You are on page 1of 17

บทที่ 1

บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
กระแสและวิวัฒนาการของการเจริญกาวหนาของโลกไดเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ประเทศ
ไทยเปนประเทศหนึ่งที่อยูทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น เพื่อใหสังคมไทยกาวทันโลกยุค
โลกาภิวัฒน สังคมไทยตองปรับเปลี่ยนแนวคิดในการปฏิรูปการศึกษา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชากรในการสรางนิสัย ใหคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน มีความใฝรู ใฝเรียน มีความคิดริเริ่ม
สรางสรรค ใหเปนคนยุคใหม กาวทันโลกแหงความเจริญในปจจุบันและอนาคต สามารถปรับตัว
“ ใหอยูรอด กาวทัน กาวหนา กาวนํา ” การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ
การศึกษาของไทยมีการปฏิรูปครั้งใหญ ไดมีวิวัฒนาการมาจนถึงการมีรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เปนแมบทสําคัญกอใหเกิดการปฏิรูปการศึกษา โดยกําหนด
ไวในมาตราตาง ๆ เชน มาตรา 40 ,42 , 43, 46 , 53 ,54 , 69 โดยเฉพาะมาตรา 81 กําหนดใหมี
การประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ. ศ. 2542 เปนกฎหมายทางการศึกษาฉบับ
แรกของประเทศไทย ซึ่งใหความสําคัญเรื่องตาง ๆ เชน มาตรา 6 การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อ
พัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ และสติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริย
ธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิตที่สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ในหมวด ตั้งแต
มาตรา 22 – 30 ไดกลาวถึง หัวใจการปฏิรูปการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ หรือเปนศูนยกลาง
การเรียนรู
(Child Centered )
ปจจุบันรัฐบาลไดมุงเนนการแกปญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคน
สวนใหญของประเทศใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย ประกอบกับรัฐบาล
ภายใตการนําของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดประกาศนโยบายปฏิรูประบบราช
การใหม ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ไดรวม 3 หนวยงาน คือ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และทบวงมหาวิทยาลัยเขาดวยกัน เพื่อพัฒนาระบบบริหารใหมี
คุณภาพ และไดมีการประกาศใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อพัฒนาคน
ไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรม และ
วัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
จะเห็นไดวา กระแสของการปฏิรูปการศึกษาไดสงผลการปฏิบัติงานของคนทุกฝายที่เกี่ยว
ของกับการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพและบรรลุเปาหมายตามหลักสูตรการจัด
การศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดระบุไวในมาตรา 24(5) มี
ขอความสําคัญ ใหครูสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู และมาตร 30 ระบุ
โดยสรุปวา ใหสถานศึกษาสงเสริมใหผูสอน สามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู ที่เหมาะสมกับผู
เรียน ในแตละระดับการศึกษา ดังนั้นครูเปนบุคลากร
จากเหตุผลดังกลาว ทําใหคณะผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาเพื่อแสวงหาแนวทางในการแกไข
ปญหาของการไมสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในวิชา วิทยาศาสตร เพื่อพัฒนา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสงเสริมความรับผิดชอบ การจัดกระบวนการเรียนการสอน ใหการเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อเสริมสรางเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 จาก
50 %เปน 80 %
1.3 ขอบเขตการวิจัย
1. ประชากรที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ปการศึกษา
2547
ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
2. ระยะเวลา คือ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547
1.4 นิยามศัพทเฉพาะ
1. เจตคติ หมายถึง ความรูสึกที่แสดงออกมาในทางบวก หรือทางลบ เชน ความพอใจ –
ความไมพอใจ ในการสงงาน ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย
2. งาน หมายถึง แบบฝกหัดที่ครูใหในชั่วโมงเรียน แบบฝกหัดการบาน ใบงาน รวมถึง
การทํางานเปนกลุมหรือชิ้นงาน
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากงานวิจัย
1. ทําใหครูผูสอนทราบเจตคติของนักเรียนที่มีตอพฤติกรรมในการสงงานวิชา
วิทยาศาสตร เปนแนวทางใหครูผูสอนในรายวิชาอื่น ๆ ไดศึกษาและนําไปสํารวจเจตคติทางนัก
เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ในเรื่องของเจตคติตอการสงงาน
บทที่ 2
วรรณกรรมที่เกี่ยวของ
การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยดังตอไปนี้
2.1 ความหมายของเจตคติ
เจตคติ หมายถึง ความรูสึกที่แสดงออกมาในทางบวก หรือทางลบ เชน พอใจ ไมพอใจ
เห็น
ดวย ไมเห็นดวย ชอบหรือไมชอบตอบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เจตคติ หมายถึง ความรูสึกโนมเอียงของจิตใจที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือ เรื่องใด เรื่องหนึ่ง
หรือแบงเปน 2 ลักษณะ คือ เชิงนิมาน และเชิงนิเสธ
2.2 ลักษณะของเจตคติ
กฤษณา ศักดิ์ศรี ( 2530 :185 – 188 ) ไดกลาวถึงลักษณะที่สําคัญของเจตคติ สรุปไดดัง
นี้
1. เจตคติเกิดจากการเรียนรูหรือประสบการณของบุคคลที่ไมใชเปนสิ่งที่ติดตัวมาแต
กําเนิด
2. เจตคติเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม สถานการณและเหตุการณที่
เปลี่ยนแปลงไป
3. เจตคติเปนตัวกําหนดพฤติกรรมทั้งภายนอกและภายใน เราจะสังเกตไดวาบุคคลมี
เจต
คติในทางยอมรับหรือไมยอมรับ โดยสังเกตพฤติกรรมที่บุคคลนั้นแสดงออกมา
4. เจตคติเปนสิ่งซับซอน มีที่มาสลับซับซอน เพราะเจตคติขึ้นอยูกับหลายประการ เชน
ประสบการณการรับรู ความรูสึก ความคิดเห็น อารมณ สิ่งแวดลอม ฯลฯ ฉะนั้นจึงผันแปรได
5. เจตคติเกิดจากการเลียนแบบ สามารถถายทอดไปสูบุคคลอื่นๆได
6. ทิศทางของเจตคติ มี 2 ทิศทาง คือ สนับสนุนหรือตอตานและปริมาณของเจตคติมีตั้ง
แตพอใจอยางยิ่ง ปานกลาง จนถึงไมพอใจอยางยิ่ง เจตคติของบุคคลแตละคนจะมีความรุนแรง
ตางกันไป
7. เจตคติอาจเกิดขึ้นมาจากความมีจิตสํานึก หรือจากจิตไรสํานึกก็ได
8. เจตคติมีลักษณะคงทนถาวรพอสมควร กวาบุคคลจะมีเจตติตอสิ่งใดไดตองใชเวลา
นาน ใชความคิดลึกซึ้ง พิจารณาละเอียดรอบคอบแลจึงเกิดเจตคติตอสิ่งนั้น เจตคติอาจเกิดเปลี่ยน
แปลงได แตไมไดหมายความวาจะเปลี่ยนไดในเวลาอันรวดเร็ว
9. บุคคลแตละบุคคลยอมมีเจตคติตอบุคคล สถานการณสิ่งเดียวกัน แตกตางกันได ทั้งนี้
ขึ้นอยูกับประสบการณของบุคคลนั้น

