You are on page 1of 15

62 62

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

สติปัฏฐาน 4 : พัฒนาตนพัฒนาจิตในชีวิตประจาวัน

พระมหาพิศิษฐ์ สิริปัญโญ, ผศ.ดร.

บทคัดย่อ
การมีสติเข้าไประลึกรู้ในสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเอง โดยมีสติเป็นประธานหรือการตั้งสติ
เข้าไปพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง การมีสติกากับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไป
ทั้งหลายให้รู้เท่าทันตามสภาวะตามความเป็นจริงของสิ่งนั้นๆ ไม่ถูกครอบงาด้วยความยินดียินร้ายไปกับ
อารมณ์ทาให้มองเห็นเพียงไปตามอานาจกิเลส การเจริญสติโดยใช้หลักสติปัฏฐานนี้ เป็นเครื่องชาระใจ
ให้บริสุทธิ์ ทาให้เราทั้งหลายเข้าใจคาว่า รูปนาม และไตรลักษณ์ได้ดียิ่งขึ้น รู้จักวิธีดาเนินชีวิตที่ถูกต้อง
ไม่ลุ่มหลง ไม่มัวเมา และเป็นคนมีเมตตากรุณา ไม่เบียดเบียน หรือเอารัดเอาเปรียบกัน เป็นคนว่าง่าย
สอนง่ า ย ไม่ มี ม านะทิ ฏ ฐิ ไม่ ถื อ ตั ว มี ก ายวาจาใจที่ บ ริ สุ ท ธิ์ และสามารถควบคุ ม ตั ว เองได้ ใ นทุ ก
สถานการณ์ ทาให้เราอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข

คาสาคัญ : สติปัฏฐาน 4, การพัฒนาชีวิต

The 4 Foundations of Mindfulness and human’s daily life development

Abstract

Being conscience in order to know the things that happened to oneself by


having conscience to consider the cause and the truth was considered to be the key
of knowing the truth according to Buddhism. Moreover, having conscience in order to
know the factors of things and freeing from desires domination were considered to be
the Buddhist mindfulness according to the 4 foundations of mindfulness. It could
purify humans’ mind, and make them to realize and have the correct understanding
about the three marks of existence (or Thri Luk principles). In addition, they could
know how to live their life correctly, have generosity, lack of selfishness and ego as
well as control themselves in every situation. So, humans could live in their society
happily and peacefully.
Keywords: 4 foundations of mindfulness, human’s life development
63
63
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

บทนา

ในชีวิตประจาวันของมนุษย์ต้องอาศัยสติในการดาเนินชีวิตในกิจการต่าง ๆ นับตั้งแต่ ตื่น


นอนมาจนถึงเวลาเข้านอน ทุกคนต้องใช้สติอยู่โดยไม่รู้ว่าตนเองได้ใช้สติของตนมากน้อยเป็น อย่างไร
หรือที่ควรจะใช้มันให้เป็นไปอย่างไร อาจกล่าวได้ว่าหากขาดสติเสียแล้ว กิจกรรมต่าง ๆ ของ มนุษย์ก็จะ
ไม่สาเร็จผลไปด้วยดี การดาเนินชีวิตของมนุษย์ในยามปกติอยู่อย่างสบาย เมื่อทางานแล้ว ก็หาความสุข
และเพลิดเพลินไปกับความสุขสบายไปวัน ๆ โดยไม่ได้เตรียมรับกับความเสื่อมความ ทุกข์ที่อาจมาถึง
โดยเห็นว่ายังมีสิ่งอื่นควรทาก่อนนอน แต่เมื่อมีทุกข์มาบี บคั้นมาถึงตัวแล้วจึงดิ้นรน แก้ปัญหาซึ่งอาจจะ
แก้ไขไม่ได้หรือไม่ทันเหตุการณ์เท่าที่ควร สิ่งเหล่านี้เรียกว่า ความประมาทในการ ดาเนินชีวิต ความไม่
ประมาทในการดาเนินชีวิต คือ การมีสติประครองชีวิตให้เป็นไปด้วยความไม่ประมาทมีการไตร่ตรอง
พิจารณาสิ่งทั้งปวงตามที่เป็นอยู่จริงมีอยู่จริง เพราะสิ่งทั้งปวงแม้แต่ชีวิตตนเองก็จะเสื่อมสลายไป ชีวิต
ของตนเองไม่ยืนยาวอยู่ได้ไม่นานก็ต้องตายภายใน 100 ปีแต่อยู่ถึง 100 ปี ก็ต้องตายเพราะความแก่
ชรานั่นเอง การพัฒนาสติเป็นการพัฒนาชีวิตอย่างมีคุณค่า ที่สามารถทาได้ตลอดเวลาที่ยังมีลมหายใจ
อยู่ ด้วยการมีสติรับรู้ และเอาใจใส่อยู่กับสิ่งที่กาลังกระทาอยู่ ด้วยความผ่อยคลายเรียกว่า การอยู่กับ
ปัจจุบันขณะ การพัฒนาสติไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะทาเมื่อมีเวลาว่าง แต่เป็นสิ่งที่เป็นสาระสาคัญ (Buddhist
Psychology Journal Vol. 4 No. 1. January-June :2019) ของชีวิตโดยความผาสุข จิตสามารถ
พัฒนาได้ด้วยตัวของมันเอง โดยสิ่งแรกที่ต้องทา คือ การชาระจิต ของตนให้ขาวสะอาดไม่ใช่ทาเพียงวัน
ละ 1-2 ครั้งเท่านั้น เหมือนการชาระล้างร่างกาย แต่ต้องทาอยู่ ตลอดเวลาที่ตื่นขึ้นมา และต้องรู้ว่าจะ
ทาอย่างไร พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุ ตฺโต)ท่านได้กล่าวว่า “การพัฒนาสติต้องพัฒนาด้วยปัญญา
ตามหลักสติปัฏฐานหรือวิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช่หลักการที่จากัดว่าจะต้องปลีกตัวไปปฏิบัติอยู่นอก
สั ง คม ท่ า นจึ ง น าเอาหลั ก สติ ปั ฏ ฐานมาปฏิ บั ติ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น การปฏิ บั ติ ธ รรม คื อ การน าเอา
หลักธรรมมาปฏิบัติใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตของเรานั่นเอง” การปฏิบัติธรรมตาม
หลักธรรมชาติทาให้ได้บรรลุมรรคผลด้วยการปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน 4 (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ป
ยุตฺโต),: 15.) หรือตามแนววิปัสสนากรรมฐาน ตามที่ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ท่านได้กล่าวไว้ว่า “สมาธิ
และวิปัสสนากรรมฐานตามธรรมชาตินี้ทาให้บุคคลได้บรรลุมรรคผลกันในที่ พระพักตร์ของพระพุทธเจ้า
เป็นวิธีที่เหมาะสาหรับบุคคลที่อาศัยบนรากฐานแห่งการพิจารณาตาม ความเป็นจริงที่ว่า ไม่มีสิ่งไหนที่
น่าเข้าไปยึดมั่นเอาไว้ และไม่มีอะไรที่น่าเป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน ของเราทั้งหลายเลย” (หลวงพ่อพุทธ
ทาสภิกขุ: 30)

สติปัฏฐาน 4 กับการปฏิบัติธรรมในชีวิต
สติปฏฐาน 4 ประกอบดวยคาวา สติ ที่มีความหมายวา สติ, ความระลึกไดและคาวา ป
ฏฐาน ที่มีความหมายวา ที่ตั้ง, ฐาน มีรูปวิเคราะหวา สติยา ปฏฐาน สติ จ สา ปฏฐาน ฺจาติ สติปฏฐาน
(ม.มู.อ. (บาลี) 1/106/253: 149.) มายถึง ที่ตั้ง ของสติคือ มีสติเปนฐานเพื่อเขาไปสูอารมณทั้งหลายมี
4 ประการ คือ
64 64

