You are on page 1of 97

คานา

ส านั ก งานศึกษาธิการภาค 17 ตระหนั กถึง ความส าคั ญของการจัด การศึ กษาที่มีคุ ณภาพ
รวมทั้งการผลิตและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และการพัฒนาประเทศ จึงได้จัดทา
ดัชนีการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
ใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด ซึ่งเป็นการสนับสนุนการกาหนด
นโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของกระทรวงศึกษาในระดับภาคให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป
การดาเนินการจัดทารายงานครั้งนี้สาเร็จได้ ต้องขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้สนับสนุน
ข้อมูลในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ครั้งนี้ จนประสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ หวังว่ารายงานเล่มนี้
จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน สถานศึกษา และบุคคลที่เกี่ยวข้อง สามารถนาผลการวิเคราะห์นี้ไปใช้ในการ
พัฒนาการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้ แก่ประชากรวัยเรียน พัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนาคุณภาพ
การให้บริการทางการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป

(นายชูสิน วรเดช)
รองศึกษาธิการภาค 7 รักษาการในตาแหน่ง
ศึกษาธิการภาค 17
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร

รายงานดัชนีการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการนาเสนอในรูปแบบตาราง แผนภาพ


โดยนาข้อมูลสถิติพื้นฐาน ได้แก่ นักเรียน ประชากร และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ มาทาการ
วิเคราะห์ โดยวิธีดาเนินการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์
เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) แล้วจัดทาสรุปผลการศึกษา อภิปราย และข้อเสนอแนะ ซึ่งจุดมุ่งหมาย
เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด ซึ่งเป็นการสนับสนุนการกาหนดนโยบาย
เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภาคและจังหวัด
ในเล่มนี้ ขอเสนอดัชนีการศึกษา รายด้าน 3 ด้าน จานวน 8 ดัชนี ได้แก่
1. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
2. ด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
3. ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality)
1. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563
ขอบเขตของการศึกษา ด้านเนื้ อหา การวิเคราะห์ครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการเข้าถึงโอกาส
ทางการศึกษา (Access) ของประชากร ตามกลุ่มอายุ (3-5 ปี), (6-11 ปี), (12-14 ปี), และ(15-17 ปี)
ด้านประชากร ประชากร คือ ประชากรกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2562 และ
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 วิธีการดาเนินการ
ใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง เป็ น การศึ ก ษาค้ น คว้ า ลั ก ษณะของการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณ
(Quantitative Analysis) โดยใช้ร้อยละและสัดส่วน
สรุปผลการศึกษาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี
ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17
ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
1. ร้ อ ยละของนั ก เรี ย นระดั บ อนุ บ าลต่ อ ประชากรกลุ่ ม อายุ 3-5 ปี พบว่ า กลุ่ ม จั ง หวั ด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 98.21) เมื่อจาแนกเป็น รายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่า
ร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก(ร้อยละ 127.87) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 115.20) จังหวัด
พิษณุโลก (ร้อยละ 106.76) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 90.43) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 44.95)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี กับเกณฑ์ร้อยละ
100 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (98.21) เมื่อจาแนกเป็นราย
จั งหวัด พบว่า จั งหวัดที่มีค่ าร้ อยละสู งกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จั งหวัดตาก (ร้อยละ 127.87) จังหวั ด
อุตรดิตถ์ (ร้อยละ 115.2) และจังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 106.76) จังหวัดที่มีค่าร้อยละต่ากว่าร้อยละ 100 คือ
จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 90.43) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 44.95)
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี
1. ร้ อยละของนั กเรี ยนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี พบว่า กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 97.68) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่า
ร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 122.01) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิ ตถ์ (ร้อยละ 95.72) จังหวัด
พิษณุโลก (ร้อยละ 95.72) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 94.50) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.29)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี กับเกณฑ์
ร้อยละ 100 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (ร้อยละ 97.68)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ
122.01) และจังหวัดที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 96.45) จังหวัด
พิษณุโลก (ร้อยละ 95.72) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 94.5) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.29)
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี
1. ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 96.77) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัด
ที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 107.28) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 101.69) จังหวัด
เพชรบูรณ์ (ร้อยละ 99.97) และจังหวั ดพิษณุโลก (ร้อยละ 96.42) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.08)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี
กับเกณฑ์ร้อยละ 100 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (ร้อยละ
96.77) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดตาก (ร้อย
ละ 107.28) จั งหวัดอุ ตรดิตถ์ (ร้ อยละ 101.69) และจัง หวัด ที่มีค่ าร้ อยละต่ากว่ าเกณฑ์ร้ อยละ 100 คื อ
เพชรบูรณ์ (ร้อยละ 99.97) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 96.42) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.08)
ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี
1. ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 65.80) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัด
ที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ81.11) รองลงมา คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 72.67)
จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 68.91) และจังหวัดตาก (ร้อยละ 61.77 ) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ย คะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 54.51)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี กับ
เกณฑ์ร้อยละ 95 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 95 (ร้อยละ 65.80)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่ า จังหวัดทุกแห่งที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 95 คือ จังหวัดอุตรดิตถ์
(ร้อยละ 81.11) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 72.67) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 68.91) จังหวัดตาก (ร้อยละ
61.77) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 54.51) ตามลาดับ

อภิปรายผล
จากการวิเคราะห์การเข้าถึง โอกาสทางการศึกษา (Access) ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สรุปได้ดังนี้
การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าร้อยละ
ของผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุทุกกลุ่ม มีค่าร้อยละต่ากว่าร้อยละ 100 และมีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ เมื่อ
พิจารณาเป็นรายจังหวัด พบว่า ระดับชั้นอนุบาล ระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี
จังหวัดบางแห่งสูงกว่าร้อยละ 100 และสูงกว่าเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุ เพื่อเพิ่มจานวนผู้เรียนทุกระดับชั้นในระดับภาค
2. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุจานวนนักเรียนสูงกว่าจานวนประชากรกลุ่มอายุรายจังหวัด เพื่อ
ศึกษา วิเคราะห์ เสนอความเห็นการจัดตั้งการยุบรวมสถานศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีมาตรฐานและ
คุณภาพ
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในสภาวการณ์ โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อานวยการ การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา

2. ด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563


ขอบเขตของการศึกษา ด้านเนื้อหา การวิเคราะห์ครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับด้านการตอบโจทย์
บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563 ของอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ด้านประชากร สามัญ
ศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 4 – 6 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
และ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ อาชีวศึกษา คือ นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 1-3 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
ปีการศึกษา 2563 วิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใช้ร้อยละและสัดส่วน
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
2. เปรียบเทียบการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563 กับ
เกณฑ์
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
1. สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วน
อาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วน (อาชีวศึกษา 14 : 86 มัธยมศึกษาตอนปลาย) เมื่อจาแนกเป็นราย
จังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (22 : 78) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (18 :
82) และจังหวัดพิษณุโลก (16 : 84) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่ วนต่าสุด คือจังหวัดตากและจังหวัด
เพชรบูรณ์ (15 : 85)
2. เปรียบเทียบการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
กับเกณฑ์
2.1 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 70กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 (ร้อยละ
14) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดมีค่า
สั ดส่ ว นสู ง สุ ด คือ จั งหวัดสุ โ ขทัย (ร้ อยละ 22) รองลงมา คือ จัง หวัด อุตรดิตถ์ (ร้อ ยละ 18) และจั งหวั ด
พิษณุโลก (ร้อยละ 16) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือ จังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ
15)
2.2 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนสามัญศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนสูงกว่าเกณฑ์ร้ อยละ 30 (ร้อยละ
86) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 30 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดมีค่า
สัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดตาก และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 86) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 84)
และจังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 82) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 78)
2.3 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 50
(ร้อยละ 14) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 50 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า
จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 22) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ18) และ
จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 16) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือจังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์
(ร้อยละ 15)
2.4 เปรียบเทียบป้าหมายร้อยละ 50 สัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา มีค่าสัดส่วนสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 50 (ร้อย
ละ 86) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 50 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่
มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 85) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ
84) และจังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 82) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 78)

อภิปรายผล
จากการวิเคราะห์การตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) กรณีศึกษา กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 สรุปได้ดังนี้
การตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง
กลุ่ม 1 มีค่าสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษาต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และเป้าหมายร้อยละ 50

ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
ควรจัดทาแผนการผลิตและพัฒนากาลังคนในสาขาอาชีพเร่งด่วนและส่งเสริมการเรียน
อาชีวศึกษา เพื่อเพิ่มจานวนผู้เรียนในทุกจังหวัด
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในสภาวการณ์ โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อ ส่ งเสริม สนั บสนุ น อ านวยการ การตอบโจทย์ บริบ ทที่มี การ
เปลี่ยนแปลง
3. ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ปีการศึกษา 2563
ดัชนีที่ 6 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality)
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ขอบเขตของการศึกษา ด้านเนื้อหา การวิเคราะห์ครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมินคุณภาพระดับการศึกษาระดับชาติ ปี
การศึกษา 2563 ด้านประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ คือ นักเรียนในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 17 ในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมินคุณภาพระดับการศึกษาระดับชาติ ปีการศึกษา 2563 ข้อมูลที่
ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสถาบันทดสอบทาง
การศึก ษาแห่ งชาติ (องค์ก ารมหาชน) ปี การศึ กษา 2563 และวิ ธีก ารดาเนิ นการ ใช้ก ระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิ งปริมาณ (Quantitative Analysis)
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ และสัดส่วน
สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี
การศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ดังนี้
1. เปรี ย บเที ย บเกณฑ์ร้ อยละ 50 กับ ผลการทดสอบทางการศึ กษาระดั บชาติ ขั้นพื้ นฐาน
(O-NET) ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สรุปผลการศึกษา
1. เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 55.40) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 58.26) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( =
54.68) และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( =
44.05)
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 41.35) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 51.77) และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อย
ละ 50 คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 38.63) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
( = 28.17)
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 29.31) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้ อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 33.65) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 28.17) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 25.67)
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 37.87) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 40.66) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 37.15) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 31.96)
1.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 54.97) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 55.05) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 54.42) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 51.38)
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่ าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 33.39) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 35.31) รองลงมา คือ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 33.68) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 27.34)
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 25.63) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 25.89) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 23.70) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 18.21)
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 30.03) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 30.14) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 29.21) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 28.08)
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 43.37) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 43.60) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 41.64) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 35.13)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ย
คะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 35.25) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่า
กว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 35.35) สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 34.23) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 32.78)
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 27.71) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ คือ สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 28.55) รองลงมา คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ( = 27.75) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 21.55)
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 24.64) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 24.83) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 23.20) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 17.59)
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 32.00) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 32.14) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 30.90) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 27.45)
2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563
กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสังกัดที่มีค่า
คะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3
วิชาภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัด
ที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษา
พิเศษ
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
อภิปรายผล
จากการศึกษาและวิเคราะห์ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563
กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สรุปได้ดังนี้
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่ า ภาษาไทยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ส่ว น
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
1.2 ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า ภาษาไทยสู ง กว่ า เกณฑ์ ร้ อ ยละ 50 ส่ ว น
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ทุกวิชาต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
2. เป รี ย บ เที ยบ ผลก าร ทดส อบ ทา งกา รศึ กษา ระ ดั บ ช าติ ขั้ น พื้ น ฐ าน ( O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและวิทยาศาสตร์มี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนคณิตศาสตร์มีแนวโน้มลดต่าลง
2.2 ระดับ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและวิทยาศาสตร์มี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนคณิตศาสตร์มีแนวโน้มลดต่าลง
2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ทุกวิชามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
จากการศึกษาและวิเคราะห์ ผ ลการทดสอบทางการศึกษาระดับ ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 พบว่า คณิตศาสตร์มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า
เกณฑ์และมีแนวโน้มลดต่าในระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลายมีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์แต่ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ภาษาอังกฤษและวิทยาศาสตร์มีค่าคะแนน
เฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกระดับชั้น และวิชาภาษาไทยมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์และมี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน
ปลายมีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อาจเนื่องมาจาก สภาวการณ์โรคติดเชื้อโควิด 19
ระบาด สถานศึกษาปิดทาการ ทาให้นักเรียนใช้เวลาส่วนใหญ่กับการอ่านหนังสือ

ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุและการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น
2. ควรส่งเสริมกิจกรรมรักการอ่านและเขียนอย่างต่อเนื่อง
3. ควรจัดหาหรือผลิตสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการการศึกษาแบบบูรณาการ ในสภาวการณ์โรคติดเชื้อโควิด
19 ระบาด เพื่อส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น อานวยการ คุณภาพการศึก ษาให้ เป็น ไปตามเป้ าหมายและมาตรฐาน
การศึกษา
ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช.
ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์
คุณภาพการศึกษา (Quality) ด้านอาชีวศึกษา ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับชั้น ปวช. ปีที่
3 ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมินคุณภาพระดับการศึกษา
ระดับชาติ ปีการศึกษา 2563 ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ผลการทดสอบระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-
NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
วิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง
ปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใช้ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ
สรุปการศึกษา ได้ดังนี้
1. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 50
2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562
3. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562)
สรุปผลการศึกษา
1. เปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ด้ า นอาชี ว ศึ ก ษา ( V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 50 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่า
เกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.69) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์
ร้อยละ 50 คือ จังหวัดพิษณุโลก ( = 38.42) จังหวัดอุตรดิตถ์ ( = 38.05) จังหวัดตาก ( = 37.27) และ
จังหวัดเพชรบูรณ์ ( = 36.52)
2. เปรี ยบเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ ด้า นอาชีว ศึก ษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัดตาก
จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
3. เปรี ยบเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ ด้า นอาชีว ศึก ษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562) พบว่า กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ลดลง คือ จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
อภิปรายผล
จากการศึกษาและวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สรุปได้ดังนี้
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3
ปีการศึกษา 2563 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
2. ผลการเปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562 และผลการเปรียบเทียบ 3 ปี
การศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลงและต่ากว่า
เป้าหมายมาก
ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
ควรมี ก ารศึ กษาหาสาเหตุแ ละส่ งเสริม การจั ดการเรี ยนการสอนเพื่ อ ยกระดั บ ผลสั มฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ในสภาวการณ์โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อานวยการ คุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตาม
เป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา

ดัชนีที่ 8 การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)


การวิ เคราะห์ ผ ลการทดสอบทางการศึ กษาระดับ ชาติด้ านการศึ ก ษานอกระบบโรงเรี ย น
(N-NET) ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและ
วิเคราะห์คุณภาพการศึกษา (Quality) ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ขอบเขตของการศึกษา
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนในสถานศึกษาสังกัด กศน. ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมินคุณภาพระดับ
การศึกษาระดับ ชาติ ปี ก ารศึ กษา 2563 ข้อมู ล ที่ใ ช้ใ นการวิเ คราะห์ ได้ แก่ ผลการทดสอบทางการศึ กษา
ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) ปีการศึกษา 2563 วิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ยและร้อยละ
สรุปผลการศึกษา
1. เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)
ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 กับเกณฑ์ร้อยละ 50
1.1 ระดับประถมศึกษา
1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
2. เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับประถมศึกษา
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
2.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สรุปผลการศึกษา
1. เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ปี
การศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 กับเกณฑ์ร้อยละ 50
1.1 ระดับประถมศึกษา พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า
เกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.31) เมื่อจาแนกเป็นรายสาระวิชา พบว่า ทุกสาระวิชามีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์
ร้อยละ 50 คือ สาระการพัฒนาสังคม ( = 40.45) สาระทักษะการดาเนินชีวิต ( = 39.28) สาระการ
ประกอบอาชีพ ( = 37.32) สาระความรู้พื้นฐาน ( = 36.10) และสาระทักษะการเรียนรู้ ( = 33.40)
1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 38.72) เมื่อจาแนกเป็นรายสาระวิชา พบว่า ทุกสาระวิชามีค่าคะแนนเฉลี่ย
ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สาระทักษะการดาเนินชีวิต ( = 46.25) สาระการประกอบอาชีพ ( = 38.80)
สาระการพัฒนาสังคม ( = 38.57) สาระทักษะการเรียนรู้ ( = 37.16) และสาระความรู้พื้นฐาน
( = 32.84)
1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 34.05) เมื่อจาแนกเป็นรายสาระวิชา พบว่า ทุกสาระวิชามีค่าคะแนนเฉลี่ย
ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สาระการประกอบอาชีพ ( = 39.24) สาระทักษะการดาเนินชีวิต ( = 35.10)
สาระการพัฒนาสังคม ( = 34.53) สาระทักษะการเรียนรู้ ( = 32.54) และสาระความรู้พื้นฐาน ( = 28.84)
2. เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับประถมศึกษา
พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็นรายกลุ่ม
สาระวิชา พบว่า กลุ่มสาระวิชาที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ และสาระความรู้พื้นฐาน สาระการประกอบ
อาชีพ และสาระการพัฒนาสังคม และ สาระทักษะการดาเนินชีวิต และกลุ่มสาระวิชาที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง
คือ สาระทักษะการเรียนรู้
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
ลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายกลุ่มสาระวิชา พบว่า กลุ่มสาระวิชาที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สาระการพัฒนา
สังคม สาระทักษะการดาเนินชีวิต กลุ่มสาระวิชาที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระ
ความรู้พื้นฐานและสาระการประกอบอาชีพ
2.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
ลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายกลุ่มสาระวิชา พบว่า กลุ่มสาระวิชาที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สาระการพัฒนา
สังคม และสาระความรู้พื้นฐาน และกลุ่มสาระวิชาที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระ
ทักษะการดาเนินชีวิต และ สาระการประกอบอาชีพ

อภิปรายผล
จากการศึกษาและวิเคราะห์คุณภาพการศึกษา (Quality) ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-NET) ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ดังนี้
1. ระดับชั้นประถมศึกษา พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่า
เกณฑ์ร้อยละ 50 แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 และมีแนวโน้มลดลง
3. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 และมีแนวโน้มลดลง
ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุและการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น
2. ควรส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาดู ง าน/ทั ศ นศึ ก ษาโครงการพระราชด าริ ใ นพื้ น ที่ เพื่ อ ให้ รู้ จั ก
เห็นคุณค่าและใช้แหล่งเรียนรู้ และเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมืองให้แก่ผู้เรียน
3. ควรเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านและการเขียนให้แก่ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
4. ควรจัดหาหรือผลิตสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ในสภาวการณ์โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อานวยการ คุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตาม
เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด
สารบัญ

หน้า
คานา
บทสรุปผู้บริหาร
สารบัญ
สารบัญภาพ
ดัชนีการศึกษา (Education Index) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1
1 ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) 2
ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี 3
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6 - 11 ปี 5
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 – 14 ปี 7
ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี 9
2 ด้านการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) 13
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผู้เรียนสามัญศึกษา 14
3 ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) 21
ดัชนีที่ 6 การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 21
ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 53
ดัชนีที่ 8 การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) 58