2.3 องคประกอบของเจตคติ
ประภาเพ็ญ สุวรรณ ( 2526 : 34 ) ไดกลาวถึงองคประกอบของเจตคติไวดังนี้
1. องคประกอบดานพุทธปญญา หรือองคประกอบดานความคิด ( Cognitive
component) ไดแก ความคิดซึ่งเปนองคประกอบที่มนุษยใชในการวัด ความคิดนี้อาจอยูในรูปใด
รูปหนึ่ง ที่ตางกันขึ้นอยูกับความคิดของแตละบุคคลที่มีตอสิ่งเรา
2. องคประกอบทางดานทาทีความรูสึก ( Affective component ) เปนสวนประกอบใน
ดานอารมณความรูสึก ซึ่งเปนตัวเราความคิดอีกตอหนึ่ง ถาบุคคลมีความรูสึกที่ดีหรือไมดี ในขณะ
ที่คิดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แสดงวาบุคคลนั้นมีความรูสึกในดานบวก หรือดานลบตามลําดับตอสิ่งนั้น
3. องคประกอบดานปฏิบัติ หรือองคประกอบดานพฤติกรรม ( Beharioral component)
เปนองคประกอบที่มีแนวโนมในทางปฏิบัติ ถามีสิ่งเราที่เหมาะสมจะเกิดการปฏิบัติหรือปฏิกิริยา
อยางใดอยางหนึ่ง
บทที่ 3
วิธีการดําเนินการวิจัย
การวิจัยเรื่อง “การสงเสริมเจตคติ ในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปที่ 5/6 ” โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการดําเนินการวิจัยดังนี้
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ภาคเรียนที่ 1 ปการ
ศึกษา 2547 ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จํานวน 37 คน
กลุมตัวอยางที่ใชการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ภาคเรียนที่ 1 ปการ
ศึกษา 2547 ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง โดยเลือกการสุมตัวอยางเจาะจง 1 หองเรียนจาก 6
หองเรียน
3.2 ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย
ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย ตลอดภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547
3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
- การสงเสริมเจตคติโดยการใชคําพูด เสริมแรง ใหคําชมเชย
- การสงเสริมเจตคติ โดยการใชสัญลักษณ ( ตัวปมการตูน )
- การสงเสริมเจตคติ เปนรายบุคคล การใหรางวัล
3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
การเก็บรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตัวเองกับกลุมตัว
อยาง จํานวน 37 คน โดยจัดทําตารางสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ในราย
วิชา วิทยาศาสตร และจัดทําเปนตารางกราฟแสดงขอมูลเปรียบเทียบ
3.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
3.5.1 การวิเคราะหขอมูล คณะผูวิจัยดําเนินการดังตอไปนี้
(1) ทําตารางบันทึกการสงงาน แบบฝกหัดในเวลา แบบฝกหัดการบาน ใบงาน รวมถึงผล
งานเปนกลุม ในชวงตนภาคเรียนที่ 1 ของวิชา วิทยาศาสตร
(2) รวบรวมหาเปนคาเฉลี่ยรอยละ
(3) บันทึกการสงงานอยางตอเนื่อง หลังจากการสงเสริมเจตคติ และนํามาหาเปนคาเฉลี่ย
รอยละ
(4) นําคาเฉลี่ยรอยละของการสงงานชวงตนภาคเรียนที่ 1 ของ วิทยาศาสตร มาเปรียบ
เทียบกับคาเฉลี่ยของการสงงาน ชวงปลายภาคเรียนที่ 1

