูเสมอ
2. ทําใหการเรียนรูงายขึ้น เพราะตองแบงเนื้อหาออกเปนสวนยอยๆและไดรับการ
แกไขสวนบกพรองอยูตลอดเวลา
3. ทําใหนักเรียนทราบขอบกพรองที่ควรแกไขตนเอง และเรียนรูที่จะแกไขขอบก
พรองเหลานั้น
4. ทําใหมีความมั่นใจในการเรียนรู กลาเผชิญปญหา
สวัสดิ์ ปทุมราช ( 2518 : 25 ) กลาววา นอกจากใชการทดสอบยอยเพื่อประโยชน
ของผูเรียนแลว ผูสอนอาจนําผลการทดสอบมาใชแกไขวิธีการสอนทําใหผูเรียนเขาใจดีขึ้น หรือ
นําผลการสอบในหนวยยอย ของนักเรียนชุดนี้เปรียบเทียบกับนักเรียนชุดกอน เพื่อดูวา เมื่อได
เปลี่ยนวิธีการสอนบางอยางแลว ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนควรจะตองดีกวาวิธีเดิมเปนจริงเพียงใด
การทดสอบยอยทําใหนักเรียนตองเตรียมตัวอยูเสมอในการที่จะเรียนรูสํารวจขอบกพรอง
ในการเรียน และไดมีโอกาสแกไขขอบกพรองของตนเอง ดังนั้นการจัดใหมีการทดสอบยอยทุก
สัปดาหจึงจัดวาเปนการสรางความสัมพันธที่ตอเนื่องในดานการเรียนรูและการพัฒนาการเรียนรู
ของนักเรียนซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการทดสอบยอย
อยูเสมอ มีคาสูงกวานักเรียนที่ไดรับการทดสอบยอยนอยครั้งกวา ผูวิจัยจึงตั้งสมมุติฐานในการ
วิจัยครั้งนี้วา ผลการทดสอบยอยทุกสัปดาหจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาสูงกวา
การทดสอบเมื่อจบหนวยการเรียน
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย
1. ผลการวิจัยจะเปนแนวทางสําหรับครูสังคมในการจัดการเรียนรูและประเมินผล
การเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา
2. ผลการวิจัยจะเปนแนวทางในการพัฒนาและรูปแบบของการวัดและประเมินผล
การเรียนการสอนเกี่ยวกับความถี่ในการทดสอบยอยของโรงเรียน
3. เพื่อประโยชนในการปรับปรุงการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรื่อง
โลกของเรา ( ทวีปยุโรป , อเมริกาเหนือ , อเมริกาใต )
ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป
ที่ 3เรื่องโลกของเรา ( ทวีปยุโรป , อเมริกาเหนือ, อเมริกาใต ) ดวยวิธีการทดสอบยอยทุก
สัปดาหกับวิธีการทดสอบเมื่อจบหนวยการเรียน มีลําดับดังนี้
1. ประชากรกลุมตัวอยาง
2. เครื่องมือที่ใชในการทดลอง
3. วิธีสรางเครื่องมือ
4. การดําเนินการทดลองและรวบรวมขอมูล
5. การวิเคราะหขอมูล
6. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
1. ประชากรกลุมตัวอยาง
ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ประชากรที่ใชในการทดลองครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 /2
และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 4 จํานวน 88 คน โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ปการศึกษา 2547 ซึ่ง
เปนนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาไมแตกตางกัน จากนั้นจะทําการสุม
อยางงายใหหอง หนึ่ง ( ม. 3 /2 ) เปนกลุมทดลอง และอีกหองหนึ่ง ( ม. 3 /4 ) เปนกลุมควบ
คุม
2. เครื่องมือที่ใชในการทดลอง
2 . 1 แบบทดสอบยอย เรื่องโลกของเรา สําหรับวัดผลการเรียนระหวางเรียนซึ่งมีอยู
จํานวน 15 ชุดสําหรับกลุมที่วัดผลการเรียนทุกสัปดาห และ 3 ชุดสําหรับกลุมที่
วัดผลการเรียนเมื่อจบหนวยการเรียน
2 .2 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต ใช
สําหรับวัดผลการเรียนรูกอนและหลังเรียน มีลักษณะเปนแบบขอสอบเลือกตอบ 4
ตัวเลือก มีคําตอบที่ถูกตองเพียง 1 ตัวเลือกในแตละขอ