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

1. กายานุป สสนา การพิจารณาเห็นกายในกาย หมายถึงการตั้งสติกาหนดพิจารณาสวน


ประกอบ ตางๆ ที่รวมกันเปนรางกาย โดยพิจารณาใหเห็นตามความเปนจริงวาเปนแตเพียงการรวมตัว
ของสวนประกอบ ตางๆ เหลานั้น ไมใชสิ่งที่เที่ยงแทยั่งยืน ไมใชตัวตน การกาหนดอิริยาบถใหญในดาน
การเคลื่อนไหวทางกายเปรียบเทียบการเดินจงกรม 6 ระยะ โดย ทานวิปสสนาจารยกาหนดแบงไวเพื่อ
สะดวกในการปฏิบัติเปนขั้น ๆ ดังนี้ (พระพุทธโฆสาจารย์: 1039)
1) ระยะ กาหนด ขวายางหนอ – ซายยางหนอ
2) ระยะ กาหนด ยกหนอ – เหยียบหนอ
3) ระยะ กาหนด ยกหนอ – ยางหนอ – เหยียบหนอ
4) ระยะ กาหนด ยกสนหนอ – ยกหนอ – ยางหนอ – เหยียบหนอ
5) ระยะ กาหนด ยกสนหนอ – ยกหนอ – ยางหนอ – ลงหนอ – ถูกหนอ
6) ระยะ กาหนด ยกสนหนอ – ยกหนอ – ยางหนอ – ลงหนอ – ถูกหนอ – กดหนอ (ธนิต
อยู่โพธิ์ : 2540)
การกาหนดอิริยาบถยอยเปนหลักปฏิบัติซึ่งเนื่องอยู กับอิริยาบถหลัก เชน การกาวไป การ
ถอยกลับ การแลดูเหลียวดู การคูการเหยียด การสวมเสื้อผ้าเครื่องแต่งตัว การรับประทานอาหาร การถ
ายอุจจาระปสสาวะ เปนตน พระพุทธองคตรัสวิธีปฏิบัติทุกๆ อิริยาบถที่เคลื่อนไหวทางรางกาย มีพุทธ
ดารัสวา “ปุน จ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อภิกฺกนฺเต ปฏิกฺกนฺเต สมฺปชานการี โหติ” (ที.ม.(บาลี) 10/376/250)
แปลวา ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุทาความรู สึกตัว ในการกาวไป การถอยกลับ (ที.ม.(ไทย)
10/376/305) ในอิริยาบถยอย ๆ อื่น ก็มีพุทธดารัสตรัสไวในลักษณะเดียวกันนี้ในอรรถกถาได กลาวอธิ
บายไววา
ภิกษุ ย อมเปนผู ทาสั มปชัญญะ (ความเปนผู รู พรอม) ในการกาวไปขางหนา และถอย
กลับมาขางหลัง ยอมเปนผูทาสัมปชัญญะ ในการแลไปขางหนา แลเหลียวไปขางซาย ขางขวา ยอมเป
นผู ทาสั มปชัญญะ ในการคู อวัย วะเขา เหยียดอวัยวะออก ยอมเปนผู ทาสั มปชัญญะ ในการทรงผ
าสังฆาฏิบาตรและจีวร ยอมเปนผูทาสัมปชัญญะ ในการกิน ดม เคี้ยว และลิ้ม ยอมเปนผูทาสัมปชัญญะ
ในการถายอุจจาระและปสสาวะยอมเปน ผูทาสัมปชัญญะในการเดิน ยืน นั่ง หลับ ตื่น พูด และความเป
นผูนิ่งอยู (ที.ม.อ. (ไทย) 14/276/212; ม.มู.อ. (ไทย) 17/135/608 - 609. 150 4)
ในอรรถกถาอธิบายสัมปชัญญะ มี 4 ประการ คือ
1) ความรู ที่เกิดจากการพิจารณาวา มีประโยชนหรือไมมีประโยชนเรียกวา สาตถ
สัมปชัญญะ
2) ความรู ที่เกิดจากการพิจารณาวา เปนสัปปายะ หรือไมเปนสัปปายะ เรียกวา สัป
ปาย สัมปชัญญะ
3) ความรู ที่เกิดขึ้นจากการพิจารณาวา อารมณนั้นถูกตองหรือไมถูกตอง เรียกวา
โคจร สัมปชัญญะ ความรู ที่เกิดขึ้นจากการพิจารณาวา รู สึกตัวชัดวาไมหลงลืมในขณะทากิจนั้นๆ
เรียกว่า อสัมโมหสัมปชัญญะ (ที.สี.อ.(บาลี) 214/166 ; อภิ.วิ.อ.(บาลี) 523/372 – 373)
65
65
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

โดยสรุปกายานุปัสนาสติปัฏฐานเป็นการพิจารณาให้เห็นว่าร่างกายนั้น คือ กายสักว่ากาย


ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา เป็นเพียงแต่ว่ากายเท่านั้น ไม่ควรเข้าไปยึดมั่นถือมั่นตัวเราตัวเขา
2. เวทนานุป สสนา การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา หมายถึงการตั้งสติกาหนดพิจารณา
เวทนา คือ ความรูสึกเปนสุขเปนทุกขหรือเฉยๆ เมื่อคราวไดเห็นรูป ไดยินเสียง ไดดมกลิ่น ไดลิ้มรส ได
ถูกตองสัมผัส และ ดวยการไดนึกถึงสิ่งตางๆ ที่เคยสัมผัสมาแลวทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก
ลิ้น กาย โดยพิจารณาใหเห็นตามความเปนจริงวา เปนแตเพียงความรูสึก ไมใชสิ่งที่เที่ยงแทยั่งยืน ไมใช
ตัวตน
พระพุทธองคตรัสการเจริญเวทนานุป สสนาไววา อิธ ภิกฺขเว ภิกขุ สุข วา เวทน เวทยมาโน
สุข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ ทุกฺข วา เวทน เวทยมาโน ทุกฺข เวทน เวทยามีติ ปชานาติ อทุกฺขมสุข วา
เวทน เวทยมาโน อทุกฺขมสุขเวทน เวทยามีติ ปชานาติ (ที.ม.(บาลี) 10/380/265) ภิกษุในพระศาสนานี้
เมื่อเสวยสุขเวทนา ยอมรูชัดวาเสวยสุขเวทนาอยู เมื่อเสวยทุกขเวทนา ยอมรูชัดวาเสวยทุกขเวทนาอยู
เมื่อเสวยอุเบกขาเวทนา ยอมรูชัดวาเสวย อุเบกขาเวทนาอยู การพิจารณาเวทนามี 3 อยางคือ (ส.สฬา.
(ไทย) 18/270/302-303)
1) สุขเวทนา คือ ความรูสึกทางกาย ไดแก ความสบายกาย ความโลง เปนตน ผูปฏิบัติตาม
กาหนดรู สุขเวทนาวา “สบายหนอ” “โลงหนอ” ตามความเปนจริงยอมรูชัดวา มีเพียงสภาวะธรรมที่
เกิดขึ้นแลวก็ดับไป ไมเที่ยง เปนทุกขไมใชตัวตน ไมมีเรา ของเรา
2) ทุกขเวทนา คือ ความรูสึกเปนทุกขทางกาย ไดแกความเจ็บ ปวด เมื่อย ชา คัน รอน เย็น
จุกเสียด เหนื่อย เปนตน ผูปฏิบัติตามกาหนดรูทุกขเวทนาวา “เจ็บหนอ” “ปวดหนอ” “เมื่อยหนอ”
“ชาหนอ”“คันหนอ” “รอนหนอ” “เย็นหนอ” “จุกหนอ” “เสียดหนอ” “เหนื่อยหนอ” ตามความเป
นจริงยอมรูชัดวา มีเพียงสภาวธรรมที่เกิดขึ้นแลวก็ดับไป ไมเที่ยง เปนทุกขไมใชตัวตน ไมมีเรา ของเรา
3) อุเบกขาเวทนา คือ ความรูสึกเปนกลาง ไมสุขไมทุกขเมื่ออุเบกขาเวทนาเกิดขึ้น ก็รู วาไม
สุขไมทุกข คือ เฉย ๆ ผูปฏิบัติตามกาหนดรู “เฉยหนอ” การพิจารณาเวทนาใหละเอียดออกอีก เปน 5
อยางคือ
(1) สุขเวทนา คือ ความรูสึกเปนสุขทางกาย
(2) ทุกขเวทนา คือ ความรูสึกเปนทุกขทางกาย
(3) โสมนัสเวทนา คือ ความรูสึกเปนสุขทางใจ
(4) โทมนัสเวทนา คือ ความรูสึกเปนทุกขทางใจ
(5) อุเบกขาเวทนา คือ ไมสุข ไมทุกขรูสึกเฉย ๆ
ในคัมภีร พระอภิธรรมอธิบาย การพิจารณาเวทนา 9 อยาง คือ เวทนาที่อิงกามคุณ (สา
มิสสุข) หมายถึง ความพอใจและไมพอใจกับกามคุณ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสเวทนานุป สส
นา สติปฏฐาน เปนการใชสติพิจารณากาหนดรูอาการที่ปรากฏทางเวทนาเมื่อปฏิบัติไปชั่วระยะหนึ่ง ถ
าเกิดเวทนา คืออาการ ปวด เจ็บ ก็ใหกาหนดดวยสติวา ขณะนี้เวทนาไดเกิดขึ้นแลว ใหใชสติพิจารณา
จุดที่เจ็บปวดนั้น กาหนดในใจวา “ปวดหนอ” หรือ “เจ็บหนอ” ตามสภาวะที่ปรากฏ การเกิดเวทนามี
วิธีกาหนดรูดังตอไปนี้
66 66

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

(1) ถามีความสุข ก็ใหกาหนด คือใชสติระลึกวา “สุขหนอ”