บทที่ 4
ผลการวิจัยและอภิปรายขอมูล
การวิจัยครั้งนี้ เพื่อสงเสริมเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล และ
วิเคราะหขอมูลจะนําเสนอผลการวิจัยและอภิปรายผลตอไปดังนี้
4.1 ผลการวิจัย
ตารางบันทึกการสงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร ของนักเรียน ชั้น ป.5/6 กอนไดรับการสง
เสริมเจตคติ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547

เดือน การสงงานของนักเรียน ป. 5/6


มิถุนายน 50%
กรกฎาคม 52%
สิงหาคม 56%
กันยายน 51%
ตุลาคม 53%

แผนภูมิที่ 1 บันทึกการสงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร ของนักเรียน ชั้น ป.5/6 กอนไดรับ


การสงเสริมเจตคติ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547

56% 56%
54%
53%
52% 52%
51%
50% 50%
48%

46%
มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม

การสงงานของนักเรียน ป. 5/6
ตารางบันทึกการสงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร ของนักเรียน ชั้น ป.5/6 หลังไดรับการสง
เสริมเจตคติ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547

เดือน การสงงานของนักเรียน ป. 5/6


มิถุนายน 83%
กรกฎาคม 82%
สิงหาคม 85%
กันยายน 80%
ตุลาคม 84%

แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิแทงเปรียบเทียบบันทึกการสงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร


ของนักเรียนชั้น ป.5/6 หลังจากไดรับการสงเสริมเจตคติ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547

100%
83% 82% 85% 80% 84%
80%

60% 50% 52% 56% 51% 53%


40%

20%

0%
มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม

กอนเสริมเจตคติ หลังเสริมเจตคติ
จากแผนภูมิที่ 2 การสงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6
นักเรียนรอยละ 80 % มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปในทางบวก คือเมื่อคิดเปนรอยละการสงงาน หลังได
รับการสงเสริมเจตคติ สูงกวากอนไดรับการสงเสริมเจตคติสูงขึ้นจาก 50 %เปน 80 %

4.2 อภิปรายผล
การสงเสริมเจตคติเพื่อกระตุนใหนักเรียนสงงานตามที่ครูในรายวิชา วิทยาศาสตร ไดมอบ
หมายงานหรือแบบฝกหัดใหนักเรียนทําสงครู เพื่อเปนการตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนวา
นักเรียนมีความเขาใจมากนอยเพียงใด พบวาหลังจากการที่ครูผูสอน ใหการเสริมแรงเปนการใหคํา
พูดชมเชย การใหรางวัลหรือสัญลักษณตาง ๆ ในสมุดงานของนักเรียน พบวารอยละ 80 % มีพฤติ
กรรมเปลี่ยนไป คือมีการสงงานเพิ่มขึ้นจากเดิม
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ
การวิจัยเรื่อง ” การสงเสริมเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5/6
ปการศึกษา 2547 ” คณะผูวิจัยไดดําเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ จะนําเสนอ
รายละเอียดดังนี้
5.1 สรุปผลการวิจัย
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อสรางเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 จาก 50% เปน
80%
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ภาคเรียนที่ 1 ปการ
ศึกษา 2547 ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จํานวน 37 คน
กลุมตัวอยางที่ใชการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ตั้งแตหอง ป. 5/6
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง โดยเลือกการสุมตัวอยางเจาะจง 1
หองเรียนจาก 6 หองเรียน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
- การสงเสริมเจตคติโดยการใชคําพูด เสริมแรง ใหคําชมเชย
- การสงเสริมเจตคติ โดยการใชสัญลักษณ ( ตัวปมการตูน )
- การสงเสริมเจตคติ เปนรายบุคคล การใหรางวัล