3. วิธีสรางเครื่องมือ
การสรางแบบทดสอบผูวิจัยไดดําเนินการสรางเครื่องมือตามลําดับตอไปนี้
- ศึกษาเนื้อหาเรื่อง ทวีปยุโรป อเมิกาเหนือ อเมริกาใต จากหนังสือเรียนสังคม
ศึกษา ส 305 โลกของเรา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ของ สํานักพิมพ ไทยวัฒนาพานิช
และ สํานักพิมพ วัฒนาพานิช
4. การดําเนินการทดลองและรวบรวมขอมูล
มีการดําเนินการดังนี้
4 .1 ทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 2 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 4 ภาค
เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จํานวน 88 คน
4 . 2 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวัดความสามารถของนักเรียนกอน
ทั้ง 2 กลุม เพื่อแสดงวานักเรียนที่จะดําเนินการทดลองทั้ง 2 กลุม ไมแตกตางกันในเรื่องความ
สามารถในการเรียนวิชาสังคมศึกษาในบทเรียนที่จะไดศึกษาตอไปนี้
4 . 3 ผูวิจัยเปนผูสอนนักเรียนทั้ง 2 กลุมดวยตนเองโดยวางแผนการสอนใหใชเวลาใน
แตละบทเรียนในแตละกลุมเทา ๆ กัน และดําเนินการสอนตามแผนที่วางไว
4 . 4 ทดสอบยอยกับนักเรียนกลุมหอง 3 / 2 ทุกสัปดาหดวยแบบทดสอบยอยเรื่องทวีป
ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต จํานวน 15 ชุด และทดสอบยอยกับนักเรียนหอง 3 / 4 เมื่อ
จบหนวยการเรียนแลวดวยแบบทดสอบยอยจํานวน 3 ชุด จะแจงผลการเรียนใหนักเรียนได
ทราบหลังจากการสอบและวิเคราะหดูถึงความบกพรองในการเรียนของนักเรียนใหเขาใจใน
สวนที่ยังบกพรองอยูโดยจะดําเนินการดังกลาวในเวลาทั้งสิ้น 7 สัปดาห
4 . 5 นําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฉบับเดิมที่สอบกอนมาสอบวัดผลการ
เรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุม หลังจากการสอนไดสิ้นสุดลง
4 . 6 นําผลการเรียนการสอนของนักเรียนทั้ง 2 กลุม มาเปรียบเทียบกัน
5. การวิเคราะหขอมูล
- วิเคราะหความแตกตางระหวางคะแนนเฉลี่ยของกลุมทดลองและกลุมควบคุม
ผลการทดสอบกอน – หลังเรียนเรื่องทวีปยุโรป

เลขที่ คะแนนเต็ม ม.3/2 ( กอน) ม.3/2 ( หลัง) ม.3/ 4 ( กอน) ม. 3/4(หลัง )


1 10 4 8 2 7
2. 10 5 8 3 6
3 10 5 8 4 6
4 10 5 9 6 7
5 10 5 9 6 6
6 10 3 8 3 6
7 10 4 7 2 5
8 10 6 9 5 8
9 10 5 9 4 7
10 10 4 9 3 6
11 10 4 7 7 7
12 10 6 8 7 7
13 10 6 8 7 8
14 10 7 10 4 6
15 10 6 7 5 7
16 10 7 10 4 7
17 10 5 8 4 6
18 10 6 9 6 6
19 10 5 7 7 8
20 10 6 9 3 5
21 10 3 9 6 7
22 10 7 9 4 6
23 10 2 8 7 7
24 10 - - 6 6
25 10 6 9 6 7
26 10 6 8 6 6
27 10 - - 4 6
28 10 5 9 4 6
29 10 6 10 7 7
30 10 4 8 6 6
31 10 4 6 3 6
32 10 5 9 5 7
33 10 4 7 2 6
34 10 6 10 7 7
35 10 6 8 7 7
36 10 2 9 7 8
37 10 5 8 6 6
38 10 2 9 2 6
39 10 6 9 4 6
40 10 4 8 5 6
41 10 5 8 3 7
42 10 6 7 7 7
43 10 5 9
44 10 7 10
45 10 4 8
46 10 5 8
47 10 6 8
48 10 5 8
รวม 230 386 206 274
เฉลี่ย 5.00 8.39 4.90 6.52
ผลการทดสอบกอน – หลังเรียนเรื่องทวีปอเมริกาเหนือ