ภาคผนวก

คณะผู้จัดทารายงาน
สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563


ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
1 แสดงร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี 3
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด
2 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี 4
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 100
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี
3 แสดงร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี 5
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด
4 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ6 – 11 ปี 6
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 100
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี
5 แสดงร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี 7
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด
6 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากร กลุ่มอายุ 12 - 14 ปี 8
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 100
ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17
7 แสดงร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี 9
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด
8 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี 10
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 95
ด้านการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
9 แสดงสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563 14
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
10 แสดงเปรียบเทียบเกณฑ์กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563 15
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
11 แสดงเปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา 16
ปีการศึกษา 2563 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
12 แสดงเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563 17
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
13 แสดงเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2563 18
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
สารบัญตาราง(ต่อ)

ตาราง หน้า

ด้านคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2563


ดัชนีที่ 6 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – NET)
ชั้นประถมศึกษา
14 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 22
15 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 23
16 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 24
17 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 25
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
18 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 26
19 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 27
20 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 28
21 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 29
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
22 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 30
23 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 31
24 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 32
25 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 33
26 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 34
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
ชั้นประถมศึกษา
27 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 35
28 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 36
29 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 37
30 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 38
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
31 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 39
32 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 40
33 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 41
34 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 42
สารบัญตาราง(ต่อ)

ตาราง หน้า

ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
35 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 43
36 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 44
37 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 45
38 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 46
39 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 47
ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V – NET)
ระดับชั้น ปวช. กับเกณฑ์ร้อยละ 50
40 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. 54
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562
41 แสดงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไประดับ ปวช. 55
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562)
42 แสดงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป 56
ระดับ ปวช. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
ดัชนีที่ 8 การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน(N – NET)
กับเกณฑ์ร้อยละ 50
43 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นประถมศึกษา 59
44 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 60
45 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 61
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N – NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
46 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นประถมศึกษา 62
47 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 63
48 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 64
สารบัญภาพ

ภาพ หน้า

ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563


ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี 3
2 เปรียบเทียบร้อยละผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี กับเกณฑ์ 4
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี
3 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11 ปี 5
4 เปรียบเทียบร้อยละผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11 ปี กับเกณฑ์ 6
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี
5 ร้อยละนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี 7
6 เปรียบเทียบร้อยละผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากร 12 – 14 ปี กับเกณฑ์ 8
ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17
7 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15-17 ปี 9
8 เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากร 15 – 17 ปี กับเกณฑ์ 10
ด้านการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
9 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563 14
10 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 70 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา 15
11 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา 16
12 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา 17
13 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา 18
ด้านคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2562
ดัชนีที่ 6 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – NET)
ชั้นประถมศึกษา
14 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 22
15 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 23
16 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 24
17 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 25
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
18 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 26
19 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 27
20 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 28
21 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 29
สารบัญภาพ(ต่อ)

ภาพ หน้า

ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
22 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 30
23 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 31
24 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 32
25 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 33
26 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 34
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
ชั้นประถมศึกษา
27 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 35
28 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 36
29 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 37
30 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 38
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
31 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 39
32 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 40
33 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 41
34 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 42
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
35 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย 43
36 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 44
37 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ 45
38 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ 46
39 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ 47
ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V – NET) ระดับชั้น ปวช.
40 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. 54
กับเกณฑ์ร้อยละ 50
41 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562 55
42 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560-2562) 56
สารบัญภาพ(ต่อ)

ภาพ หน้า

ดัชนีที่ 8 การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)


เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน(N – NET)
กับเกณฑ์ร้อยละ 50
43 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นประถมศึกษา 59
44 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 60
45 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 61
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน(N – NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
46 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นประถมศึกษา 62
47 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 63
48 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 64
ดัชนีการศึกษา

ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ดัชนีการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


ดัช นี การศึกษา ปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็ นการนาเสนอในรูปแบบตาราง แผนภาพ
โดยน าข้ อมู ล สถิ ติพื้น ฐาน ได้แก่ นั กเรี ยน ประชากร และผลการทดสอบทางการศึก ษาระดั บชาติ มาท า
การวิเคราะห์ โดยวิธีการดาเนินการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของ
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) แล้วจัดทาสรุปผลการศึกษา อภิปราย และข้อเสนอแนะ
ซึ่งจุดมุ่งหมายเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด ซึ่งเป็นการสนับสนุนการ
กาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภาค
ในเล่มนี้ ขอเสนอดัชนีการศึกษา รายด้าน 3 ด้าน จานวน 8 ดัชนี คือ
1. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ปีการศึกษา 2563
2. ด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
3. ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ปีการศึกษา 2562
2

1. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563


ขอบเขตของการศึกษา ด้านเนื้อหา การวิเคราะห์ครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการเข้าถึงโอกาส
ทางการศึกษา (Access) ของประชากร ตามกลุ่มอายุ (3-5 ปี), (6-11 ปี), (12-14 ปี), และ(15-17 ปี)
ด้านประชากร ประชากร คือ ประชากรกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2562 และ
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 วิธีการดาเนินการ
ใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง เป็ น การศึ ก ษาค้ น คว้ า ลั ก ษณะของการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณ
(Quantitative Analysis) โดยใช้ร้อยละและสัดส่วน
สรุปผลการศึกษาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี
ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17
3

การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
1. ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี

ตาราง 1 แสดงร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด

จังหวัด นักเรียน ประชากร ร้อยละ อันดับ


ตาก 29,594 23,144 127.87 1
พิษณุโลก 26,547 24,867 106.76 3
เพชรบูรณ์ 27,307 30,196 90.43 4
สุโขทัย 7,260 16,151 44.95 5
อุตรดิตถ์ 13,326 11,568 115.20 2
ภาคเหนือตอนล่าง 1 104,034 105,926 98.21

ภาพ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี

จากตารางที่ 1 และภาพ 1 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของนักเรียนระดับ


อนุบาลต่อประชากรกลุ่ มอายุ 3-5 ปี มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 98.21) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด
พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก(ร้อยละ 127.87) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ
115.20) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 106.76) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 90.43) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 44.95)
4

2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี กับเกณฑ์ร้อย
ละ 100

ตารางที่ 2 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 100

จังหวัด เกณฑ์ ปีการศึกษา 2563


ตาก 100 127.87
พิษณุโลก 100 106.76
เพชรบูรณ์ 100 90.43
สุโขทัย 100 44.95
อุตรดิตถ์ 100 115.20
ภาคเหนือตอนล่าง 1 100 98.21

ภาพ 2 เปรียบเทียบร้อยละผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี กับเกณฑ์

จากตารางที่ 2 และภาพที่ 2 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของผู้เรียน


อนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (98.21)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวั ดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัด
ตาก (ร้อยละ 127.87) จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 115.2) และจังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 106.76)
5

ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี


1. ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี

ตาราง 3 แสดงร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด

จังหวัด นักเรียน ประชากร ร้อยละ อันดับ


ตาก 61,867 50,705 122.01 1
พิษณุโลก 52,955 55,323 95.72 3
เพชรบูรณ์ 63,664 67,369 94.50 4
สุโขทัย 27,898 37,552 74.29 5
อุตรดิตถ์ 26,166 27,129 96.45 2
ภาคเหนือตอนล่าง 1 232,550 238,078 97.68

ภาพ 3 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11 ปี

จากตารางที่ 3 และภาพ 3 พบว่า กลุ่ม จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของนักเรียน


ประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 97.68) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด
พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 122.01) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ
95.72) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 95.72) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 94.50) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.29)
6

2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี กับเกณฑ์
ร้อยละ 100

ตารางที่ 4 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ6 – 11 ปี
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 100

จังหวัด เกณฑ์ ปีการศึกษา 2563


ตาก 100 122.01
พิษณุโลก 100 95.72
เพชรบูรณ์ 100 94.50
สุโขทัย 100 74.29
อุตรดิตถ์ 100 96.45
ภาคเหนือตอนล่าง 1 100 97.68

ภาพ 4 เปรียบเทียบร้อยละผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11 ปี กับเกณฑ์

จากตารางที่ 4 และภาพที่ 4 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของผู้เรียน


ประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (ร้อยละ 97.68)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัด
ตาก (ร้อยละ 122.01) และจังหวัดที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 96.45)
จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 95.72) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 94.5) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.29)
7

ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี


1. ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี

ตาราง 5 แสดงร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด

จังหวัด นักเรียน ประชากร ร้อยละ


ตาก 27,854 25,963 107.28
พิษณุโลก 28,189 29,235 96.42
เพชรบูรณ์ 35,455 35,464 99.97
สุโขทัย 14,714 19,861 74.08
อุตรดิตถ์ 15,286 15,032 101.69
ภาคเหนือตอนล่าง 1 121,498 125,555 96.77

ภาพ 5 ร้อยละนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี

จากตารางที่ 5 และภาพ 5 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของนักเรียน


มัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 96.77) เมื่อจาแนกเป็น
รายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 107.28) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์
(ร้อยละ 101.69) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 99.97) และจังหวัดพิ ษณุโลก (ร้อยละ 96.42) ตามลาดับ ส่วน
จังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.08)
8

2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี กับ
เกณฑ์ร้อยละ 100

ตารางที่ 6 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากร กลุ่มอายุ 12 - 14 ปี


