You are on page 1of 12

บทที่ 1

บทนํา

ความสําคัญและที่มาของประเด็นงานวิจัย
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความ
สุข สามารถคิดเปน ทําเปนและสามารถแกปญหาเปนและมีความเปนคนไทย มีศักยภาพในการ
ศึกษาตอและประกอบอาชีพในอนาคตได อีกทั้งในธรรมนูญของโรงเรียนอัสสัมชัญระยองเองยังได
เนนใหนักเรียนเปนผูมีความรู สามารถคิดวิเคราะหและเขาใจในบทเรียนดวยการปฏิบัติจริง อีกทั้ง
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ฉบับปรับปรุง 2546 ยังไดแบงสาระการเรียนรู
คณิตศาสตรเปนสาระการเรียนรูหนึ่งที่เปนพื้นฐานในการเรียนการสอน เพื่อสรางเปนพื้นฐานใน
การคิดโดยนักเรียนสามารถเขาใจมโนทัศนคณิตศาสตรอันจะนําไปสูการปฏิบัติจริงในชีวิตประจํา
วันได และจะเปนกลยุทธในการแกไขปญหาและวิกฤตของชาติได (กรมวิชาการ, 2544)
การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร มีทักษะที่จะตองเนนใหนักเรียนเขาใจ ประกอบดวย
ทักษะดังตอไปนี้
1. การแกปญหา
2. ทักษะการนําคณิตศาสตรไปใชในชีวิตประจําวัน
3. ทักษะในการพิจารณาผลลัพธที่สมเหตุสมผล
4. ทักษะในการคิดคะเนและการประมาณการ
5. ทักษะการวัดและทักษะเรขาคณิต
6. ทักษะเกี่ยวกับการอานและการตีความ
7. ทักษะการทํานายและทักษะการคํานวณ ( สุลัดดา ลอยฟา,2538 )

ดังจะเห็นไดวาทักษะการวัดและทักษะเรขาคณิตเปนทักษะหนึ่งที่ผูสอนจะตองสรางใหนัก
เรียนเกิดความเขาใจและนําไปใชในชีวิตจริงได เพื่อใหนักเรียนมีความเชื่อมั่นในการวัดและทักษะ
เรขาคณิต หากนักเรียนเกิดความเขาใจและมีความเชื่อมั่นตอการวัดและทักษะเรขาคณิตแลว นัก
เรียนก็จะเกิดความมั่นใจและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร และอยากมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม
ในวิชาคณิตศาสตรตอไป
การเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ครูผูสอน
ไดพยายามสอนนักเรียนตามเนื้อหาที่หลักสูตรสถานศึกษาจัดให แตการเรียนการสอนในบางเนื้อหา
ยังขาดการเชื่อมโยงกับการปฏิบัติจริง นักเรียนนั้นมักเรียนเฉพาะในภาคทฤษฎีและไมสามารถ
2

ประยุกตทฤษฎีใหเขากับความเปนจริงได ดังนั้นทางครูผูสอนกลุมสาระคณิตศาสตร ในระดับชั้น


ประถมศึกษาปที่ 6 เห็นสมควรวาควรสงเสริมทักษะการวัดและและทักษะเรขาคณิตในการหาพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยมโดยการนําทฤษฎีไปประยุกตใชกับการปฏิบัติจริง เพื่อใหนักเรียนสามารถประยุกต
ใชในชีวิตประจําวันได ตลอดจนสามารถที่จะนําไปสูการหาพื้นที่อื่น ๆ ได

วัตถุประสงคของการวิจัยชั้นเรียน
1. เพื่อเสริมสรางทักษะในการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมของนักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปที่ 6
2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการสอน ระหวางการสอนการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในหองเรียน กับ การสอนการหาพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการปฏิบัติจริง

ตัวแปรที่ศึกษา
- ตัวแปรตน จํานวนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 228 คน
- ตัวแปรตาม - แบบทดสอบของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เรื่อง การ
หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
- แบบสํารวจความคิดเห็น