เลขที่ คะแนนเต็ม ม.3/2 (กอน) ม.3/2 (หลัง) ม.3/4 (กอน) ม.3/4 (หลัง)
1 10 4 8 3 7
2 10 4 8 6 7
3 10 3 8 4 6
4 10 5 9 6 9
5 10 6 9 7 8
6 10 7 8 6 7
7 10 6 7 3 7
8 10 5 9 5 6
9 10 6 9 4 7
10 10 7 9 2 5
11 10 2 7 3 6
12 10 5 8 6 7
13 10 4 8 5 7
14 10 6 10 4 7
15 10 3 7 6 8
16 10 7 10 7 8
17 10 4 8 5 7
18 10 6 9 5 6
19 10 3 7 6 8
20 10 5 9 5 7
21 10 5 9 7 8
22 10 6 9 3 7
23 10 4 8 4 6
24 10 - - 8 9
25 10 7 9 6 8
26 10 8 8 4 6
27 10 - - 5 8
28 10 4 9 6 8
29 10 7 10 4 7
30 10 4 8 6 6
31 10 3 6 5 6
32 10 6 9 6 7
33 10 5 7 5 6
34 10 8 10 4 5
35 10 6 8 6 8
36 10 7 9 7 7
37 10 8 8 6 6
38 10 4 9 5 7
39 10 5 9 5 6
40 10 6 8 4 8
41 10 3 8 5 6
42 10 2 7 5 7
43 10 4 9
44 10 6 10
45 10 3 8
46 10 5 8
47 10 6 8
48 10 4 8
รวม 234 386 214 292
เฉลี่ย 5.08 8.39 5.09 6.95
ผลการทดสอบกอน – หลังเรียนเรื่อง ทวีปอเมริกาใต

เลขที่ คะแนนเต็ม ม.3/2 ( กอน) ม.3/2 (หลัง) ม.3/4 (กอน) ม.3/4 (หลัง)
1 10 5 8 5 7
2 10 4 7 4 8
3 10 6 8 6 6
4 10 5 7 5 8
5 10 3 6 3 7
6 10 7 8 6 8
7 10 7 7 5 7
8 10 6 8 6 6
9 10 7 9 4 7
10 10 6 6 2 5
11 10 2 6 3 6
12 10 1 9 4 6
13 10 7 10 6 8
14 10 8 8 5 7
15 10 2 6 7 8
16 10 6 10 8 8
17 10 4 8 5 7
18 10 6 8 6 6
19 10 6 9 8 8
20 10 2 9 8 8
21 10 4 10 6 7
22 10 7 7 7 8
23 10 3 7 5 6
24 10 - - 8 8
25 10 7 9 5 8
26 10 8 10 4 6
27 10 - - 3 7
28 10 4 7 5 7
29 10 8 10 8 8
30 10 8 8 7 7
31 10 1 6 6 6
32 10 3 7 6 6
33 10 4 7 4 7
34 10 5 7 2 6
35 10 8 8 1 5
36 10 1 10 7 8
37 10 2 7 8 8
38 10 3 6 6 6
39 10 5 9 3 7
40 10 6 10 4 6
41 10 8 9 6 7
42 10 7 8 5 6
43 10 7 10
44 10 7 10
45 10 6 8
46 10 7 8
47 10 7 8
48 10 6 6
รวม 242 369 222 291
เฉลี่ย 5.26 8.02 5.28 6.92
ตารางที่ 1 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/2

เรื่อง จํานวนคน คาเฉลี่ยกอนเรียน รอยละ คาเฉลี่ยหลังเรียน รอยละ


ทวีปยุโรป 46 5.00 50.00 8.39 83.91
ทวีปอเมริกา 46 5.08 50.86 8.39 83.91
เหนือ
ทวีปอเมริกาใต 46 5.26 52.60 8.02 80.02