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 100

จังหวัด เกณฑ์ ปีการศึกษา 2563


ตาก 100 107.28
พิษณุโลก 100 96.42
เพชรบูรณ์ 100 99.97
สุโขทัย 100 74.08
อุตรดิตถ์ 100 101.69
ภาคเหนือตอนล่าง 1 100 96.77

ภาพ 6 เปรียบเทียบร้อยละผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากร 12 – 14 ปี กับเกณฑ์

จากตารางที่ 6 และภาพที่ 6 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของผู้เรียน


มัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (ร้อยละ 96.77)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัด
ตาก (ร้อยละ 107.28) จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 101.69) และจังหวัดที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100
คือ เพชรบูรณ์ (ร้อยละ 99.97) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 96.42) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.08)
9

ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17
1. ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี

ตาราง 7 แสดงร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 จาแนกรายจังหวัด

จังหวัด นักเรียน ประชากร ร้อยละ


ตาก 16,403 26,557 61.77
พิษณุโลก 19,833 28,780 68.91
เพชรบูรณ์ 25,728 35,402 72.67
สุโขทัย 10,686 19,604 54.51
อุตรดิตถ์ 12,394 15,280 81.11
ภาคเหนือตอนล่าง 1 82,665 125,623 65.80

ภาพ 7 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15-17 ปี

จากตารางที่ 7 และภาพที่ 7 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของนักเรียน


มัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 65.80) เมื่อจาแนกเป็น
รายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ81.11) รองลงมา คือ จังหวัด
เพชรบูรณ์ (ร้อยละ 72.67) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 68.91) และจังหวัดตาก (ร้อยละ 61.77 ) ตามลาดับ
ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 54.51)
10

2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี
กับเกณฑ์ร้อยละ 95

ตารางที่ 8 แสดงเปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับเกณฑ์ร้อยละ 95

จังหวัด เกณฑ์ ปีการศึกษา 2563


ตาก 95 61.77
พิษณุโลก 95 68.91
เพชรบูรณ์ 95 72.67
สุโขทัย 95 54.51
อุตรดิตถ์ 95 81.11
ภาคเหนือตอนล่าง 1 95 65.80

ภาพ 8 เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากร 15 – 17 ปี กับเกณฑ์

จากตารางที่ 8 และภาพที่ 8 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ร้อยละของผู้เรียน


มัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 95 (ร้อยละ 65.80)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดทุกแห่งที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 95 คือ
จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 81.11) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 72.67) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 68.91) จังหวัด
ตาก (ร้อยละ 61.77) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 54.51) ตามลาดับ
11

สรุปผลการศึกษาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ปีการศึกษา 2563


ดัชนีที่ 1 ร้อยละของนักเรียนระดับอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
1. ร้ อ ยละของนั ก เรี ย นระดั บ อนุ บ าลต่ อ ประชากรกลุ่ ม อายุ 3-5 ปี พบว่ า กลุ่ ม จั ง หวั ด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 98.21) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่า
ร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก(ร้อยละ 127.87) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 115.20) จังหวัด
พิษณุโลก (ร้อยละ 106.76) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 90.43) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 44.95)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนอนุบาลต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี กับเกณฑ์ร้อยละ
100 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (98.21) เมื่อจาแนกเป็นราย
จั งหวัด พบว่า จั งหวัดที่มีค่ าร้ อยละสู งกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 127.87) จังหวั ด
อุตรดิตถ์ (ร้อยละ 115.2) และจังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 106.76) จังหวัดที่มีค่าร้อยละต่ากว่าร้อยละ 100 คือ
จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 90.43) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 44.95)
ดัชนีที่ 2 ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี
1. ร้ อยละของนั กเรี ยนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6-11ปี พบว่า กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 97.68) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่า
ร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 122.01) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 95.72) จังหวัด
พิษณุโลก (ร้อยละ 95.72) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 94.50) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.29)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนประถมศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี กับเกณฑ์
ร้อยละ 100 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (ร้อยละ 97.68)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ
122.01) และจังหวัดที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 96.45) จังหวัด
พิษณุโลก (ร้อยละ 95.72) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 94.5) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.29)
ดัชนีที่ 3 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี
1. ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้ นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 96.77) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัด
ที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดตาก (ร้อยละ 107.28) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 101.69) จังหวัด
เพชรบูรณ์ (ร้อยละ 99.97) และจังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 96.42) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.08)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ 12 - 14 ปี
กับเกณฑ์ร้อยละ 100 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 (ร้อยละ
96.77) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าร้อยละสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 คือ จังหวัดตาก (ร้อย
ละ 107.28) จั งหวัดอุ ตรดิตถ์ (ร้ อยละ 101.69) และจัง หวัด ที่มีค่ าร้ อยละต่ากว่ าเกณฑ์ร้ อยละ 100 คื อ
เพชรบูรณ์ (ร้อยละ 99.97) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 96.42) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 74.08)
12

ดัชนีที่ 4 ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี
1. ร้อยละของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่า 100 (ร้อยละ 65.80) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัด
ที่มีค่าร้อยละสูงสุด คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ81.11) รองลงมา คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 72.67)
จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 68.91) และจังหวัดตาก (ร้อยละ 61.77 ) ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 54.51)
2. เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี กับ
เกณฑ์ร้อยละ 95 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 95 (ร้อยละ 65.80)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดทุกแห่งที่มีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 95 คือ จังหวัดอุตรดิตถ์
(ร้อยละ 81.11) จังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 72.67) จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 68.91) จังหวัดตาก (ร้อยละ
61.77) และจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 54.51) ตามลาดับ

อภิปรายผล
จากการวิเคราะห์การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 สรุปได้ดังนี้
การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าร้อยละ
ของผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุทุกกลุ่ม มีค่าร้อยละต่ากว่าร้อยละ 100 และมีค่าร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ เมื่อ
พิจารณาเป็นรายจังหวัด พบว่า ระดับชั้นอนุบาล ระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี
จังหวัดบางแห่งสูงกว่าร้อยละ 100 และสูงกว่าเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุ เพื่อเพิ่มจานวนผู้เรียนทุกระดับชั้นในระดับภาค
2. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุจานวนนักเรียนสูงกว่าจานวนประชากรกลุ่มอายุรายจังหวัด เพื่อ
ศึกษา วิเคราะห์ เสนอความเห็นการจัดตั้งการยุบรวมสถานศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีมาตรฐานและ
คุณภาพ
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในสภาวการณ์ โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อานวยการ การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา

แหล่งอ้างอิง : สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2564. รายงานการวิเคราะห์การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา


(Access) และการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
13

2. ด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563


ขอบเขตของการศึกษา
ด้านเนื้อหา การวิเคราะห์ครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
(Relevancy) ปีการศึกษา 2563 ของอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ด้านประชากร สามัญศึกษา คือ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 4 – 6 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563และ ประชากรกลุ่ม
ตัวอย่าง คือ อาชีวศึกษา คือ นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 1-3 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
วิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง
ปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใช้ร้อยละและสัดส่วน
สรุปผลการศึกษาด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
2. เปรียบเทียบการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
14

ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
1. สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา

ตารางที่ 9 แสดงสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด ปวช. มัธยมปลาย สัดส่วน


ตาก 2,513 13,890 15 : 85
พิษณุโลก 3,229 16,604 16 : 84
เพชรบูรณ์ 3,809 21,919 15 : 85
สุโขทัย 2,381 8,305 22 : 78
อุตรดิตถ์ 2,196 10,198 18 : 82
ภาคเหนือตอนล่าง 1 11,749 70,916 14 : 86

ภาพ 9 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563

จากตารางที่ 9 และภาพ 9 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อ


สามัญศึกษา มีค่าสัดส่วน (อาชีวศึกษา 14 : 86 มัธยมศึกษาตอนปลาย)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (22 : 78)
รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (18 : 82) และจังหวัดพิษณุโลก (16 : 84) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด
คือจังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์ (15 : 85)
15

2. เปรียบเทียบการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563


2.1 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 70 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา

ตารางที่ 10 แสดงเปรียบเทียบเกณฑ์กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563


กลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด เกณฑ์ ปวช.


ตาก 70 15
พิษณุโลก 70 16
เพชรบูรณ์ 70 15
สุโขทัย 70 22
อุตรดิตถ์ 70 18
ภาคเหนือตอนล่าง 1 70 14

ภาพ 10 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 70 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563

จากตารางที่ 10 และภาพ 10 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อ


สามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 (ร้อยละ 14) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนต่ากว่าเกณฑ์ร้อย
ละ 70
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดมีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 22)
รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 18) และจังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 16) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วน
ต่าสุด คือ จังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 15)
16

2.2 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา

ตารางที่ 11 แสดงเปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษาปีการศึกษา 2563


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด เกณฑ์ มัธยมปลาย


ตาก 30 85
พิษณุโลก 30 84
เพชรบูรณ์ 30 85
สุโขทัย 30 78
อุตรดิตถ์ 30 82
ภาคเหนือตอนล่าง 1 30 86

ภาพ 11 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2563

จากตารางที่ 11 และภาพ 11 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนสามัญศึกษาต่อ


สามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 30 (ร้อยละ 86) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนสูงกว่าเกณฑ์ร้อย
ละ 30
เมื่อจาแนกเป็น รายจั งหวัด พบว่า จังหวัดมีค่าสั ดส่ ว นสู งสุด คือ จังหวัดตาก และจังหวัด
เพชรบู ร ณ์ (ร้ อยละ 86) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 84) และจังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 82)
ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 78)
17

2.3 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา

ตารางที่ 12 แสดงเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2563


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด เกณฑ์ ปวช.