(2) ถาเสวยทุกขหรือไมสบาย ก็ใชสติกาหนดวา “ปวดหนอ” หรือ “ไมสบายหนอ”
(3) ถาเฉย ๆ ไมทุกขไมสุข ใหใชสติกาหนดวา “เฉยหนอ”
(4) ถาสุขเจือดวยอามิส คือ รูป เสียง กลิ่น รส การถูกตองหรือสุขในทางใจอันเนื่องด
วยกาม คุณทั้ง 5 สุขทางใดทางหนึ่งก็ใหกาหนดวา “สุขหนอ”
(5) นิรามิส วา สุข วา เมื่อเกิดความรูสึกไดรับความสุขจากการปฏิบัติธรรมอยางเดียว
ที่ไมเจือ ดวยอามิส คือกามคุณก็ใหกาหนดวา “สุขหนอ”
(6) สามิส วา ทุกฺข วา เมื่อรูรสของทุกขเวทนาอันเนื่องมาจากกามคุณ มีรูป เสียง เป
นตน ก็กาหนดวา “ไมสบายหนอ”
(7) นิรามิส วา ทุกฺข วา จิตที่รูชัดวาบัดนี้เรารูทุกขเวทนา ไมมีอามิสอันเกิดจากกิเลสที่
มีอยูใน ใจหรืออกุศลธรรมที่เกิดกับใจก็ใหกาหนดวา “ทุกขหนอ”
(8) สามิส วา อทุกฺขมทุกฺข วา เมื่อรูวาไมทุกขและไมสุขในกามคุณก็ใหกาหนดวา“เฉย
หนอ”
(9) นิรามิส วา ทุกฺขมสฺข วา เมื่อรูรส ไมสุข ไมทุกขไมอิงกามคุณก็ใหกาหนดวา“เฉย
หนอ”
การกาหนดรู เวทนานี้ ผู ปฏิบัติวิป สสนาตองมีความอดทนคอนขางมาก เพราะถามีความ
อดทนนอยคอยเปลี่ยนอิริยาบถอยูบอย ๆ จะทาใหเสียสมาธิมากถาทนไมไหวจริง ๆ ก็ควรกาหนด เวลา
ในการนั่งใหน้อยลงและคอย ๆ เพิ่มไปทีละ 10–20–30 นาทีเมื่อครบตามเวลาที่ตั้งใจไวแลวก็ใหเปลี่ยน
อิริยาบถไปเดินจงกรม เมื่อเดินจงกรมครบตามกาหนดเวลาก็กลับมานั่ง พยายามเดินนั่งสลับกันไมควร
จะเดินหรือนั่งอยางเดียว เพราะจะทาใหอิริยาบถหรืออินทรีย 5 ไมสม่าเสมอกัน ถาเปนไปไดควรเดิน
และนั่งใหเทา ๆ กันไปตั้งแตเริ่มตน การตามกาหนดรูเวทนานี้นับเนื่องในเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน จะ
วางใจอยางไรในเมื่อตองเผชิญหน้ากับทุกขเวทนา ผู ปฏิบัติตองวางใจใหเปนกลาง อยาไปอยากใหหาย
อยาไปอยากเอาชนะ อยาไปอยากรูวามันจะดับหรือไมดับอยางไร ใหทาหนาที่เพียงแคการเฝาดูอยางมี
สติเทานั้น
วิธีการกาหนดเวทนามีอยู 3 ประการ คือ
1) การกาหนดแบบเผชิญหนา คือตั้งใจกาหนดแบบไมทอถอยตายเปนตาย โดยเอา
จิตไปจดจอ อาการปวด จี้ลงไปบริเวณที่ซึ่งกาลังปวดมากที่สุด วิธีนี้ผู ปฏิบัติจะคอนขางเหน็ดเหนื่อย
เพราะตองใชพลังจิต อยางทุมเทและจดจอมากที่สุด แตก็มีประโยชนในการหยั่งเห็นทุกขลักษณะอยาง
พิเศษของเวทนาไดเร็ว
2) การกาหนดสู แบบกองโจร คือ ตั้งใจกาหนดแบบจู โจมในตอนแรก ๆ พอรู สึกวากาลัง
ความเพียรมีน อยก็ถอยออกมาเตรียมความพรอมใหม เมื่อพรอมแลวก็เขาไปกาหนดอีกครั้งหนึ่ง เชน
ขณะกาหนด ปวดอยูนั้น ความปวดกลับทวีความรุนแรงมากขึ้นจนไมสามารถทนไหว จึงหยุดกาหนดรู
อาการปวด แตเปลี่ยนไปกาหนดรู อาการพอง-ยุบ หรืออารมณอื่น ๆ แทนแตยังไมถึงขั้นที่ต องเปลี่ยน
อิริยาบถไปยืนหรือเดินใน ขณะนั้น
67
67
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

3) การกาหนดสู แบบถอยทัพหรือสังเกตการณ คือเมื่อรู สึกวาปวดหรือเจ็บมาก ก็มิไดไป


กาหนดตอกย้าลงไปอีก เพียงแตกาหนดรู ดูด วยสติปญญาอยูเฉย ๆ เชนกาหนดวา ปวดหนอ ๆๆ เจ็บ
หนอ ๆๆ เมื่อยหนอ ๆๆ ชาหนอๆๆ หรือรู หนอ ๆๆ เปนตน ไมเนนหรือย้า อุปมาเหมือนทหารที่เฝาดู
ขาศึกอยูบนที่สูง หรือหอสังเกตการณไมไดทาการสูรบกับขาศึกแตประการใด เพียงแตเฝาสังเกตการ
เคลื่อนไหวของขาศึก เทานั้น (พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ): 2549)
โดยสรุปเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานเป็นการพิจารณาให้เห็นว่า เวทนาสักว่าเวทนาไม่ใช่สัตว์
บุคคลตัวตนเราเขา เป็นเพียงแต่ว่าเวทนาเท่านั้นไม่ควรเข้ายึดมั่นถือมั่น
3. จิตตานุป สสนา การพิจารณาเห็นจิตในจิต หมายถึง การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต คือ
ความคิด ตางๆ เชน พิจารณาดู วาจิตมีราคะหรือไมมีราคะ จิตมีโทสะหรือไมมีโทสะ จิตมีโมหะหรือไมมี
โมหะ โดยพิจารณาใหเห็นตามความเปนจริงวาเปนเพียงความคิดเทานั้น ไมใชสิ่งที่เที่ยงแท
ยั่งยืน ไมใชตัวตน
พระพุทธองคตรัสไววา “จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ อาตาป สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก
อภิชฺฌา โทมนสฺ ส” มีความเพีย ร มีสั มปชัญญะ มีส ติพิจารณาเห็ นจิตในจิตอยู กาจัดอภิชฌาและ
โทมนัสในโลกเสียได (ที.ม.ฏีกา (บาลี) 2/110) ซึ่งหมายถึง สติตั้งมั่นพิจารณาเนืองๆ ซึ่งจิตคือ วิญญาณ
ขันธมี 16 ประการ ไดแก
(1) เมื่อจิตมีราคะเกิดขึ้น ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตมีราคะ
(2) เมื่อจิตปราศจากราคะ ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตปราศจากราคะ
(3) เมื่อจิตมีโทสะเกิดขึ้น ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตมีโทสะ
(4) เมือ่ จิตปราศจากโทสะ ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตปราศจากโทสะ
(5) เมื่อจิตมีโมหะเกิดขึ้น ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตมีโมหะ
(6) เมื่อจิตปราศจากโมหะ ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตปราศจากโมหะ
(7) เมื่อจิตหดหูและทอถอย ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตหดหูและทอถอย
(8) เมื่อจิตฟุงซาน ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตฟุงซาน
(9) เมื่อจิตเปนมหัคคตะ ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตเปนมหัคคตะ
(10) เมื่อจิตไมเปนมหัคคตะ ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตไมเปนมหัคคตะ
(11) เมื่อจิตมีจิตอื่นยิ่งกวา (สอุตตรจิต) ใหเอาสติตามกาหนดรูวาจิตมีจิตอื่นยิ่งวา
(12) เมื่อจิตไมมีจิตอื่นยิ่งกวา (อนุตตรจิต) ใหเอาสติตามกาหนดรู ว าจิตไมมีจิตอื่น
ยิ่งกวา
(13) เมื่อจิตสงบแลว (สมาหิตจิต) ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตสงบ
(14) เมื่อจิตไมสงบ (อสมาหิตจิต) ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตไมสงบ
(15) เมื่อจิตพนจากกิเลสแลว (วิมุตตจิต) ใหเอาสติตามกาหนดรูวา จิตพนจากกิเลส
(16) เมื่อจิตไมพนจากกิเลส (อวิมุตตจิต) ใหเอาสติตามกาหนดรู วา จิตไมพนจากกิเลส
(ที.ม. (ไทย) 10/381/314 -315. 153) จิตตานุปสสนาสติป ฏฐาน คือ วิธีพิจารณาการใชสติกาหนดรู
อาการที่ปรากฏทางจิต ถาความคิด เกิดขึ้นในขณะที่กาลังเดินจงกรมหรือนั่งสมาธิความคิดนั้นจะเปนไป
68 68