จากตารางที่ 1 พบวาโดยสวนรวมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 2 ซึ่งมีการทดสอบทุกสัปดหมีผล


สัมฤทธิ์สูงขึ้นอยูในระดับ รอยละ 80 ซึ่งอยูในเกณฑดีตามที่โรงเรียนกําหนดไว

ตารางที่ 2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/4

เรื่อง จํานวนคน คาเฉลี่ยกอนเรียน รอยละ คาเฉลี่ยหลังเรียน รอยละ


ทวีปยุโรป 42 4.90 49.04 6.52 65.23
ทวีปอเมริกา 42 5.09 50.95 6.95 69.52
เหนือ
ทวีปอเมริกาใต 42 5.28 52.85 6.92 69.28

จากตารางที่ 2 พบวาโดยสวนรวมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 4 ซึ่งมีการทดสอบเมื่อจบหนวย


การเรียนจะมีผลสัมฤทธิ์ต่ํากวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 /2 ซึ่งมีการทดสอบยอยทุกสัปดาห
และผลการเรียนของนักเรียนโดยรวมไมถึงรอยละ 80
6. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
6 .1 คาเฉลี่ย
6 .2 คารอยละ

สรุปผลการวิจัย
จากการศึกษาและวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนัก
เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรื่องโลกของเรา ( ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต )
ดวยวิธีทดสอบยอยทุกสัปดาหกับวิธีทดสอบเมื่อจบหนวยการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่
3 / 2 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 4 จํานวน 88 คน โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง แสดงใหเห็นวาผล
การเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 /2 ซึ่งมีการทดสอบยอยทุกสัปดาหโดยรวมอยูในเกณฑ
ดีกวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / 4 ดังตารางที่ 1 และตารางที่ 2

อภิปรายผลการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีการทดสอบยอยทุกสัปดาหในแตละหนวยการ
เรียนสูงกวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีการทดสอบยอยเมื่อจบหนวยการ
เรียน
2. จากการเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังเรียนของกลุมที่มีการทดสอบยอยทุกสัปดาห
พบวา คะแนนจากแบบประเมินผลหลังเรียนสูงกวากอนเรียนรอยละ 31.46 และจาก
การเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังเรียนของกลุมที่มีการทดสอบเมื่อจบหนวยการเรียน
พบวา คะแนนจากแบบประเมินผลหลังเรียนสูงกวากอนเรียนเพียงรอยละ 17.06 แสดง
ใหเห็นวาการทดสอบยอยทุกสัปดาหทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นกวา
การทดสอบเมื่อจบหนวยการเรียน
3. จากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุมแลวแสดงใหเห็นวา
การทดสอบยอยทุกสัปดาหสามารถแกปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําของนักเรียนได
ขอเสนอแนะ
ควรทําการทดสอบยอยทุกสัปดาหกับนักเรียนเพื่อกระตุนใหนักเรียนมีการตื่นตัวในการ
เรียนอยูตลอดเวลาและแกไขปญหานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา
ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม

กิจกรรม ตุลาคม 2547 พฤศจิกายน ธันวาคม 2547 มกราคม 2548


2547
1.สรางเครื่องมือ
- แผนจัดการเรียนรู

- แบบทดสอบ

2. จัดกิจกรรม

3. ประเมิน

4. วิเคราะหขอมูล

5. สรุป

6. เขียนรายงาน
การวิจัย
บรรณานุกรม

ยุพิน พิพิธกุล . การสอนคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา . กรุงเทพมหานคร : กรุงเทพการ


พิมพ,
2519.
สวัสดิ์ ปทุมราช . “ การเรียนเพื่อรู .“ พัฒนาวัดผล II. สํานักทดสอบทางการศึกษาและ
จิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ , 2518 .
วิทยา สุจริตธนารักษ และคณะ . โลกของเรา . กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช , 2533 .
ประเสริฐ วิทยารัฐ และคณะ . โลกของเรา . กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช , 2533 .

You might also like