ตาก 50 15
พิษณุโลก 50 16
เพชรบูรณ์ 50 15
สุโขทัย 50 22
อุตรดิตถ์ 50 18
ภาคเหนือตอนล่าง 1 50 14

ภาพ 12 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา

จากตารางที่ 12 และภาพ 12 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อ


สามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 50 (ร้อยละ 14) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนต่ากว่า
เป้าหมายร้อยละ 50
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 22)
รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ18) และจังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 16) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วน
ต่าสุด คือจังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 15)
18

2.4 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา

ตารางที่ 13 แสดงเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2563


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด เกณฑ์ สามัญศึกษา


ตาก 50 85
พิษณุโลก 50 84
เพชรบูรณ์ 50 85
สุโขทัย 50 78
อุตรดิตถ์ 50 82
ภาคเหนือตอนล่าง 1 50 86

ภาพ 13 เปรียบเทียบเป้าหมายร้อยละ 50 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา

จากตารางที่ 13 และภาพ 13 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนสามัญศึกษาต่อ


อาชีวศึกษา มีค่าสัดส่วนสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 50 (ร้อยละ 86) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนสูงกว่า
เป้าหมายร้อยละ 50
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสู งสุด คือ จังหวัดตากและจังหวัด
เพชรบู ร ณ์ (ร้ อยละ 85) รองลงมา คือ จังหวั ดพิษ ณุโ ลก (ร้อยละ84) และจัง หวัด อุตรดิตถ์ (ร้อ ยละ 82)
ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 78)
19

สรุปผลการศึกษาการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy)
ดัชนีที่ 5 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา
1. สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วน
อาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วน (อาชีวศึกษา 14 : 86 มัธยมศึกษาตอนปลาย) เมื่อจาแนกเป็นราย
จังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (22 : 78) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (18 :
82) และจังหวัดพิษณุโลก (16 : 84) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือจังหวัดตากและจังหวัด
เพชรบูรณ์ (15 : 85)
2. เปรียบเทียบการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
กับเกณฑ์
2.1 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 70กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 (ร้อยละ
14) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่ วนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดมีค่า
สั ดส่ ว นสู ง สุ ด คือ จั งหวัดสุ โ ขทัย (ร้ อยละ 22) รองลงมา คือ จัง หวัด อุตรดิตถ์ (ร้อ ยละ 18) และจั งหวั ด
พิษณุโลก (ร้อยละ 16) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือ จังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ
15)
2.2 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 30 กับสัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนสามัญศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 30 (ร้อยละ
86) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 30 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดมีค่า
สัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดตาก และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 86) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 84)
และจังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 82) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 78)
2.3 เปรียบเทียบเป้าหมายร้ อยละ 50 กับสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา มีค่าสัดส่วนต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 50
(ร้อยละ 14) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 50 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า
จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 22) รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ18) และ
จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ 16) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือจังหวัดตากและจังหวัดเพชรบูรณ์
(ร้อยละ 15)
2.4 เปรียบเทียบป้าหมายร้อยละ 50 สัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชี วศึกษา พบว่า กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สัดส่วนสามัญศึกษาต่ออาชีวศึกษา มีค่าสัดส่วนสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 50 (ร้อย
ละ 86) และจังหวัดทุกแห่งมีค่าสัดส่วนสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 50 เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่
มีค่าสัดส่วนสูงสุด คือ จังหวัดตากและจั งหวัดเพชรบูรณ์ (ร้อยละ 85) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (ร้อยละ
84) และจังหวัดอุตรดิตถ์ (ร้อยละ 82) ตามลาดับ จังหวัดที่มีค่าสัดส่วนต่าสุด คือจังหวัดสุโขทัย (ร้อยละ 78)
20

อภิปรายผล
จากการวิเคราะห์การตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) กรณีศึกษา กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 สรุปได้ดังนี้
การตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง
กลุ่ม 1 มีค่าสัดส่วนอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และเป้าหมายร้อยละ 50

ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
ควรจัดทาแผนการผลิตและพัฒนากาลังคนในสาขาอาชีพเร่งด่วนและส่งเสริมการเรียน
อาชีวศึกษา เพื่อเพิ่มจานวนผู้เรียนในทุกจังหวัด
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในสภาวการณ์ โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น อ านวยการ การตอบโจทย์ บ ริ บ ทที่ มี
การเปลี่ยนแปลง

แหล่งอ้างอิง : สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2564. รายงานการวิเคราะห์การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา


(Access) และการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
21

3. ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ปีการศึกษา 2563


ดัชนีที่ 6 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กลุ่ ม จั งหวั ดภาคเหนื อตอนล่ า ง 1 มีวั ต ถุป ระสงค์ เพื่อ ศึ ก ษาและวิ เคราะห์ ด้ านคุ ณภาพการศึ ก ษา
(Quality) ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ขอบเขตของการศึกษา ด้านเนื้อหา การวิเคราะห์ครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมินคุณภาพระดับการศึกษา
ระดับชาติ ปีการศึกษา 2563 ด้านประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ คือ นักเรียนในพื้นที่เขตตรวจราชการที่
17 ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมินคุณภาพระดับการศึกษาระดับชาติ ปีการศึกษา 2563
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสถาบัน
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ปีการศึกษา 2563 และวิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ และสัดส่วน
สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี
การศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ดังนี้
1. เปรี ย บเที ย บเกณฑ์ร้ อยละ 50 กับ ผลการทดสอบทางการศึ กษาระดั บชาติ ขั้นพื้ นฐาน
(O-NET) ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
22

1. เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)


ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตารางที่ 14 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 16,417 54.68
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 4,347 58.26
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 45 44.05
ภาคเหนือตอนล่าง 1 20,809 55.40

ภาพ 14 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ปีการศึกษา 2563

จากตารางที่ 14 และภาพ 14 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 55.40)
เมื่ อ จ าแนกเป็ น รายสั ง กั ด พบว่ า สั ง กั ด ที่ มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า เกณฑ์ ร้ อ ยละ 50 คื อ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 58.26) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 54.68) และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
( = 44.05)
23

ตารางที่ 15 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 16,417 38.63
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 4,350 51.77
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 45 28.17
ภาคเหนือตอนล่าง 1 20,812 41.35

ภาพ 15 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ

จากตารางที่ 15 และภาพ 15 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 41.35)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 51.77) และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อย
ละ 50 คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 38.63) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
( = 28.17)
24

ตารางที่ 16 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 16,417 28.17
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 4,347 33.65
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 45 25.67
ภาคเหนือตอนล่าง 1 20,809 29.31

ภาพ 16 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

จากตารางที่ 16 และภาพ 16 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 29.31)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 33.65) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 28.17) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 25.67)
25

ตารางที่ 17 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 16,417 37.15
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 4,350 40.66
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 45 31.96
ภาคเหนือตอนล่าง 1 20,812 37.87

ภาพ 17 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์

จากตารางที่ 17 และภาพ 17 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.87)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 40.66) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 37.15) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 31.96)
26

1.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ตารางที่ 18 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,822 55.05
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1,734 54.42
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 76 51.38
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,632 54.97

ภาพ 18 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย

จากตารางที่ 18 และภาพ 18 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 54.97)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 55.05) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 54.42) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 51.38)
27

ตารางที่ 19 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,682 33.68
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1,729 35.31
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 76 27.34
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,487 33.39

ภาพ 19 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ

จากตารางที่ 19 และภาพ 19 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 33.39)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 35.31) รองลงมา คือ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 33.68) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 27.34)
28

ตารางที่ 20 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,823 25.89
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1,734 23.70
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 76 18.21
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,633 25.63

ภาพ 20 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

จากตารางที่ 20 และภาพ 20 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 25.63)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 25.89) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 23.70) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 18.21)
29

ตารางที่ 21 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,707 30.14
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1,728 29.21
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 76 28.08
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,511 30.03

ภาพ 21 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์

จากตารางที่ 21 และภาพ 21 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนื อตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยวิชา


วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 30.03)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า
ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ( = 30.14) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 29.21) และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ ( = 28.08)
30

1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตารางที่ 22 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14898 43.60
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 954 41.64
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 215 35.13
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16067 43.37

ภาพ 22 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย

จากตารางที่ 22 และภาพ 22 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา


ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 43.37)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 43.60) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 41.64) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 35.13)
31

ตารางที่ 23 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,931 35.35
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 952 34.23
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 215 32.78
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,098 35.25

ภาพ 23 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม

จากตารางที่ 23 และภาพ 23 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนน


วิชาสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 35.25)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 35.35) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 34.23) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 32.78)
32

ตารางที่ 24 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,928 27.75
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 952 28.55
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 215 21.55
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,095 27.71

ภาพ 24 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ

จากตารางที่ 24 และภาพ 24 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา


ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 27.71)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ คือ สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 28.55) รองลงมา คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ( = 27.75) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 21.55)
33

ตารางที่ 25 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,931 24.83
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 952 23.20
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 215 17.59
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,098 24.64

ภาพ 25 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

จากตารางที่ 25 และภาพ 25 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ ยคะแนนวิชา


คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 24.64)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 24.83) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 23.20) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 17.59)
34

ตารางที่ 26 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

สังกัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย


สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14,890 32.14
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 954 30.90
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 215 27.45
ภาคเหนือตอนล่าง 1 16,059 32.00