การเก็บรวบรวมขอมูล
การเก็บรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตัวเองกับกลุมตัว
อยาง จํานวน 37 คน โดยคณะผูวิจัยไดมีแบบบันทึกการสงงานเปนรายบุคคลของนักเรียนและของ
แตละวิชาแสดงผลในรูปของกราฟเปรียบเทียบ รอยละการสงงานของนักเรียน ในภาคเรียนที่ 1 ป
การศึกษา 2547
การวิเคราะหขอมูล
1. การหาคาเฉลี่ยรอยละ กอนการสงเสริมเจตคติ
2. การหาคาเฉลี่ยรอยละ หลังการสงเสริมเจตคติ
3. นําคาเฉลี่ยเปรียบเทียบความกาวหนาในรูปกราฟเพื่อใชในการแปลความหมาย
ผลการวิเคราะหขอมูล
1. การสงงานวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ของนักเรียนระดับชั้น ป.5/6
อยู
ในเกณฑ รอยละ 50
2. คาเฉลี่ยของการสงงานหลังการสงเสริมเจตคติพบวาสูงขึ้นกวาเดิม ทําใหสรุปไดวา
การที่ครูผูสอนไดศึกษานักเรียนเปนรายบุคคลเพื่อถามถึงสาเหตุการไมสงงาน และใหแรงเสริมเปน
เจตคติตาง ๆ ทั้งในดานคําพูดเสริมแรง , การใหสัญลักษณในสมุดแบบฝกหัด พบวานักเรียนใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 มีการสงงานสูงขึ้น จากรอยละ 50 เปนรอยละ 80
ขอเสนอแนะ
1. ครูผูสอนในวิชาอื่น ๆ ควรมีการสํารวจถึงเจตคติของนักเรียนที่มีตอพฤติกรรมในการ
สงงานของนักเรียน เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเปนรายบุคคล
2. ในการสอนวิชา วิทยาศาสตร ครูผูสอนตองเอใจใสอยางใกลชิด เปดโอกาสใหนัก
เรียนไดซักถามขอสงสัยในขณะทําการเรียนการสอนใหมากที่สุด
3. ควรมีการเสริมแรง ยกยองชมเชย และใหกําลังใจกับนักเรียนอยางสม่ําเสมอ ในขณะ
ที่
ทําการเรียนการสอน
บรรณานุกรม
กฤษณา ศักดิ์ศรี. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพนิยมวิทยา , 2530.
กาญจนา วังฆายุ. การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน , 2544.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร:ชมรมเด็ก, 2535
ประภาเพ็ญ สุวรรณ. ทัศนคติ การวัด การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย , กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพโอเดียนสโตร ,2526
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 . บริษัทพริกหวานกราฟฟก
จํากัด กรุงเทพมหานคร , 2542
ประวัติ เอราวรรณ . การวิจัยในชั้นเรียน กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพดอกหญาวิชาการ
จํากัด,2542
สุโขทัยธรรมาธิราช , การวิจัยหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน , มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช นนทบุรี , 2540
สารบัญ
บทคัดยอ
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความเปนมา และความสําคัญของปญหา
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1.3 ขอบเขตของการวิจัย
1.4 นิยามศัพทเฉพาะ
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ
1.1 ความหมายของเจตคติ
1.2 ลักษณะของเจตคติ
1.3 องคประกอบของเจตคติ
บทที่ 3 วิธีการดําเนินการวิจัย
1.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง
1.2 ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย
1.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
1.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
1.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการรวบรวมขอมูล
บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล
4.1 ผลการวิจัย
4.2 อภิปรายผล
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
5.2 ขอเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
- ตารางบันทึกการสงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร
- ตัวอยางของสมุดกอน หลังการไดรับการสงเสริมเจตคติในการสงงาน