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

ในทางที่ดีหรือไมดีก็ใหกาหนดสติวา คิดหนอๆ ๆ การที่ความคิดเกิดขึ้นก็เพราะจิตจะนึกถึงความบกพร


องของตนเองจึงคิดลักษณะเชนนี้ควรเตือนจิต ของตนวา สิ่งที่ล่วงมาแลวอยาไดเก็บเอามาคิด สิ่งที่ยังมา
ไมถึงก็อยาคิด ขอใหใชสติกาหนดอยูกับปจจุบันใหดีที่สุด โดยพิจารณาเห็นในจิตเนืองๆ ดังนี้
การปฏิบัติในขอนี้ก็เพื่อจะกาจัดซึ่งความเห็นวาเปนของเที่ยง หรือบรรเทาเสียซึ่งความเที่ยง
ที่จะเข้าไปยึดไปถือความเที่ยงนั้น ไมวาจะเปนความเปลี่ยนแปลงอันใดที่เกิดขึ้นในชีวิต ผู ปฏิบัติจะได
มองความเปลี่ยนแปลงนั้น โดยไมรู สึกเสียใจอะไร จะอยางไรก็ได เพราะพิจารณาแลววาในชีวิตของ
คนเรายอมมีความเปลี่ยนแปลง แลวก็มองดูด วยสติว ามันเปนอยางนี้เอง การกาหนดตนจิต เปนการ
กาหนดรูนามที่เปนใหญในกองสังขาร ซึ่งทาหนาที่สั่งการควบคุมพฤติกรรมทั้งหมดของรูป เพื่อใหโยคี
บุคคลรูเทาทันจิตที่ตองการเปลี่ยนจากอิริยาบถหนึ่งไปสู อีกอิริยาบถหนึ่ง ใจจะนอมวาตองการขึ้นมาก
อน เชน จิตอยากจะคู ก็กาหนดวา “อยากจะคูหนอๆๆ” จิตอยากจะเดินก็กาหนดวา “อยากจะเดิน
หนอๆ ๆ” เปนตน ใหกาหนด 3 ครั้งเพื่อใหเกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถากาหนดครั้งหรือสองครั้งก็นอย
ไป หากกาหนดเกิน 3 ครั้งก็มากเกินไปทาใหเสียเวลา
คาวา “อยาก” ในที่นี้มิไดสื่อความหมายที่เปนตัณหาแตเปนความตองการที่ประกอบดวย
กุศลเป็นความพอใจที่จะบาเพ็ญภาวนากุศลในการปฏิบัติธรรม แตอยางไรก็ตามผูปฏิบัติจะเริ่มฝกการ
กาหนดตนจิตเมื่อสมาธิเริ่มแกกลาเห็นรูป–นามเริ่มปรากฏชัด กลาวคือสามารถแยกรูปแยกนามไดวา
รูปก็อยางหนึ่ง นามก็อยางหนึ่ง เมื่อโยคีมีจิตที่ว องไวจึงสามารถกาหนดตนจิตไดการตามกาหนดรู จิต ที่
คิดนอมไปหาหรือรับอารมณในที่ไกลหรือใกลนักปฏิบัติควรเอาใจใสเปนพิเศษ เพราะการกาหนดรู จิต
นั้นเปนของละเอียดออนมาก ถากาหนดไมถูกวิธี บางครั้งทาใหสับสนและฟุ งซานมากขึ้น ประกอบกับ
อาจเปนสาเหตุที่ทาใหเกิดความเครียด และอาการมึนตึง ของศีรษะไดดวย อันเปนปญหาและอุปสรรค
ของนักปฏิบัติบางทาน ที่ขาดความเขาใจในเรื่องการปฏิบัติดวยวิธีกาหนดรูแบบนี้อยางถูกตอง กอนการ
กาหนดนั กปฏิบัติต องวางใจใหเปนปกติเสมือนหนึ่งไมมีอะไรเกิดขึ้นมากอน เพราะเมื่อไมมีสภาวะ
ลักษณะอยางนี้ใจเราก็เปนปกติไมมีชอบหรือชัง แตพอสภาวะนี้เข้ามาทาใหใจเราเสียความเปนปกติไป
ฉะนั้น การกาหนดตองดูดวยสติปญญาใหรูตามความจริงที่เกิดขึ้น ไมตองไปคิดปรุงแตงหรือ
ใสข้อมูลอื่นใดเขาไปอีก ขอใหกาหนดรูอยางเดียว มันเกิดอะไรคิดอะไรก็ใหกาหนดรูไปตามนั้น เพราะ
เรามีหนาที่กาหนดรู ตามความเปนจริงที่เกิดขึ้น เพื่อใหเขาถึงความจริง หรือรู เทาทันความเปนจริงที่
เกิดขึ้น จนสามารถถอนอุปปาทานความยึดมั่นถือมั่นลงไดเราไมมีหนาที่คิดแตจิตมีหนาที่คิด เรามีหนาที่
กาหนดรูก็ใหดูไปตามนั้นอยาไปสรางสิ่งใหมใหเปนปญหาแกตัวเอง
โดยสรุปจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็นการพิจารณาให้เห็นว่าจิตสักว่าจิตไม่ใช่เขา หรือเรา
เป็นเพียงแต่ว่าจิตเท่านั้น ไม่ควรเข้ายึดมั่นถือมั่นให้ตั้งมั่นอยู่ในปัจจุบันธรรม คือ เมื่อเห็นก็หยุดอยู่เพียง
นี้ คือ เพียงสักแต่ว่าเป็นไม่ให้พิจารณาต่อไปว่า สวยหรือไม่สวยดีหรือไม่ดี จิตจึงมีความแน่วแน่ไม่
หวั่นไหวซึ่งจะทาให้จิตมีสมาธิเข้มแข็งขึ้น การที่มีจิตแน่วแน่เช่นนี้เรียกว่า ได้ถึงซึ่งจิตตวิสุทธิ คือ จิต
หมดจดโดยลาดับ
4. ธัมมานุปสสนา การพิจารณาเห็นธรรมในธรรม หมายถึงการตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม
คือ นิวรณ 5 ขันธ 5 อายตนะ 12 โพชฌงค 7 อริยสัจ 4 โดยพิจารณาใหเห็นวา คืออะไร เปนอยางไร
69
69
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

มีอยูในตนหรือไม เกิดขึ้นเจริญบริบูรณและดับไปไดอยางไร พิจารณาตามความเปนจริงของธรรมแต