ภาพ 26 เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์

จากตารางที่ 26 และภาพ 26 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา


วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 32.00)
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัด ที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 32.14) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 30.90) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 27.45)
35

2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตารางที่ 27 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง -
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 54.68 47.45 7.23
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 58.26 49.68 8.58
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 44.05 37.32 6.73
ภาคเหนือตอนล่าง 1 55.40 47.89 7.51

ภาพ 27 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ป.6

จากตารางที่ 27 และภาพ 27 พบว่า วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวัด


ภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนนเฉลี่ ย
เพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
36

ตารางที่ 28 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 38.63 29.94 8.69
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 51.77 36.54 15.23
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 28.17 23.59 4.58
ภาคเหนือตอนล่าง 1 41.35 31.34 10.01

ภาพ 28 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ป.6

จากตารางที่ 28 และภาพ 28 พบว่า วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการส่ งเสริ ม การศึกษาเอกชน ส านักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน และสั งกัด ส านั ก
บริหารงานการศึกษาพิเศษ
37

ตารางที่ 29 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 28.17 30.87 -2.70
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 33.65 34.44 -0.79
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 25.67 23.75 1.92
ภาคเหนือตอนล่าง 1 29.31 31.61 -2.30

ภาพ 29 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

จากตารางที่ 29 และภาพ 29 พบว่า วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยลดลง
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
38

ตารางที่ 30 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 37.15 33.39 3.76
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 40.66 36.56 4.10
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 31.96 26.74 5.22
ภาคเหนือตอนล่าง 1 37.87 34.05 3.82

ภาพ 30 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์

จากตารางที่ 30 และภาพ 30 พบว่า วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
39

2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3

ตารางที่ 31 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 55.05 54.89 0.16
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 54.42 52.74 1.68
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 51.38 46.67 4.71
ภาคเหนือตอนล่าง 1 54.97 54.60 0.37

ภาพ 31 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย

จากตารางที่ 31 และภาพ 31 พบว่า วิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มจังหวัด


ภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
เพิ่มขึ้น
เมื่ อ จ าแนกเป็ น รายสั ง กั ด พบว่ า ทุ ก สั ง กั ด ที่ มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น คื อ ส านั ก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
40

ตารางที่ 32 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 33.68 31.59 2.09
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 35.31 32.34 2.97
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 27.34 27.17 0.17
ภาคเหนือตอนล่าง 1 33.39 31.62 1.77

ภาพ 32 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ

จากตารางที่ 32 และภาพ 32 พบว่า วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่ อ จ าแนกเป็ น รายสั ง กั ด พบว่ า ทุ ก สั ง กั ด ที่ มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น คื อ ส านั ก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
41

ตารางที่ 33 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 25.89 25.82 0.07
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 23.7 24.70 -1.00
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 18.21 20.41 -2.20
ภาคเหนือตอนล่าง 1 25.63 25.66 -0.03

ภาพ 33 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

จากตารางที่ 33 และภาพ 33 พบว่า วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มจังหวัด


ภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
ลดลง
เมื่ อ จ าแนกเป็ น รายสั ง กั ด พบว่ า สั ง กั ด ที่ มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น คื อ ส านั ก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
42

ตารางที่ 34 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 30.14 29.84 0.30
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 29.21 29.23 -0.02
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 28.08 27.27 0.81
ภาคเหนือตอนล่าง 1 30.03 29.75 0.28

ภาพ 34 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์

จากตารางที่ 34 และภาพ 34 พบว่า วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง
คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
43

2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6

ตารางที่ 35 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 43.60 41.29 2.31
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 41.64 38.66 2.98
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 35.13 32.43 2.70
ภาคเหนือตอนล่าง 1 43.37 41.02 2.35

ภาพ 35 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย

จากตารางที่ 35 และภาพ 35 พบว่า วิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวัด


ภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเที ยบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนนเฉลี่ย
เพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
44

ตารางที่ 36 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 35.35 35.13 0.22
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 34.23 34.12 0.11
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 32.78 31.46 1.32
ภาคเหนือตอนล่าง 1 35.25 35.02 0.23

ภาพ 36 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

จากตารางที่ 36 และภาพ 36 พบว่า วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้น


มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปี
การศึกษา 2562 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
45

ตารางที่ 37 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 27.75 27.03 0.72
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 28.55 26.89 1.66
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 21.55 21.97 -0.42
ภาคเหนือตอนล่าง 1 27.71 26.95 0.76

ภาพ 37 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ

จากตารางที่ 37 และภาพ 37 พบว่า วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่ อ จ าแนกเป็ น รายสั ง กั ด พบว่ า สั ง กั ด ที่ มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น คื อ ส านั ก งาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดที่มีค่า
คะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
46

ตารางที่ 38 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 24.83 23.94 0.89
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 23.20 22.14 1.06
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 17.59 15.72 1.87
ภาคเหนือตอนล่าง 1 24.64 23.73 0.91

ภาพ 38 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

จากตารางที่ 38 และภาพ 38 พบว่า วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มจังหวัด


ภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่ าคะแนนเฉลี่ย
เพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
47

ตารางที่ 39 แสดงเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

ปีการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น+


สังกัด
2563 2562 ลดลง-
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 32.14 28.55 3.59
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 30.90 27.50 3.40
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 27.45 24.56 2.89
ภาคเหนือตอนล่าง 1 32.00 28.44 3.56

ภาพ 39 เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์

จากตารางที่ 39 และภาพ 39 พบว่า วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม


จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2562 มีค่าคะแนน
เฉลี่ยเพิ่มขึ้น
เมื่ อจ าแนกเป็ น รายสั ง กัด พบว่า ทุ ก สั ง กัด ที่ มีค่ าคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ มขึ้ น คื อ ส านั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
48

สรุปผลการศึกษา ดังนี้
ดัชนีที่ 6 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
1. เปรียบเทียบเกณฑ์ร้อยละ 50 กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 55.40) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 58.26) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพื้นฐาน ( =
54.68) และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( =
44.05)
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 41.35) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 51.77) และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อย
ละ 50 คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 38.63) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
( = 28.17)
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 29.31) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 33.65) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 28.17) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 25.67)
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อ ยละ
50 ( = 37.87) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 40.66) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
( = 37.15) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 31.96)
1.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 54.97) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อ ยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 55.05) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 54.42) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 51.38)
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 33.39) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 35.31) รองลงมา คือ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 33.68) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 27.34)
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 25.63) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 25.89) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 23.70) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 18.21)
49

วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ


50 ( = 30.03) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 30.14) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 29.21) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 28.08)
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
( = 43.37) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 43.60) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 41.64) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 35.13)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ย
คะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 35.25) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่า
กว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 35.35) สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 34.23) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 32.78)
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 27.71) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ คือ สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ( = 28.55) รองลงมา คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ( = 27.75) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 21.55)
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 24.64) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( = 24.83) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 23.20) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 17.59)
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ
50 ( = 32.00) เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ( = 32.14) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
( = 30.90) และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ( = 27.45)
50

2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563


กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสังกัดที่มีค่า
คะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3
วิชาภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้ น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัด
ที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษา
พิเศษ
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มี ค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6
ภาษาไทย พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็น
รายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
51

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนื อตอนล่าง 1 มีค่าคะแนน


เฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนกเป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ภาษาอังกฤษ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า สังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง คือ สานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อจาแนก
เป็นรายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

อภิปรายผล
จากการศึกษาและวิเคราะห์ด้านคุณภาพการศึกษา (Quality) ขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563
กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สรุปได้ดังนี้
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563
1.1 ระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ภาษาไทยสูงกว่ าเกณฑ์ร้อยละ 50 ส่ว น
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
1.2 ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า ภาษาไทยสู ง กว่ า เกณฑ์ ร้ อ ยละ 50 ส่ ว น
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ทุกวิชาต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
2. เป รี ย บ เที ยบ ผลก าร ทดส อบ ทา งกา รศึ กษา ระ ดั บ ช าติ ขั้ น พื้ น ฐ าน ( O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562
2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและวิทยาศาสตร์มี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนคณิตศาสตร์มีแนวโน้มลดต่าลง
2.2 ระดับ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและวิทยาศาสตร์มี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนคณิตศาสตร์มีแนวโน้มลดต่าลง
2.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ทุกวิชามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
52

จากการศึกษาและวิเคราะห์ ผ ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้ นพื้นฐาน (O-NET)


ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 พบว่า คณิตศาสตร์มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า
เกณฑ์และมีแนวโน้มลดต่าในระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลายมีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ภาษาอังกฤษและวิทยาศาสตร์มีค่าคะแนน
เฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกระดับชั้น และวิชาภาษาไทยมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์และมี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน
ปลายมีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อาจเนื่องมาจาก สภาวการณ์โรคติดเชื้อโควิด 19
ระบาด สถานศึกษาปิดทาการ ทาให้นักเรียนใช้เวลาส่วนใหญ่กับการอ่านหนังสือ

ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ควรมีการศึกษาหาสาเหตุและการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น
2. ควรส่งเสริมกิจกรรมรักการอ่านและเขียนอย่างต่อเนื่อง
3. ควรจัดหาหรือผลิตสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการการศึกษาแบบบูรณาการ ในสภาวการณ์โรคติดเชื้อโควิด
19 ระบาด เพื่อส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น อานวยการ คุณภาพการศึก ษาให้ เป็น ไปตามเป้ าหมายและมาตรฐาน
การศึกษา

แหล่งอ้างอิง : สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2564. รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษา


ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
53

ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)


รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ด้ า นอาชี ว ศึ ก ษา ( V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีวัตถุประส งค์เพื่อ
ศึกษาและวิเคราะห์คุณภาพการศึกษา (Quality) ด้านอาชีวศึกษา ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษา
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมิน
คุณภาพระดับการศึกษาระดับชาติ ปีการศึกษา 2563 ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ผลการทดสอบ
ระดับ ชาติด้านอาชีว ศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสถาบันทดสอบทาง
การศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) วิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษา
ค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใช้ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ
สรุปการศึกษา ได้ดังนี้
1. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 50
2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562
3. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562)
54

1. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3


กับเกณฑ์ร้อยละ 50

ตารางที่ 40 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช.