ชื่องานวิจัย การสงเสริมเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6


ชื่อผูวิจัย ครูกรรณิการ โพธิ์วงศ
กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

บทคัดยอ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค เพื่อสงเสริมเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปที่ 5/6 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเปนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6 ภาคเรียนที่
1 ปการศึกษา 2547 ของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จํานวน 37 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การ
สงเสริมเจตคติโดยการใชคําพูด ในการเสริมแรง การสงเสริมเจตคติในการใชสัญลักษณในสมุด
แบบฝกหัด วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยรอยละ
ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้
คาเฉลี่ยของการสงงาน ในวิชา วิทยาศาสตร หลังการสงเสริมเจตคติ พบวาการสงงานสูง
ขึ้นกวากอนไดรับการสงเสริมเจตคติ ซึ่งหมายถึง นักเรียนในระดับชั้น ป.5/6 ควรไดรับการสงเสริม
เจตคติจากครูผูสอน เพื่อชวยใหนักเรียนมีความรับผิดชอนในการสงงานสูงขึ้น
ขอเสนอแนะ
ควรมีการเสริมแรงและยกยองชมเชยใหกําลังใจกับนักเรียนอยางสม่ําเสมอ ในขณะที่ทํา
การเรียนการสอน
ภาคผนวก
งานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การสงเสริมเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาป
ที่ 5/6

ผูวิจัย

ครูกรรณิการ โพธิ์วงศ
กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547
งานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การสงเสริมเจตคติในการสงงานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาป
ที่ 5/6

ผูวิจัย

ครูกรรณิการ โพธิ์วงศ

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5/6


ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547
โดยไดรับความเห็นชอบจาก

.............................................
ประธาน
(ภารดาจักรกรี อินธิเสน)

You might also like