ละอยาง (ม.ม. (ไทย) 13/247/291)
สติตั้งมั่นพิจารณาเนืองๆ ซึ่งธรรม 5 หมวด คือนิวรณ 5 ขันธ 5 อายตนะ 12 โพชฌงค 7
อริยสัจจ พระพุทธองคตรัสไววา “ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อาตาป สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก
อภิชฺฌา โทมนสฺส” มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู กาจัดอภิชฌา และ
โทมนัสในโลก เสียได้ (ที.ม.ฎีกา (ไทย) 2/110)
1) นิวรณ์ 5
นิ ว รณธรรม ธรรมเปนเครื่ อ งกั้ น หรื อ หามไมใหบรรลุ กุ ศ ลธรรม มี ฌ าน เปนตน ซึ่ ง มี
สภาวธรรมดังนี้
(1) กามฉันทนิวรณ คือ ธรรมเปนเครื่องกั้นไมใหบรรลุกุศลธรรม ไดแกความพอใจใน
กามคุณอารมณ
(2) พยาปาทนิ ว รณ คื อ ธรรมเปนเครื่อ งกั้น ไมใหบรรลุ กุ ศ ลธรรม ไดแก การผู ก
พยาบาทจองล้างจองผลาญผูอื่น
(3) ถีนมิทธนิวรณ คือ ธรรมเปนเครื่องกั้นไมใหบรรลุกุศลธรรม มีอาการหดหู และท
อถอยต่ออารมณ งวงเหงา หาวนอน)
(4) อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ คือ ธรรมเปนเครื่องกั้นไมใหบรรลุกุศลธรรม ไดแก ความฟุ
งซานและราคาญในอารมณ ใจตั้งอยูไมได
(5) วิจิกิจฉานิวรณ คือ ธรรมเปนเครื่องกั้นไมใหบรรลุกุศลธรรม ไดแก ความสงสัย
ลังเลใจในสิ่งที่ควรเชื่อ (มีพระรัตนตรัยเปนตน) (อภิ.วิ. (ไทย) 35/941/595)
วิธีการกาหนดนิวรณ 5 ประการ คือ
1) วิธีกาหนดกามฉันทะ ความทะยานอยากในกาม มีก็รู ชัด ไมมีก็รูชัด จะเกิดหรือละดวย
เหตุใดก็รคู วามยินดีพอใจในกาม ชอบใจ รูปสวย เสียงเพราะ กลิ่นหอม รสอรอย สัมผัสนุม เปนตน ให
กาหนด เห็นหนอชอบหนอ จิตยอมถูกกามฉันทะครอบงา เหมือนสีที่ผสมอยูในน้า
2) พยาบาท ความอาฆาต พยาบาทจองเวร คิดราย ถามีก็รูชัด ไมมีก็รูชัด เกิด ละ ดวยเหตุ
ใดก็รูไมเกิดก็รูชัด โกรธหนอ เคืองหนอ พยาบาทเหมือนน้าตมที่เดือดพลาน
3). ถีนะมิทธะ ความโงกงวง หดหู งวงซึม มีอยูก็รูชัด ไมมีก็รูชัด เกิดขึ้นหรือละดวยเหตุใดก็
รูไมเกิดก็รูกาหนดงวงหนอๆ เหมือนน้าที่มีจอกแหนปกคลุมอยู
4). อุทธัจจะกุกกุจจะ ความฟุงซาน รอนใจ มีอยูก็รูชัด ไมมีก็รูชัด เกิดขึ้นหรือละดวยเหตุใด
ก็รไู มเกิดก็รูกาหนดวาคิดหนอๆ เหมือนน้าที่ลมพัดเปนละลอกคลื่น
5). วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัยไมตกลงใจ มีอยูก็รูชัด ไมมีก็รูชัด เกิดขึ้นหรือละดวย เหตุใดก็รู
ไมเกิดก็รู กาหนดวาสงสั ย หนอๆ เหมื อนน้ าในที่ มืดผสมดวยโคลนตม (พระโสภณมหาเถระ (มหา
สีสยาดอ: 2549)
ทุกๆ อารมณของนิวรณ 5 ที่เกิดขึ้นหรือไมก็รู ชัดจะกาหนดชอบหนอๆ โกรธหนอๆ งวง
หนอๆ คิดหนอๆ หรือ สงสัยหนอๆ กาหนดรูใหตอเนื่องนิวรณตางๆ จะไมสามารถกางกั้นจิตสมาธิไดใน
70 70

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

วิป สสนา แต่จะเปนสภาวธรรมที่เปนกุศลฝายดีบริสุทธิ์ผ องใสแกจิตเกิดขึ้น เมื่อเอาสติเขาไปกาหนด


นิวรณอยางใดอยางหนึ่งแลว ก็ควรละทิ้งนิวรณนั้นเสีย แลวเอาสติกลับมากาหนด พองหนอ ยุบหนอ ต
อไป การปฏิบัติในขอนี้ก็เพื่อจะกาจัดเสียซึ่งความมีตัวตน เรา เขา สัตวบุคคล ความจริงแลวมีแตรูป
มีแตนามเทานั้น
2) อุปาทานขันธ 5
คาวา “ขันธ” แปลวา กอง, หมวด, หมู, ประชุม, กลุม มี 5 อยาง ซึ่งเปนอารมณของ
อุปาทานฉะนั้น จึงเรียกวา อุปาทานขันธ 5 คือ
(1) รูปขันธไดแก รูป 28
(2) เวทนาขันธไดแก เวทนาเจตสิก 1 ดวง
(3) สัญญาขันธไดแกสัญญาเจตสิก 1 ดวง
(4) สังขารขันธไดแก เจตสิกที่เหลือ 50 ดวง
(5) วิญญาณขันธไดแกจิต 89 หรือ 121 ดวง
วิธีกาหนดรูในขันธ 5 มีรายละเอียดดังตอไปนี้
1) รูปขันธกองรูป คือรูปรางของมนุษยและสัตวมี 28 แบงเปนรูปที่เปนใหญ 4 ให
กาหนดเห็นหนอ ๆ (มหาภูตรูป) และรูปที่อาศัยมหาภูตรูปเกิด 24 (อุปาทายรูป) ความเกิด ความดับแห
งรูป ขณะเห็นรูป
2) เวทนาขันธกองเวทนา คือความรู สึกเปนสุข หรือเปนทุกขหรือรูสึกเฉยๆ ความเกิดและ
ดับแห่งเวทนาปรากฏขณะเห็นรูปรูสึกดีใจ เสียใจ กาหนดดีใจหนอๆ เสียใจหนอๆ
3) สัญญาขันธกองสัญญา คือความจาไดหมายรูความเกิด ความดับของสัญญายอมปรากฏ
ขณะรูสิ่งที่เห็น กาหนดรูหนอ
4) สังขารขันธกองสังขาร คือความปรุงแตงจิต เปนสภาพที่เกิดกับใจ ปรุงแตงใจใหดีบ า
งชั่วบางหรือไมดีไมชั่ว ความเกิดแหงสังขาร ความดับของสังขาร ปรากฏขณะสัมผัส ผัสสะขณะกระทบ
รูป
5) วิญญาณขันธกองวิญญาณ ไดแกธรรมชาติที่รู อารมณหรือรับอารมณอยูเสมอความเกิด
และ ดับแหงวิญญาณปรากฏในขณะที่รู เห็น เจตนาปรากฏ ตั้งใจ พอใจ กาหนดรู ว า รู หนอๆ (พระ
พรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต): 2551)
3) อายตนะมี12
อายตนะ คือที่ต อ ที่เชื่อมรูปนาม ไดแกอายตนะ 12 วาดวยการตั้งสติกาหนดพิจารณา
อายตนะภายใน 6 อายตนะภายนอก 6 คือ
1) จักขวายตนะ 1) รูปายตนะ
2) โสตายตนะ 2) สัททายตนะ
3) ฆานายตนะ 3) คันธายตนะ
4) ชิวหายตนะ 4) รสายตนะ
5) กายายตนะ 5) โผฏฐัพพายตนะ
71
71
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

6) มนายตนะ 6) ธัมมายตนะ
อายตนะ 12 วาดวยการตั้งสติกาหนดพิจารณาอายตนะภายใน 6 คือ ตา หูจมูก ลิ้น กายใจ
และอายตนะภายนอก 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณสักแตวาอายตนะเปนที่ตอของ
ชีวิต (คือ ระหวางรูปกับรูป หรือระหวางรูปกับนาม ใหติดตอกันเกิดความรูทางใจขึ้นได และเปนที่ไหล
มาของบุญและบาป ไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา เปนเพียงปรมัตถธรรม คือ ขันธ อายตนะ ธาตุ
สัจจะ เทานั้น (ที.ปา. (ไทย) 11/304-305/255) โดยมีวิธีการกาหนดรูตามนี้
1) รูชัดตา รูชัดรูป เครื่องรอยรัดทั้งหลาย อาศัยตาและรูปเกิดขึ้น รู ชัดสังโยชนนั้น การเกิด
การละดับไมมี รูชัดดวยเหตุนั้น ขณะเห็นรูปกาหนดวา เห็นหนอ ๆๆ
2) รูชัดหู รูชัดเสียง เครื่องรอยรัด (สังโยชน อาศัยหูและเสียงเกิดขึ้น รู ชัดสังโยชนนั้นการ
เกิด การละ ดับไมมี รูชัดดวยเหตุนั้น ขณะไดยินกาหนดรูวา ไดยินหนอ ๆๆ
3) รูชัดจมูก รูชัดกลิ่น เครื่องรอยรัด (สังโยชน อาศัยจมูกและกลิ่นเกิดขึ้น รู ชัดสังโยชนนั้น
การเกิด การละ ดับไมมี รูชัดดวยเหตุนั้น ขณะรูกลิ่นกาหนดรูวา รูหนอ ๆๆ
4) รูชัดลิ้น รูชัดรส เครื่องรอยรัด (สังโยชน อาศัยลิ้นและรสเกิดขึ้น รูชัดสังโยชนนั้นการเกิด
การละ ดับไมมี รูชัดดวยเหตุนั้นขณะที่ลิ้มรส กาหนดวา รูหนอ ๆๆ
5) รูชัดกาย รูชัดสัมผัส เครื่องรอยรัด (สังโยชน อาศัยกายและสัมผัสเกิดขึ้น การเกิด การ
ละ ดับไมมี ก็รชู ัดเหตุนั้น ขณะรูสัมผัสกาหนดรูวา ถูกหนอ ๆๆ
6) รูชัดใจ รู ชัดธรรมารมณ เครื่องรอยรัด (สังโยชน อาศัยใจและธรรมารมณเกิดขึ้น การ
เกิด การละ ดับไมมี ก็รูชัดเหตุนั้น ขณะนึกคิด กาหนดรูวาคิดหนอ ๆๆ
โดยสรุปธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานเป็นการพิจารณาให้เห็นว่า ธรรมสักว่าธรรมไม่ใช่สัตว์
บุคคลตัวตนเราเขา เป็นเพียงแต่ว่าธรรมเท่านั้น ไม่ควรเข้าไปยึดมั่นถือมั่น
สติปฏฐาน 4 นี้ เปนการใชสติเปนฐานเขาไปสูอารมณทั้งหลาย โดยกาหนดอาการวาไมงาม
ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา และดวยการทากิจใหสาเร็จในการละความสาคัญวางาม วาเที่ยง วาเป
นสุข วามีอัตตาใน กาย เวทนา จิต และธรรม เปนการตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายใหรูเห็นตาม
ความเปนจริง โดยอิงอาศัย กาย เวทนา จิต และธรรม เปนฐานรองรับ เมื่อผูฝกตนปฏิบัติดีแลวจะสงผล
ใหถึงความบริสุทธิ์ทาใหหลุดพน จากความเศราโศกเสียใจ ความพิไรราพัน สามารถดับความทุกข
โทมนัสลงได ใหบรรลุนิพพานได ดังพระพุทธพจนที่ทรงยกยองสติป ฏฐาน 4 วาเปนทางสายเอกเพื่อ
บรรลุนิพพานวา “ภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางเดียว เพื่อความหมดจดของสัตวทั้งหลาย เพื่อกาวลวงโส
กะ (ความเศราโศก) และปริเทวะ (พิไรราพัน) เพื่อดับทุกข และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม (ธรรมที่
ถูกตอง) เพื่อทานิพพานใหแจงคือ สติปฏฐาน 4
สิ่งที่ลวงมาแลวอยาไดเก็บเอามาคิด สิ่งที่ยังมาไมถึงก็อยาคิด ขอใหใชสติกาหนดอยูกับปจจุ
บันใหดี ที่สุด โดยพิจารณาเห็นในจิตเนือง ๆ ดังนี้
จากที่ไดกลาวมาขางตน สรุปไดวา สติปฏฐาน 4 หมายถึงที่ตั้งแหงสติ คือมีสติเปนฐานเพื่อ
เขาไปสู อารมณทั้งหลายโดยการกาหนดอาการทั้ง 4 ประการคือ กายานุป สสนาอยาง 1 การพิจารณา
เห็นกายในกาย เวทนานุปสสนาอยาง 1 การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา จิตตานุป สสนาอยาง 1 การ
72 72