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การสอนทฤษฏีในหองเรียน

นักเรียนระดับชั้นป.6

การสอนทฤษฏีและนําสูภาค
ปฏิบัตินอกหองเรียน

รูปแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย
3

ผลที่คาดวาจะไดรับ

1. นักเรียนประดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เขาใจการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดวยการ
ปฏิบัติจริง
2. นักเรียนระดับชั้นปะถมศึกษาปที่ 6 มีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

กลุมประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชนั้น เปนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่กําลัง


ศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2547 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จํานวน 228
คน
4

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยอางอิง

เอกสารที่ใชอางอิง ไมสามารถหาได
5

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

ขอบเขตของงานวิจัย

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดวิจัยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดวยการปฏิบัติจริง
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวนทั้งสิ้น 228 คน

ระยะเวลาในการทําการศึกษาวิจัย

ผูวิจัยไดทําการศึกษาวิจัยครั้งนี้โดยเริ่มในภาคเรียนที่ 2 ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2547 ถึง


เดือนมกราคม 2548

เครื่องมือทีใชในการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัย ไดนํานักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ลงไปปฏิบัติตาม


สถานที่ตาง ๆ และไดทําแบบสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนพรอมทั้งจัดทําแบบทดสอบสําหรับ
วัดความเขาใจ ดังนี้
1. แบบทดสอบสําหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เรื่อง การหาพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยม
2. แบบสํารวจความคิดเห็นสําหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6

สถิติที่ใชในการวิจัย
1. การหาคารอยละ
6

ขั้นตอนในการดําเนินงาน

1. ผูวิจัยทําการสอนทฤษฎีใหกับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ทุกหอง
เรียนเรื่องการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมในหองเรียน
2. หลังสอนจบ ผูวิจัยใหนักเรียนทําแบบทดสอบ เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนัก
เรียน
3. หลังจากผูวิจัยทําการสอนในหองเรียนจบแลว ผูวิจัยจะทําการสอนนักเรียนในเรื่อง
เดิมโดยการนํานักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามสถานที่ภายในโรงเรียนดวยการวัดจาก
สิ่งตางๆที่เปนรูปสี่เหลี่ยม แลวนําตัวเลขตาง ๆ ที่วัดไดมาทําการหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
และผูวิจัยทําการตรวจสอบความถูกตองของการการวัดและการหาพื้นที่
4. หลังสอนจบ ผูวิจัยจะใหนักเรียนทําแบบทดสอบที่เคยทําในหองเรียนทําอีกครั้ง
เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนในแตละเรื่อง
5. ผูวิจัยนําคะแนนจากแบบทดสอบทั้งสองครั้งเปรียบเทียบกันระหวางคะแนนของ
แบบทดสอบที่ทําในหองเรียน กับ คะแนนของแบบทดสอบโดยการปฏิบัติจริง
6. ผูวิจัยทําแบบสํารวจความเขาใจเรื่องการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยใหนักเรียน
ตอบคําถาม เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหวางการเรียนการสอนในหองเรียนกับการ
เรียนการสอนโดยการปฏิบัติจริง
7. ผูวิจัยนําคะแนนจากการทําแบบทดสอบจากการปฏิบัติจริงมาเปรียบเทียบกับแบบ
ทดสอบที่ทําในหองเรียน
8. ผูวิจัยนําผลจากการสํารวจความเขาใจเรื่องการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยทําการ
วิเคราะหเพื่อสรุปผลการวิจัยชั้นเรียน เรื่องการสรางเสริมทักษะการหาพื้นที่ของ
รูปสี่เหลี่ยมโดยการปฏิบัติจริงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6
7

บทที่ 4

ผลการวิจัย

จากการดําเนินการศึกษาคนควาและวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การสรางเสริมทักษะการหาพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยมโดยการปฏิบัติจริงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2547 ของ
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จํานวนนักเรียนทั้งสิ้น 228 คน โดยผูวิจัยไดใหนักเรียนทําแบบทดสอบ
เรื่องการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจํานวน 10 ขอ ทั้งในหองเรียนและการปฏิบัติจริง มีผลออกมาดังนี้

ตารางสรุปคะแนนแบบทดสอบ
เรื่อง
การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม

ระดับคะแนนแบบฝกในหองเรียน ระดับคะแนนแบบฝกนอกหองเรียน
หอง จํานวน รวม รวม
0-5 6-7 8-9 10 0-5 6-7 8-9 10
ประถมศึกษาปที่ 6/1 38 0 3 25 10 38 0 0 5 33 38
ประถมศึกษาปที่ 6/2 38 12 11 10 5 38 0 6 12 20 38
ประถมศึกษาปที่ 6/3 39 19 10 5 5 39 2 6 16 15 39
ประถมศึกษาปที่ 6/4 36 18 8 6 4 36 1 5 20 10 36
ประถมศึกษาปที่ 6/5 39 12 14 10 3 39 0 10 12 17 39
ประถมศึกษาปที่ 6/6 38 14 10 6 8 38 2 7 14 15 38
รวม 228 75 56 62 35 228 5 34 79 110 228
คิดเปนรอยละ 100 32.89 24.56 27.19 15.35 100.00 2.19 14.91 34.65 48.25 100
ตารางสรุปคะแนนแบบทดสอบของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6
8

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบการเรียนในหองเรียนกับ
การเรียนนอกหองเรียน

60.00 48.25
32.89 34.65
40.00 24.56 27.19 การเรียนในหองเรียน
14.91 15.35
20.00 2.19 การเรียนนอกหองเรียน
0.00
ชวงคะแนน

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระหวางการสอนในหองเรียนกับการสอนนอกหองเรียน

จากตารางเปรียบเทียบแบบทดสอบของการเรียนการสอนเรื่องการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนแลวจะเห็นไดวานักเรียนที่ไดฝก
ปฏิบัติจริงนอกหองเรียนนั้นมีคะแนนสูงกวาที่นักเรียนเรียนในหองเรียนเพียงอยางเดียว ดังจะเห็น
ไดจาก คะแนนเปรียบเทียบทั้งสองครั้ง วาการเรียนการสอนนอกหองเรียนดวยการปฏิบัติจริงนัก
เรียนเขาใจเนื้อหาบทเรียนไดมากกวาการเรียนการสอนในหองเพียงอยางเดียว
และจากการสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนเรื่องความพึงพอใจตอการดําเนินการเรียนการ
สอนในหองเรียนกับการเรียนการสอนนอกหองเรียนปรากฏผลดังนี้
9

สรุปการสํารวจความคิดเห็น
เรื่อง
การสรางเสริมทักษะการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมโดยการปฏิบัติจริง ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6

ข อ รายการ มากที่สุด มาก พอใช ปรับปรุง หมายเหตุ


ที่
1 นักเรียนมีความสนใจในวิชาวิชาคณิตศาสตร 77 85 65 1
2 นักเรียนเขาใจการอธิบายจากครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร 43 116 60 9
3 นักเรียนมีโอกาสไดปฏิบัติจริงในวิชาคณิตศาสตร 10 42 109 67
4 นักเรียนเขาใจเนื้อหาวิชาคณิตศาสตรในหองเรียน 30 117 119 22
5 นักเรียนเขาใจเนื้อหาวิชาคณิตศาสตรดวยการปฏิบัติ 83 85 40 20
6 นักเรียนพึงพอใจการเรียนวิชาคณิตศาสตรในหองเรียน 25 62 87 54
7 นักเรียนพึงพอใจการเรียนวิชาคณิตศาสตรนอกหองเรียน 105 96 22 5
8 นักเรียนพึงพอใจบรรยากาศการสอนในหองเรียน 28 40 76 84
9 นักเรียนพึงพอใจบรรยากาศการสอนนอกหองเรียน 101 88 30 9
10 การใชสื่อการสอนของครูผูสอน 64 95 65 4
รวม 566 826 673 275
ตารางแสดงการสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนตอวิชาคณิตศาสตร

จากการสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญ
ระยอง ประจําปการศึกษา 2547 จํานวน ทั้งสิ้น 228 คน สรุปไดดังนี้
1. นักเรียนมีความสนใจในวิชาวิชาคณิตศาสตร อยูในระดับ มากถึงมากที่สุด
2. นักเรียนเขาใจการอธิบายจากครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร อยูในระดับ มาก
3. นักเรียนมีโอกาสไดปฏิบัติจริงในวิชาคณิตศาสตร อยูในระดับพอใช
4. นักเรียนเขาใจเนื้อหาวิชาคณิตศาสตรในหองเรียน อยูในระดับพอใช
5. นักเรียนเขาใจเนื้อหาวิชาคณิตศาสตรดวยการปฏิบัติ อยูในระดับ มาก
6. นักเรียนพึงพอใจการเรียนวิชาคณิตศาสตรในหองเรียน อยูในระดับ พอใช
7. นักเรียนพึงพอใจการเรียนวิชาคณิตศาสตรนอกหองเรียน อยูในระดับ มากที่สุด
8. นักเรียนพึงพอใจบรรยากาศการสอนในหองเรียน อยูในระดับควรปรับปรุง
9. นักเรียนพึงพอใจบรรยากาศการสอนนอกหองเรียน อยูในระดับ มากที่สุด
10. การใชสื่อการสอนของครูผูสอน อยูในระดับ มาก
10

แสดงใหเห็นวา หากนักเรียนมีโอกาสไดปฏิบัติจริงนอกหองเรียนแลวการเรียนและความ
เขาใจของนักเรียนก็จะมากขึ้น นับเปนการสรางเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรเปนอยางดี
11

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย

จากการวิจัยสรุปผลไดดังนี้คือ

จากการศึกษาวิจัยคนควาเรื่อง การสรางเสริมทักษะการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมโดยการ
ปฏิบัติจริง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ประจําปการศึกษา 2547 ของนักเรียนโรงเรียน
อัสสัมชัญระยองนั้นจะเห็นไดจากแบบทดสอบพบวานักเรียนที่เรียนทฤษฎีในหองเรียนแลวครูผู
สอนนํามาฝกปฏิบัติจริงนอกหองเรียน นักเรียนมีคะแนนจากแบบทดสอบนั้น สูงขึ้นทุกคน แสดง
ใหเห็นวา หากนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงดวยตัวของนักเรียนเองและสามารถนํามาประยุกตใช
ในชีวิตจริงได
และจากแบบสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา
1. นักเรียนมีความพึงพอใจกับการเรียนการสอนนอกหองเรียน มากวาการเรียนการสอน
ในหองเรียน
2. นักเรียนมีความสนใจคณิตศาสตรโดยครูผูสอนมีสื่อประกอบการเรียนการสอน
3. นักเรียนชอบบรรยากาศการเรียนการสอนนอกหองเรียนมากกวาการเรียนการสอนใน
หองเรียน
ขอเสนอแนะจากนักเรียนมีดังนี้คือ
- ควรจะมีการเรียนการสอนนอกหองเรียนทุก ๆ คาบ เพราะสนุก
- อยากใหมีการเลนเกมคณิตศาสตรหลังเรียนเสร็จแลว
- อยากใหมีการปฏิบัติจริง ๆ
- เรียนบนหองเรียนอยางเดียวเกิดความเบื่อ
- ในหองรอน ทําใหงวงนอน
- อยากใหมีอุปกรณการเรียนการสอนมากกวานี้
- ควรมีการทัศนศึกษา
- อยากใหเรียนใหสนุกสนาน สอนใหสนุก

จะเห็นไดวานักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หากครูผูสอนสามารถประยุกตวิชา
คณิตศาสตรเขากับชีวิตประจําวันไดนักเรียนก็จะเขาใจในเนื้อหาสาระวิชาคณิตศาสตรมากยิ่งขึ้น
และหากนักเรียนมีโอกาสไดลงมือปฏิบัติจากการวัดจริง ๆ แลว นักเรียนก็สามารถเขาใจเนื้อหามาก
12

ยิ่งขึ้นและถาหากครูผูสอนสามารถสรางเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาคณิตศาสตรแลว นักเรียนก็จะ
สามารถมีความสนใจในวิชาคณิตศาสตรมากยิ่งขึ้น

ขอคิดที่ไดจากการวิจัย

1. ครูผูสอนวิชาคณิตศาสตรควรมีสื่อการสอนมากยิ่งขึ้น
2. ครูผสู อนควรนํานักเรียนลงมือปฏิบัติจริงในบางเนื้อหาที่สามารถประยุกตกับการ
ปฏิบัติจริงได

You might also like