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

จังหวัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย อันดับ


ตาก 353 37.27 3
พิษณุโลก 722 38.42 1
เพชรบูรณ์ 491 36.52 4
สุโขทัย
อุตรดิตถ์ 555 38.05 2
ภาคเหนือตอนล่าง 1 2121 37.69

ภาพ 40 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช.


กับเกณฑ์ร้อยละ 50
จากตารางที่ 40 และภาพ 40 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้
ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.69)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
จังหวัดพิษณุโลก ( = 38.42) จังหวัดอุตรดิตถ์ ( = 38.05) จังหวัดตาก ( = 37.27) และจังหวัดเพชรบูรณ์
( = 36.52)
55

2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชัน้ ปวช. ปีที่ 3


ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562

ตารางที่ 41 แสดงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ระดับ ปวช. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562

+เพิ่มขึ้น,
จังหวัด ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2562
-ลดลง
ตาก 37.27 42.17 - 4.90
พิษณุโลก 38.42 44.04 - 5.62
เพชรบูรณ์ 36.52 41.73 - 5.21
สุโขทัย
อุตรดิตถ์ 38.05 43.33 - 5.28
ภาคเหนือตอนล่าง 1 37.69 42.83 - 5.14

ภาพ 41 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562

จากตารางที่ 41 และภาพ 41 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้


ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2562 มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัดตาก จังหวัด
พิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
56

3. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3


ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562)

ตารางที่ 42 แสดงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ระดับ ปวช. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
กับ ปีการศึกษา (2560 – 2562)

+เพิ่ม,
จังหวัด 2563 3 ปีการศึกษา ย้อนหลัง
-ลดลง
ตาก 37.27 41.03 - 3.76
พิษณุโลก 38.42 42.54 - 4.12
เพชรบูรณ์ 36.52 40.43 - 3.91
สุโขทัย
อุตรดิตถ์ 38.05 41.92 - 3.87
ภาคเหนือตอนล่าง 1 37.69 41.52 - 3.83

ภาพ 42 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560-2562)

จากตารางที่ 42 และภาพ 42 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้


ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับ 3 ปีการศึกษา
ย้อนหลัง (2560-2562) มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัดตาก จัง หวัด
พิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
57

สรุปผลการศึกษา
ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
1. เปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ด้ า นอาชี ว ศึ ก ษา ( V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 50 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่า
เกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.69) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์
ร้อยละ 50 คือ จังหวัดพิษณุโลก ( = 38.42) จังหวัดอุตรดิตถ์ ( = 38.05) จังหวัดตาก ( = 37.27) และ
จังหวัดเพชรบูรณ์ ( = 36.52)
2. เปรี ยบเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ ด้า นอาชีว ศึก ษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัดตาก
จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
3. เปรี ยบเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ ด้า นอาชีว ศึก ษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562) พบว่า กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ลดลง คือ จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
อภิปรายผล
จากการศึกษาและวิเคราะห์ผ ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สรุปได้ดังนี้
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3
ปีการศึกษา 2563 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
2. ผลการเปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562 และผลการเปรียบเทียบ 3 ปี
การศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลงและต่ากว่า
เป้าหมายมาก
ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
ควรมี ก ารศึ กษาหาสาเหตุแ ละส่ งเสริม การจั ดการเรี ยนการสอนเพื่ อ ยกระดั บ ผลสั มฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ในสภาวการณ์โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อานวยการ คุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตาม
เป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา

แหล่งอ้างอิง : สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2564. รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษา


ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
58

ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)


รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ด้ า นอาชี ว ศึ ก ษา ( V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีวั ตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาและวิเคราะห์คุณภาพการศึกษา (Quality) ด้านอาชีวศึกษา ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษา
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เข้าสอบประเมิน
คุณภาพระดับการศึกษาระดับชาติ ปีการศึกษา 2563 ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ผลการทดสอบ
ระดับ ชาติด้านอาชีว ศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสถาบันทดสอบทาง
การศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) วิธีการดาเนินการ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษา
ค้นคว้าลักษณะของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใช้ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ
สรุปการศึกษา ได้ดังนี้
1. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 50
2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562
3. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น
ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562)
59

1. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3


กับเกณฑ์ร้อยละ 50

ตารางที่ 40 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช.


กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563

จังหวัด จานวนผู้เข้าสอบ ค่าคะแนนเฉลี่ย อันดับ


ตาก 353 37.27 3
พิษณุโลก 722 38.42 1
เพชรบูรณ์ 491 36.52 4
สุโขทัย
อุตรดิตถ์ 555 38.05 2
ภาคเหนือตอนล่าง 1 2121 37.69

ภาพ 40 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช.


กับเกณฑ์ร้อยละ 50
จากตารางที่ 40 และภาพ 40 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้
ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.69)
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 คือ
จังหวัดพิษณุโลก ( = 38.42) จังหวัดอุตรดิตถ์ ( = 38.05) จังหวัดตาก ( = 37.27) และจังหวัดเพชรบูรณ์
( = 36.52)
60

2. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3


ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562

ตารางที่ 41 แสดงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ระดับ ปวช. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562

+เพิ่มขึ้น,
จังหวัด ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2562
-ลดลง
ตาก 37.27 42.17 - 4.90
พิษณุโลก 38.42 44.04 - 5.62
เพชรบูรณ์ 36.52 41.73 - 5.21
สุโขทัย
อุตรดิตถ์ 38.05 43.33 - 5.28
ภาคเหนือตอนล่าง 1 37.69 42.83 - 5.14

ภาพ 41 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562

จากตารางที่ 41 และภาพ 41 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้


ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2562 มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัดตาก จังหวัด
พิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
61

3. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3


ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562)

ตารางที่ 42 แสดงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ระดับ ปวช. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2563
กับ ปีการศึกษา (2560 – 2562)

+เพิ่ม,
จังหวัด 2563 3 ปีการศึกษา ย้อนหลัง
-ลดลง
ตาก 37.27 41.03 - 3.76
พิษณุโลก 38.42 42.54 - 4.12
เพชรบูรณ์ 36.52 40.43 - 3.91
สุโขทัย
อุตรดิตถ์ 38.05 41.92 - 3.87
ภาคเหนือตอนล่าง 1 37.69 41.52 - 3.83

ภาพ 42 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560-2562)

จากตารางที่ 42 และภาพ 42 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้


ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับ 3 ปีการศึกษา
ย้อนหลัง (2560-2562) มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง
เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัด ตาก จังหวัด
พิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
62

สรุปผลการศึกษา
ดัชนีที่ 7 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
1. เปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ด้ า นอาชี ว ศึ ก ษา ( V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 50 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่า
เกณฑ์ร้อยละ 50 ( = 37.69) เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์
ร้อยละ 50 คือ จังหวัดพิษณุโลก ( = 38.42) จังหวัดอุตรดิตถ์ ( = 38.05) จังหวัดตาก ( = 37.27) และ
จังหวัดเพชรบูรณ์ ( = 36.52)
2. เปรี ยบเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ ด้า นอาชีว ศึก ษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศึกษา 2562 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มี
ค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง คือ จังหวัดตาก
จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
3. เปรี ยบเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ ด้า นอาชีว ศึก ษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562) พบว่า กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลง เมื่อจาแนกเป็นรายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน
ลดลง คือ จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุตรดิตถ์
อภิปรายผล
จากการศึกษาและวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 สรุปได้ดังนี้
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3
ปีการศึกษา 2563 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 50
2. ผลการเปรียบเทียบปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2562 และผลการเปรียบเทียบ 3 ปี
การศึกษาย้อนหลัง (2560 – 2562) พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนลดลงและต่ากว่า
เป้าหมายมาก
ข้อเสนอแนะ
การนาไปใช้ประโยชน์
ควรมี ก ารศึ กษาหาสาเหตุแ ละส่ งเสริม การจั ดการเรี ยนการสอนเพื่ อ ยกระดั บ ผลสั มฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น
การวิเคราะห์ครั้งต่อไป
การพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ในสภาวการณ์โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระบาด เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อานวยการ คุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตาม
เป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา

แหล่งอ้างอิง : สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2564. รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษา


ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่ม
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
เอกสารอ้างอิง
สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2564. รายงานการวิเคราะห์การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
และการตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ปีการศึกษา 2563
กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
. 2564. รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๑
. 2564. รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน (N-NET) ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
. 2564. รายงานการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
ระดับชั้น ปวช. ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
- สภาพทั่วไปของกลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1
- สภาพทั่วไปของสานักงานศึกษาธิการภาค 17
- สภาพการศึกษาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
- สภาวการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1
1. สถานที่ตั้ง
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 ตั้งอยู่บริเวณตอนล่างของภาคเหนือ ซึ่งประกอบด้วยจังหวัด
พิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ มีพื้นที่ทั้งหมด 54,527.05 ตาราง
กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดและประเทศใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ เขตติดต่อกับจังหวัดน่าน แพร่ ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน
ทิศใต้ เขตติดต่อกับ จังหวัดลพบุรี พิจิตร กาแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี และกาญจนบุรี
ทิศตะวันออก เขตติดต่อกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จังหวัดเลย ขอนแก่น และ
ชัยภูมิ
ทิศตะวันตก เขตติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์
2. ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่จะเป็นภูเขาทางด้านทิศเหนือทางทิศตะวันตก ตั้งแต่จังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก ด้านทิศ
ตะวันออก จะเป็นแนวเขาเช่นกันตั้งแต่อุตรดิตถ์ ถึงเพชรบูรณ์ และพื้นที่ตอนกลางของกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่เป็นที่
ราบลุ่มแม่น้า และที่ราบสูงด้านทิศตะวันออกและด้านทิศตะวันตก
3. ลักษณะภูมิอากาศ
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 จะได้รับอิทธิพลนของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้และลม
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่
ฤดูร้อน ประมาณเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย 32 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน ประมาณเดือน พฤษภาคม-ตุลาคม ปริมาณน้าฝน เฉลี่ยประมาณปีละ 1375 มิลลิเมตร
ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 19 องศาเซลเซียล
4. ประชากร
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย
และอุตรดิตถ์ ซึ่งแต่ละจังหวัดมีจานวนประชากร ดังนี้
ตารางที่ 1 จานวนประชากรจาแนกรายจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด ประชากร ลาดับ


ตาก 665,620 3
พิษณุโลก 865,247 2
เพชรบูรณ์ 992,451 1
สุโขทัย 595,072 4
อุตรดิตถ์ 453,103 5
เหนือล่าง 1 3,571,493

ที่มา สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2564. จานวนประชากรจากการทะเบียน จาแนกตามกลุ่มอายุ รายจังหวัด พ.ศ.


2562 สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2564 จาก http://statbbi.nso.go.th อ้างถึง : กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย
จานวนประชากรในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 มีประมาณ 3,571,493 คน โดยจังหวัด
เพชรบูรณ์ มีประชากรมากที่สุด (992,451 คน) รองลงมา คือจังหวัดพิษณุโลก (865,247 คน) และจังหวัดที่มี
ประชากรน้อยที่สุดคือจังหวัดอุตรดิตถ์ (453,103 คน)
สภาพทั่วไปของสานักงานศึกษาธิการภาค 17
สานักงานศึกษาธิการภาค 17 เป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
1 สถานที่ตั้ง
สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ตั้งสานักงานอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลกสถานที่ตั้ง 311 หมู่ 5 ตาบลหัวรอ
อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก รับผิดชอบดาเนินการในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 ได้แก่ เขต
ตรวจราชการที่ 17 ประกอบด้วยจังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัด
อุตรดิตถ์
2. ภารกิจ
ทาหน้าที่ ขับเคลื่อนการศึกษาในระดั บภาคและจังหวัด โดยการอานวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และ
พัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่นหรือ
ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่นั้น
3. อานาจหน้าที่
1. กาหนดยุทธศาสตร์และบทบาทการพัฒนาภาคต่างๆให้เชื่อมโยงและสอดคล้ องกับทิศทางการ
พัฒนาประเทศ ทิศทางการดาเนินงานตามข้อ 3(1) นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และ
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด รวมทั้งการพัฒนาด้านอื่นๆ ในพื้นที่รับผิดชอบตามศักยภาพและโอกาสของ
บุคคลและชุมชนในแต่ละพื้นที่
2. สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การวิจัยและพัฒนา
3. กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของส านักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้น ที่
รับผิดชอบ
4. สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์
ของกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รับผิดชอบ
5. ประสานการบริหารงานระหว่างราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้เกิดการพัฒนาอย่างบูรณา
การในระดับพื้นที่ของหลายจังหวัด โดยยึดการมีส่วนร่วมและประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก
6. ปฏิบัติร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

แผนที่พื้นที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 17
สภาพการศึกษาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีการจัดการศึกษาในระบบ โดยภาครัฐและเอกชนร่วมกันจัด
การศึกษาทั้งสายสามัญและสายอาชีพ ดังนี้
ตารางที่ 2 จานวนสถานศึกษาจาแนกรายจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จานวนสถานศึกษาจาแนกตามสังกัด (แห่ง)
สังกัด
ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ รวม

ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
1.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
 สพป.เขต 1 108 114 131 130 148 631
 สพป.เขต 2 121 127 139 175 77 639
 สพป.เขต 3 0 163 189 0 0 352
 สพม. 20 39 39 27 18 143
 การศึกษาพิเศษ 3 3 3 1 1 11
2.ส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม
การศึกษาเอกชน
22 21 72 12 10 137
3 . ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร
อาชีวศึกษา
5 8 13 6 6 38
4.ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย
9 9 11 9 10 48
รวมในกระทรวงศึกษาธิการ 288 484 597 360 270 1,999
นอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
1.กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม
1 6 4 0 2 13
2.สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 2 3 4 3 2 14
3.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 0 0 1 1 0 2
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 263 251 287 253 173 1,227
5.สานักงานตารวจแห่งชาติ 23 4 1 0 2 30
6.กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม 0 0 0 1 0 1
7.สถาบันพระบรมราชชนก 0 1 0 0 1 2
8.กรมกิจการเด็กและเยาวชน 10 7 1 3 5 26
รวมนอกกระทรวงศึกษาธิการ 299 272 298 261 185 1,315
รวมทั้งหมด 587 756 895 621 455 3,314
ที่มา สานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2563. ข้อมูลสารสนเทศ ปีการศึกษา พ.ศ. 2563 ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563.สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2564 จาก http://www.reo17.moe.go.th/
สภาพการศึ ก ษาของกลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ตอนล่ า ง 1 มี จ านวน 3,314 โรงเรี ย น โดยจั ง หวั ด
เพชรบูรณ์ (895 โรงเรียน) มีโรงเรียนมากที่สุด รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (756 โรงเรียน) และจังหวัด
อุตรดิตถ์มีสถานศึกษาน้อยที่สุด (455 โรงเรียน)
สภาวการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ขณะนี้สภาวการณ์โรคโควิด 19 มีการระบาดใหญ่ทั่วโลก ส่งผลกระทบแก่หลายประเทศทั่วโลก
รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 โดยหลักจะแพร่จากคนสู่คนผ่านทางฝอยละอองจาก
จมูกหรือปาก ซึ่งขับออกมาเมื่อผู้ป่วยไอหรือจาม การรักษา ขณะนี้ยังไม่มียาต้านไวรัสที่ ได้รับการขึ้นทะเบียน
ให้ใช้รักษาโรคโควิด 19 และมาตรการระดับบุคคล เมื่อเป็นไปได้ควรรักษาระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร จาก
ผู้อื่นเนื่องจาก ผู้ติดเชื้อบางรายอาจยังไม่แสดงอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง ดังนั้น การเว้นระยะห่างจากทุก
คนสาคัญมาก หากคุณอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 แหล่งข้อมูล (องค์กรอนามัยโลก. 2020.
ไวรัสโคโรนาคืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2563 จากเว็บไซต์ https://www.who.int ) และ (กรม
ควบคุมโรค. 2563. โรคติดเชื้อไวรัสโคโลนา 2019 (Covid -19). สืบค้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2563 จาก
เว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th )
แบบสอบถามการใช้ประโยชน์
“ดัชนีการศึกษา (Education Index) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

คาชี้แจง
สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ขอความร่วมมือจากท่านในการตอบแบบสอบถามเพื่อติดตามการใช้
ประโยชน์จากเอกสารของสานักงานฯ พร้อมทั้งเป็นข้อมูลในการจัดส่งเอกสารให้ท่านในคราวต่อไป
โปรดทาเครื่องหมาย  ลงใน 
ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไป
สถานภาพผู้ตอบ  ศึกษาธิการภาค  ศึกษาธิการจังหวัด
 ผู้อานวยการกลุ่ม  ศึกษานิเทศก์
 นักวิชาการศึกษา  อื่นๆ.........................
ตอนที่ 2 การนาไปใช้ประโยชน์ “ดัชนีการศึกษา (Education Index) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1”
1) ท่านได้รับเอกสารจากช่องทางใด  ศธภ.17 จัดส่งทางไปรษณีย์  website ศธภ.17
2) ท่านนา “ดัชนีทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรณีศึกษา กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ”
ไปใช้ประโยชน์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
 การจัดทานโยบายและแผนการศึกษา
 การพัฒนาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Quality)
 การตอบโจทย์บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Relevancy)
 การบริหารจัดการ
 อื่นๆ (โปรดระบุ)......................................................................... ...........................................................
3) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ขอขอบคุณในความร่วมมือ
โปรดส่งกลับมายัง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ทางช่องทางต่างๆ ดังนี้
311 หมู่ 5 ตาบลหัวรอ อคณะผู ้จัดอทงาจังหวัดพิษณุโลก 65000
าเภอเมื
หรือ e-mail : reo17plan@gmail.com
ที่ปรึกษา
นายชูสิน วรเดช รองศึกษาธิการภาค 7
รักษาการในตาแหน่ง ศึกษาธิการภาค 17
นายวัฒนาพงศ์ สาระทันธนสุเมธ ผู้อานวยการกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา

รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และนาเสนอรายงาน


นายพสุพิช คงพันธุ์ นักวิชาการศึกษาชานาญการ

You might also like