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

พิจารณาเห็นจิตในจิต ธัมมานุป สสนาอยาง 1 การพิจารณาเห็นธรรมในธรรม เปนการใชสติเปนฐานเข


าไปกาหนดอาการทั้ง 4 คือ กาย เวทนา จิต ธรรม วาไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เปนการตั้งสติ
กาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายใหรูเห็นตาม ความเปนจริง
ขอพิจารณา สติปฏฐาน 4
สติปฏฐาน 4 เปนหมวดธรรมที่แสดงวิธีการปฏิบัติที่สมบูรณทุกขั้นตอนเริ่มตั้งแตตื่นนอนจน
เข้านอน ผูปฏิบัติที่ตองการปฏิบัติอยางจริงจังและตองการผลอยางรวดเร็วตองปฏิบัติดวยสติปฏฐาน 4
นี้
บุรพาจารยไดวางแบบสาหรับการเจริญสติป ฏฐาน 4 ไวครบบริบูรณตั้งแตตื่นนอนจนเข
านอน การครองผาเปนการเจริญสติตั้งแตตื่นนอน คือ เมื่อตื่นนอนตอนเชาจะตองครองผา เริ่มดวยการ
นุงสบงตองกาหนดสติอยู กับการนุง มีบทภาวนาสาหรับกากับสติว า “อา ปา มะ จุ ปะ” เวลาจะคาด
ประคดรัดเอว ตองกาหนดสติอยู กับการขาดประคดมีบทภาวนาวา “อิม กายพนฺธน อธิฎ ฐามิ” เวลา
จะหมจีวรตองมีสติกับการหมจีวร มีบท ภาวนาวา “ที ม ส องฺ ขุ” เวลาจะพาดสังฆาฏิตองกาหนดสติมี
บทภาวนาวา “ส วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ” เวลาจะ รัดอกตองกาหนดสติมีบทภาวนาวา “อิม องฺคพนฺธน
อธิฏฐามิ” กอนออกบิณฑบาตรตอนเชา จะหยิบบาตรมี บทภาวนาวา “อิม ปตฺต อธิฏ ฐามิ” ถึงตอน
ฉันขาวก็ตองพิจารณาอาหารกอนฉันดวยบท ตังขณิกปจจเวกขณวิธี โดยพิจารณาวา เราบริโภคอาหาร
มิใชเพื่อความอิ่มหมีพลีมัน เพื่อกาลังกายอันมากมาย เพื่อความเอร็ดอร่อย สนุกสนาน มัวเมาโออวดกัน
หรือเพื่อสงเสริมราคะ เราบริโภคอาหารเพียงเพื่อยังอัตภาพใหเปนไปเพื่อประพฤติพรหมจรรยเทานั้น
เมื่อฉันเสร็จแลวก็หาที่อันสงบวิเวกเจริญอานาปานสติ
ทั้งหมดนั้นลวนเปนอุบายวิธีในการสอนใหภิกษุไดเจริญสติทั้งสิ้น แตก็มีภิกษุหลายรูปที่ทา
ไปโดยไมเขาใจความหมาย คงทาตามตามกันมาโดยไมรูครูอาจารยสอนใหทาก็ทาไปอยางนั้นเมื่อเห็น
เขาทาก็ทาตามไปจึงไมสมประโยชนที่ทานแนะนาไว
การเจริญสติปฏฐาน 4 เปนทั้งสมถะและวิปสสนา คือทาใหจิตสงบจนเกิดสมาธิขั้นไดฌาน
และในโอกาสเดียวกันก็เปนการพิจารณาการเกิดดับของรูป นาม ไปตามสภาวธรรมจนเขาใจวา เกิด ดับ
อยางไรดวยเหตุปจจัยอะไร ทาใหเกิดปญญา เขาใจในสภาวธรรม จนเกิดวิป สสนาญาณ จนเกิดความ
เบื่อหนาย คลายกาหนัดถึงขั้นสามารถดับทุกขโทมนัส ปริเทวะ อุปายาสไดในที่สุด
สติปฏฐาน 4 เปนที่ยอมรับกันวาเปนหมวดธรรมที่กลาวถึงการปฎิบัติไวอยางครบถวน สม
บูรณที่สุด การปฎิบัติตามแนวของสติปฏฐาน 4 เปนทางสายเอก ที่ทาใหผูปฏิบัติสามารถบรรลุธรรมได
อยางรวดเร็วตรง สูพระนิพพานอยางแนนอน เปรียบกับการเดินทางไปสู ที่หนึ่งที่ใดอาจมีไปหลายทาง
และเสนทางที่จะไปก็มีความยากงายแตกตางกัน แตยอมมีทางเดียวที่ไปไดสะดวกปลอดภัย และไปได
อยางรวดเร็ว ซึ่งทางนั้นจะเรียกว่า ทางเอก เหมือนกับการบรรลุธรรมอาจปฏิบัติไดหลายวิธีมีความยากง
ายแตกตางกัน แตทางที่สะดวก 158 รวดเร็วเปนที่ยอมรับกันทั่วไป แมพระผูมีพระภาคเจาก็สงรับรองว
าทางนี้เปนที่เอก ดังปรากฏในบทสรุปในมหา สติปฏฐานสูตรวา (ที.มหา.(บาลี) 10/405/268-269)
“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เปนที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหลาสัตวเพื่อลวงความโศกและ
73
73
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

ปริเทวะ เพื่อความดับสูญแหงทุกขโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกตอง เพื่อทาใหแจงซึ่งพระนิพาน หนทาง


นี้คือ สติปฏฐาน 4 ประการ”

การเข้าไปรับรู้ตามความจริงของธรรมชาติต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของผู้เจริญสติปัฏฐาน 4
พระพุทธศาสนามีทรรศนะในการมองโลกเป็นธรรมชาติที่เชื่อว่าทั้งจิตและวัตถุเป็นจริ ง
เท่าๆ กันมนุษย์มีประสบการณ์และกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของปรากฏการณ์ที่มีความสัมพันธ์ กัน
ระหว่างจิตกับวัตถุและมีลักษณะพิเศษที่ทาให้มนุษย์ต่างจากสิ่งมีชีวิตอื่นคือ มีปัญญา ทั้งนี้เพราะ พระ
พุทธองค์เมื่อทรงสอนเรื่องความจริงว่า ความจริงมีอยู่ 2 ระดับคือ ความจริงระดับสมมติเรียกว่า สมมติ
สัจจะ (Conventional Truth)ได้แก่ สิ่งที่เป็นจริงเพราะมีบัญญัติเองชาวโลกรับรู้ร่วมกันเช่น คนพ่อแม่
ลูกสุนักต้นไม้ภูเขาแม่น้า เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเกิดจาการรวมตัวของขันธ์ 5 ซึ่งเป็นการ รวมตัวของ
วัตถุและจิตเข้าด้วยกัน สิ่งที่ปรากฏเป็นโลกและสิ่งต่างๆ ล้วนเป็นปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์ กันระหว่างจิต
กับวัตถุและชาวโลก (พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตโต): 2553) หรือกล่าวอีกนัย หนึ่ง ความจริง
ในระดับนี้เป็นสิ่งที่มีอยู่แบบธรรมชาตินิยมรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสมีการเปลี่ยนแปลงได้ ส่วนอีกระดับ
หนึ่งเป็นระดับพ้นวิสัยโลกเรียกว่า ปรมัตถสัจจะ (Ultimate Truth) เป็นความจริงในระดับสูงสุดนั่น คือ
พระนิพพาน พระนิพพานนั้น ได้แก่ ภาวะที่ความทุกข์ดับ ถือเป็น คุณค่าสูงสุดในชีวิตนิพพานเป็น
เป้าหมายของชีวิต ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่มุ่งไปสู่พระนิพพานนั้น ส่วนชีวิต ที่ไม่ดี คือ ชีวิตที่เดินสวนทางกับ
พระนิพพานดังนั้น พระนิพพานจึงเป็นหลักในการตัดสินความดี ความชั่ว การทาความดีคือ การดาเนิน
ไปตามหนทางสู่พระนิพพานนั่นเอง
พุทธศาสนาเถรวาทมีความเห็นว่า สภาพความเป็นจริง และความสุขของมนุษย์นั้นมีหลาย
ชนิดแต่อย่างนั้นก็สามารถสรุปได้ 3 ระดับดังนี้คือ
1) กามสุข ได้แก่ สุขอันเนื่องด้วยกาม เป็นความสุขทางผัสสะที่ต้องอ้างอิงวัตถุเช่น ความสุข
จากการกิ น ดื่ ม เที่ ย ว หรื อ ระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น ไปเป็ น ระดั บ จิ ต ใจคื อ ความสุ ข จากการมี ต าแหน่ ง
ยศถาบรรดาศักดิ์ มีทรัพย์สมบัติมีบริวารพรั่งพร้อมไปด้วยความสุข แต่ถึงอย่ างไรความสุขเช่นนี้ถือว่า
เป็นความสุขที่เนื่องด้วยกาม เป็นของชาวโลกโดยทั่วไปดังที่ (พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตฺโต) ได้จัดความสุข
ขั้นนี้อยู่ในความสุขระดับศีล
2) ฌานสุข ได้แก่ ความสุขเนื่องด้วยฌาน หรือสมาธิเป็นความสุขด้านจิตใจที่ไม่อ้างอิง
อาศัยวัตถุแต่เป็นความสุขที่เกิดจากความสงบทางจิตที่เกิดจากสมาธิซึ่ งยังต้องอาศัยธรรมารมณ์เป็น
อาหารหล่อเลี้ยงอยู่ความสุขระดับฌานนี้เป็นความสุขที่สามารถทาให้เกิดทาให้มีโดยการบาเพ็ญ เพียร
ทางจิต แต่ก็สามารถเสื่อมได้เช่นกันฌานสุขนี้จัดอยู่ในความสุขระดับสมาธิ
3) นิพพานสุข ได้แก่ ความสุขเนื่องด้วยนิพพาน หมายถึง การดับตัณหาดั บทุกข์ได้เป็น
ความสุขที่อยู่ในขั้นที่จิตเป็นอิสรภาพ หรือขั้นวิมุตติซึ่งมีปัญญาเห็นแจ้งจริงในสิ่งทั้งหลายโดยไม่เข้าไป
ยึดติด หรือถูกครอบงาโดยความแปรปรวนของโลกและชีวิต ความสุขขั้นนิพพานสุขนี้จัดอยู่ในความสุข
ระดับปัญญา ในความสุขทั้ง 3 ระดับนั้น แม้พุทธศาสนาจะยอมรับว่า กามสุขเป็นความสุขระดับหยาบๆ
อยู่ แต่ไม่ได้ปฏิเสธความสุขระดับนี้ เพียงแต่เสนอแนะว่ามีความสุขที่ดีกว่าประเสริฐกว่ากามสุข มนุษย์
74 74

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

ไม่ความยึดติดอยู่กับความสุขระดับใดระดับหนึ่ง แต่สมควรจะพัฒนาตนเองเพื่อที่จะก้าวไปสู่ความสุขที่
ดีกว่า จนถึงความสุขขั้นวิมุตติ คือ ในขั้นนิพพานซึ่งถือว่าเป็นจุดหมาย ปลายทางของความสุขที่พุทธ
ศาสนาเสนอไว้ให้ทุกคนได้ปฏิบัติธรรมโดยการปฏิบัติตามหลักสติปัฏ ฐาน 4 นั่นเอง

การเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติตามหลักสติปัฏฐาน 4
การเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้วิธีการพัฒนาตนตามหลักสติปัฏฐาน 4 นั้น ในการดาเนินชีวิต
ของมนุษย์ทั่วไป ซึ่งยังต้องเกี่ยวข้องกับโลกที่ยังต้องหลงใหลอยู่ในกามคุณทั้งความน่าพอใจและไม่น่า
พอใจ จึงเป็นเรื่องยากอย่างยิ่งที่ระมัดระวังทวารทั้ง 6 ดังนั้นการฝึกฝนตนเองยังต้องดาเนินไปอย่าง
ต่อเนื่อง กระบวนการฝึกตนเพื่อการพัฒนาปัญญาที่มุ่งหวังเพื่อการขัดเกลากิเลสจึงต้องอาศัยวิธีการที่
เป็นรูปแบบเพื่อให้ปัญญาได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องซึ่งเรียกการฝึกตนในส่วนนี้ว่า ภาคปฏิบัติหรือ
การภาวนา ได้แก่ สติปัฏฐาน 4 การฝึกเจริญสติโดยใช้หลักการเจริญสติปัฏฐาน “ภิกษุ ทั้งหลาย ทางนี้
เป็นทางสายเอกอย่างเดียว เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อก้าวล่วงโสกะ และปริเทวะ เพื่อดับทุกข์
และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อทาให้แจ้งซึ่งพระนิพพานทางนี้คือ สติปัฏฐานมีอยู่ 4 ประการ
((ม.มู. (ไทย) 12/106/101)
การเจริญสติปัฏฐานเป็นวิธีการเฉพาะในพระพุทธศาสนาและเป็นทางเดียวที่จะก้าวสู่ปัญญา
ขั้นสูงสุดได้ เพราะการฝึกนี้ต้องใช้ทั้งความเพียรต้องมีทั้งสติและสัมปชัญญะ แม้จะต้องใช้เวลา ถึง 7 ปี
7 เดือน หรือ 7 วัน ก็สามารถบรรลุอรหัตผลหรืออนาคามิผลได้ เพราะทางนี้ต้องไปคนเดียว เท่านั้น
การฝึกเพื่อพัฒนาตนนั้น ต้องเริ่มมาจากภายในตน พระพุทธองค์ เป็นเพียงผู้ชี้ทางให้เท่านั้น ดังมีพุทธ
พจน์ที่ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย ทาความเพียรเองเถิด ตถาคตเป็นเพียงผู้ชี้บอกเท่านั้น ผู้บาเพ็ญ
ภาวนาดาเนินตามทางนี้แล้ว เพ่งพินิจอยู่จักพ้นจากเครื่องผูกของมารได้ ” พระพุทธ องค์ได้ถ่ายทอด
หลักในการเจริญสติปัฏฐานมี 4 ขัน้ ตอนในการฝึกปฏิบัติดังนี้
1) พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ด้วยการมีสติพิจารณาลมหายใจเข้าออก มีสติรู้อิริยาบถใหญ่
คือ เดิน ยืน นั่ง และนอน มีสัมปชัญญะในการเคลื่อนไหว การก้าวไป การถอยกลับการแลดู การเหลียว
ดูการคู้เข้า การเหยียดออก การครองสังฆาฏิ การสะพายบาตร การครองจีวร การฉัน การเคี้ยว การดื่ม
การลิ้มการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ทาความรู้สึกตัวในการเดิน การยืน การนั่ง การนอน การตื่น การ
พูด และการนั่งนิ่งเป็นต้น
2) พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา เมื่อเสวยสุขเวทนาก็รู้ชัดว่า “เราเสวยสุขเวทนา” เมื่อ
เสวยทุกขเวทนาก็รู้ชัดว่า “เราเสวยทุกขเวทนา” เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็รู้ชัดว่า “เราเสวย อทุกขม
สุขเวทนา” เป็นต้น
3) พิจารณาเห็นจิตในจิต รู้ว่าจิตมีราคะก็รู้ชัดว่า “จิตมีราคะ” จิตปราศจากราคะก็รู้ชัด ว่า
“จิตปราศจากราคะ” จิตมีโทสะก็รู้ชัดว่า “จิตมีโ ทสะ” จิตปราศจากโทสะก็รู้ขัด ว่า “จิตปราศจาก
โทสะ” จิตมีโมหะก็รู้ชัดว่า “จิตมีโมหะ” จิตปราศจากโมหะก็รู้ชัดว่า “จิตปราศจากโมหะ” เป็นต้น
4) พิจารณาเห็นธรรมทั้งหลายในธรรม คือ นิวรณ์ 5 อยู่เมื่อกามฉันทะ (ความพอใจในกาม)
เมื่อพยาบาท (ความคิดร้าย) เมื่อถีนมิทธะ (ความหดหู่เซื่องซึม) เมื่ ออุทธัจจกุกกุจจะ (ความฟุ้งซ่านและ
75
75
วารสารมจร.
วารสาร มจร เลย
เลย ปริ
ปริททัศัศน์น์ journal
journalofofmcu.
mcu loei
loei review
review
ปีที่ 2 ฉบับปีทีท่ 1ี่ 2เดืฉบัอนบทีมกราคม - เมษายน 25642564
่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน Vol.Vol.2 NO. 1 January
2 NO. – April
1 January – April2021
2021

ร้อนใจ)เมื่อวิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) นิวรณ์ 5 นี้ภายในมีอยู่ก็รู้ชัดว่า “นิวรณ์ 5 ภายในของเรามีอยู่”


เมื่อนิวรณ์ 5ไม่มีอยู่ก็รู้ชัดว่า “นิวรณ์ 5 ไม่มีอยู่เห็นธรรมในธรรมทั้งหลายคือ เห็นความเกิดและดับของ
อุปาทานขันธ์ 5 อยู่เห็นธรรมในธรรมทั้งหลายคือ อายตนะภายใน 6 และ อายตนะภายนอก 6 อยู่เห็น
ธรรมในธรรมทั้งหลายคือโพชฌงค์ 7 อยู่เห็นธรรมในธรรมทั้งหลายคือ อริยสัจ 4 วิธีการที่พระพุทธองค์
ทรงใช้เพื่อการเจริญสติปัฏฐาน 4 โดยการเดินจงกรมและนั่งสมาธิ อย่างต่อเนื่อง มีพระพุทธพจน์ที่ได้
ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลายว่า
“ภิก ษุ ทั้ ง หลาย เราทั้ ง หลายจัก เป็ น ผู้ ประกอบความเพี ย รในธรรมเป็ น เครื่ องตื่ น อย่ า ง
ต่อเนื่อง จักชาระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมอันเป็นเครื่องขัดขวางต่อการบรรลุธรรม ด้วยการเดินจงกรม
และการนั่งสมาธิตลอดวัน จักชาระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเป็นเครื่องขัดขวางต่อการบรรลุธรรม ด้วยการ
เดินจงกรมด้วยการนั่งสมาธิตลอดปฐมยามแห่งราตรี สาเร็จการนอน ดุจราชสีห์โดยตะแคง ข้างเบื้อง
ขวาซ้อนเท้าเหลื่อมเท้ามีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ”
การเจริญสติโดยใช้หลักสติปัฏฐาน 4 นี้เป็นชาระใจให้บริสุทธิ์ โดยการทาความเพียรอย่าง
ต่อเนื่องแม้จะใช้เวลาถึง 7 วัน 7 เดือน 7 ปี หรือ 7 ชาติ เมื่อมีสติปัฏฐาน 4 เป็นพื้นฐานแล้วย่อมส่งผล
ให้ปัญญาได้รับการพัฒนาไปสู่องค์ธรรมอื่นต่อไป วิธีการพัฒนาปัญญาเพื่อการขัดเกลากิเลสนี้จะทาให้ผู้
ฝึกตนมีจิตใจที่บริสุทธิ์ในทางพระพุทธศาสนาเรียกว่า มีดวงตาเห็นธรรม หรือบรรลุมรรคผลนิพพาน
ความบริสุทธิ์ของจิตในขั้นแรก เรียกว่า โสดาปัตติผล ขั้นที่สอง เรียกว่า สกทาคามิผล ขั้นที่สาม เรียกว่า
อนาคามิผล และขั้นสุดท้ายเรียกว่า อรหัตตผล ซึ่งเป็นขั้นที่จิตบริสุทธิ์โดยสิ้นเชิงแต่เพียงได้ชาระใจให้
บริ สุ ท ธิ์ไ ด้ขั้ น ต่าที่สุ ด ผู้ ป ฏิ บั ติ ก็มี จิ ต ใจเหนื อปุ ถุช นธรรมดาแล้ ว นั บได้ว่ า เป็ นคนใจพระ เป็ นพระ
อริยบุคคลใน พระพุทธศาสนา
ผู้เขียนมีความเห็นว่า การพัฒนาสติและปัญญาดังกล่าวทั้งที่เป็นโลกิยปัญญาและ โลกุตตร
ปัญญานั้ น หากมีการลงมือปฏิบัติอย่ างจริงจังแล้ว ผลย่อมเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน มีพระดารัส ของ
พระพุทธเจ้ าที่ตรัส ไว้แก่ภิกษุทั้งหลายว่า “พระธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว ผู้ ปฏิบัติจะพึง
เห็นชัดด้วยตนเอง ไม่ประกอบด้วยกาล ควรรีบยกให้เขาเข้ามาดู ควรน้อมเข้ามาในตน อันวิญญูชนพึงรู้
ได้เฉพาะตนเอง”

สรุป
บทความนี้ชี้ให้เห็นว่า พระพุทธศาสนามีคาสอนที่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มาก เป็น
คาสอนเกี่ ย วกั บ ชี วิ ต และการด าเนิ น ชี วิ ต ให้ ส อดคล้ อ งกั บ โลกภายใต้ ห ลั ก ของความจริ ง หรื อ กฎ
ธรรมชาติ คือ กฎแห่งเหตุและผลในการดาเนินชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ คือ ทางสายกลางและ การ
ปฏิบัติตามคาสอนด้วยการฝึกตนด้วยตนเองเพื่อการพัฒนาตนเองได้การพัฒนาสติตามหลัก สติปัฏฐาน
สูตร เป็นวิธีการการพัฒนาสติที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎกที่อาศัย การตั้งอยู่บน
ฐานของร่างกาย และจิตใจอยู่ 4 อย่างคือ การตั้งสติที่ปรากฏอยู่บนร่างกายตลอดจน อาการของ
ร่างกาย การตั้งสติอยู่บนความรู้สึกของร่างกายและจิตใจ การตั้งสติอยู่บนความคิดต่างๆ
76 76

วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์ journal of mcu. loei review วารสาร มจร เลย ปริทัศน์ journal of mcu loei review
ปีที่ 2 ฉบั2564
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน บที่ 1 Vol.
เดือน 2มกราคม-เมษายน
NO. 1 January2564
– April
Vol. 22021
NO. 1 January – April 2021

เอกสารอ้างอิง

ฉบั บ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . พระไตรปิ ฎ กภาษาบาลี ฉบั บ มหาจุ ฬ าเตปิ ฏ ก . 2500.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2535.
_________.พระไตรปิ ฎ กภาษาไทย ฉบั บ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . เล่ ม ที่ 1-45.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2539.
พุทธทาสภิกขุ. สมาธิวิปัสสนาธรรมชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลียง เชียง. 2531.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). มหาสติปัฏฐานสูตรทางสู่พระนิพพาน. กรุงเทพมหานคร: โรง
พิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัด ไทยรายวันการพิมพ์. 2549.
ภัททันตะ อาสภะเถระ. การปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐาน 4. กรุงเทพมหานคร: โรง
พิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจากัด ไทยรายวันการพิมพ์. 2549.
พระธรรมธี ร ราชมหามุ ณี (โชดก ญาณสิ ทฺ ธิ , ป.ธ.9). มรรคผลนิ พ พาน. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 10.
กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2546.
พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต). ยิ่งก้าวถึงสุขยิ่งใกล้ถึงธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ธรรมสภา. 2536.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัท
สหธรรมิก จากัด. 2545.
พระธรรมกิ ต ติ ว งศ์ (ทองดี สุ ร เตโช). พจนานุ ก รมเพื่ อ การศึ ก ษาพุ ท ธศาสน์ ชุ ด ค าวั ด .
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง. 2556.
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตโต). พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอัมรินทร์
พริ้นติ้งกรุ๊ฟ จากัด. 2533.
พระคันธสาราภิวงศ์. การเจริญสติปัฏฐาน. ลาปาง: โรงพิมพ์จิตวัฒนาการพิมพ์. 2541.

You might also like