You are on page 1of 258

คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐาน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เล่ม ๒ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี


ตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๒

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดทาโดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คาชี้แจง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิท ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบับ ปรับ ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลัก สูตร
แกนกลางการศึก ษาขั้นพื้ นฐาน พุ ท ธศัก ราช ๒๕๕๑ โดยมี จุดเน้ นเพื่ อต้องการพัฒ นาผู้เรียนให้มี ค วามรู้
ความสามารถที่ ทั ด เที ย มกั บ นานาชาติ ได้ เรียนรู้วิท ยาศาสตร์ ที่ เ ชื่อ มโยงความรู้กั บ กระบวนการในการ
สืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้
ทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร์และทั กษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งในปีการศึก ษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไปนี้
โรงเรียนจะต้องใช้ห ลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
สสวท. จึงได้จัดทาหนังสือเรียนที่เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรเพื่อให้โรงเรียนได้ใช้
สาหรับจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
คู่มื อ ครูร ายวิช าพื้ น ฐานวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ ๒ เล่ม ๒ กลุ่ ม สาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ สสวท. ได้พัฒนาขึ้น เพื่อนาไปใช้ประกอบหนังสือเรียนรายวิชา
พื้ น ฐานวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ชั้ น ประถมศึ ก ษา ปี ที่ ๒ เล่ ม ๒ โดยภายในคู่ มื อ ครู ป ระกอบด้ ว ย
ผังมโนทั ศน์ ตัวชี้วัด ข้อ แนะนาการใช้คู่ มื อครู ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่ างเนื้อ หาและกิ จ กรรม
ในหนั ง สือ เรีย นกั บ มาตรฐานการเรีย นรู้แ ละตั วชี้ วัด กลุ่ ม สาระการเรีย นรู้วิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนว
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะรอบด้าน ทั้งการอ่าน การสารวจตรวจสอบ การฝึกปฏิบัติ
การปฏิบัติการทดลอง การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนพัฒ นาทั้งด้านความรู้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ทั ก ษะการคิด การอ่ าน การสื่อ สาร การแก้ ปั ญ หา ตลอดจนการน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างมี
คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมี
ความสุข ในการจัดท าคู่มื อ ครูร ายวิชาพื้ นฐานวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึก ษาปีที่ ๒ เล่ม ๒
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
นักวิชาการ และครูผู้สอน จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ จึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้
สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ที่จะช่วยให้การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทาให้
คู่มือครูเล่มนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จักขอบคุณยิ่ง

(ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจานงค์)
ผู้อานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สารบัญ
หนา
เปาหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ........................................................................................ ก
คุณภาพของผูเรียนวิทยาศาสตร เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปที่ 3........................................................................ ข
ทักษะที่สําคัญในการเรียนรูวิทยาศาสตร ค
ผังมโนทัศน (concept map) รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลม 2....... ช
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ..................................................... ซ
ขอแนะนําการใชคูมือครู .................................................................................................................................. ญ
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในระดับประถมศึกษา ........................................................................... น
การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ............................................................ น
การจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร ................................................................ ป
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรูวิทยาศาสตร ............................................................................................ ฝ
ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเนื้อหาและกิจกรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลม 2.......................... ภ
กับตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
รายการวัสดุอุปกรณวิทยาศาสตร ป.2 เลม 2 .................................................................................................. ย
หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชวี ิต 1
ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต 1
บทที่ 1 แสง 3
บทนี้เริ่มตนอยางไร 6
เรื่องที่ 1 แสงและการมองเห็น 11
กิจกรรมที่ 1.1 แสงเคลื่อนที่อยางไร 17
กิจกรรมที่ 1.2 มองเห็นวัตถุตาง ๆ ไดอยางไร 31
กิจกรรมทายบทที่ 1 แสง 53
แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท 54
บทที่ 2 สิ่งมีชีวิต 57
บทนี้เริ่มตนอยางไร 60
เรื่องที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต 67
กิจกรรมที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตมีลักษณะแตกตางกันอยางไร 73
สารบัญ
หนา
เรื่องที่ 2 ชีวิตของพืช 85
กิจกรรมที่ 2.1 พืชตองการอะไรในการเจริญเติบโต 91
กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกเปนอยางไร 110
กิจกรรมทายบทที่ 2 สิ่งมีชีวิต 131
แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท 134
หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา 138
ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา 138
บทที่ 1 รูจักดิน 140
บทนี้เริ่มตนอยางไร 143
เรื่องที่ 1 ดินในทองถิ่น 148
กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสวนประกอบอะไรบาง 153
กิจกรรมที่ 1.2 ดินในทองถิ่นมีลักษณะและสมบัติอยางไร 167
เรื่องที่ 2 ประโยชนของดิน 190
กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชนอยางไร 194
กิจกรรมทายบทที่ 1 รูจักดิน 205
แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท 208
แนวคําตอบในแบบทดสอบทายเลม 210
บรรณานุกรม 216
คณะทํางาน 218
ก คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

เปาหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร

วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ


ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติแลวนําผลที่ไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด
และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด
นั่นคือใหเกิดการเรียนรูทั้งกระบวนการและองคความรู
การจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในสถานศึกษามีเปาหมายสําคัญ ดังนี้
1. เพื่อใหเขาใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎี กฎและความรูพื้นฐานของวิทยาศาสตร
2. เพื่อใหเขาใจขอบเขตธรรมชาติของวิทยาศาสตร และขอจํากัดของวิทยาศาสตร
3. เพื่อใหมีทักษะที่สําคัญในการสืบเสาะหาความรูและพัฒนาเทคโนโลยี
4. เพื่อใหตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ
สิ่งแวดลอม
5. เพื่อนําความรู แนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชน ตอ
สังคมและการดํารงชีวิต
6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการจัด การ ทักษะ
ในการสื่อสาร และความสามารถในการประเมินและตัดสินใจ
7. เพื่อใหเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
อยางสรางสรรค

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ข

คุณภาพของผูเรียนวิทยาศาสตร เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปที่ 3

นักเรียนที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ควรมีความรู ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร


ดังนี้
1. เขาใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิตและการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตรอบตัว
2. เขาใจลักษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใชทําวัตถุและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ
รอบตัว
3. เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงที่มีตอการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ ของวั ต ถุ
พลังงานไฟฟา และการผลิตไฟฟา การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น
4. เข า ใจการปรากฏของดวงอาทิ ต ย ดวงจัน ทร และดาว ปรากฏการณขึ้น และตกของดวงอาทิ ต ย
การเกิดกลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ลักษณะของหิน การจําแนกชนิดดิน และการใชประโยชน
ลักษณะและความสําคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนและโทษของลม
5. ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรูตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ สังเกต สํารวจ
ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดวย
การเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง หรือดวยการแสดงทาทางเพื่อใหผูอื่น
เขาใจ
6. แกปญหาอยางงายโดยใชขั้นตอนการแกปญหา มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เบื้องตน รักษาขอมูลสวนตัว
7. แสดงความกระตื อรื อร น สนใจที่ จ ะเรีย นรู มีความคิดสรางสรรคเกี่ย วกับ เรื่องที่จ ะศึ กษา ตามที่
กําหนดใหหรือตามความสนใจ มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟงความคิดเห็นผูอื่น
8. แสดงความรั บ ผิ ดชอบด วยการทํ า งานที่ไดรับ มอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัต ย
จนงานลุลวงเปนผลสําเร็จ และทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข
9. ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ศึกษา
หาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ค คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ทักษะที่สําคัญในการเรียนรูวิทยาศาสตร
ทักษะสําคัญที่ครูผูสอนจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับผูเรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร
เชน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science Process Skills)
การเรี ย นรู ท างวิ ท ยาศาสตร จํ า เป น ต อ งใช ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร เ พื่ อ นํ า ไปสู
การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอื่น ๆ เพื่อนําขอมูล สารสนเทศและ
หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร ประกอบดวย
ทักษะการสังเกต (Observing) เปนความสามารถในการใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือ
หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ
ผูสังเกต ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไดแก การดู การฟงเสียง การดมกลิ่น การชิมรส และการสัมผัส
ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ
ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งตาง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใชออกมาเปน
ตัวเลขไดถูกตองและรวดเร็ว พรอมระบุหนวยของการวัดไดอยางถูกตอง
ทั ก ษะการลงความเห็ น จากข อ มู ล (Inferring) เป น ความสามารถในการคาดการณ อ ย า งมี
หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคยเก็บ
รวบรวมไวในอดีต
ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปนความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม
สิ่งตาง ๆ ที่สนใจ เชน วัตถุ สิ่งมีชีวิต ดาว และเทหวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณที่ตองการศึกษาออกเปน
หมวดหมู นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ
หนึ่งของสิ่งตาง ๆ ที่ตองการจําแนก
ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ
คือ พื้นที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่นี้อาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหลานี้อาจมีความสัมพันธกัน
ดังนี้
การหาความสัมพันธระหวางสเปซกับสเปซ เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ
(Relationship between Space and Space) สั ม พั น ธ กั น ระหว า งพื้ น ที่ ที่ วั ต ถุ ต า ง ๆ
ครอบครอง
การหาความสัมพันธระหวางสเปซกับเวลา เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ
(Relationship between Space and Time) สัมพันธกันระหว างพื้น ที่ที่วั ต ถุครอบครอง
เมื่อเวลาผานไป

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ง

ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ


การคํานวณเพื่อบรรยายหรือระบุรายละเอียดเชิงปริมาณของสิ่งที่สังเกตหรือทดลอง
ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data)
เปนความสามารถในการนําผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบที่
มีความหมายหรือมีความสัมพันธกันมากขึ้น จนงายตอการทําความเขาใจหรือเห็นแบบรูปของขอมูล นอกจากนี้
ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เพื่อสื่อสารใหผูอื่นเขาใจความหมายของขอมูลมากขึ้น
ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ
การสั งเกต การทดลองที่ ได จ ากการสั งเกตแบบรู ป ของหลั กฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ ที่
แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง
เหมาะสม
ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ
ลวงหนากอนดําเนิน การทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิ มเป น พื้นฐานคํ าตอบที่ คิด
ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบที่คิดไว
ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความที่บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามที่
คาดการณไวหรือไมก็ได
ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ
กําหนดความหมายและขอบเขตของสิ่งตาง ๆ ที่อยูในสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง
ใหเขาใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวัดได
ทั กษะการกํ า หนดและควบคุ มตั วแปร (Controlling Variables) เปน ความสามารถในการ
กําหนดตัวแปรตาง ๆ ทั้งตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ใหสอดคลองกับสมมติฐาน
ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน ซึ่งอาจ
สงผลตอผลการทดลอง หากไม ควบคุ มให เหมือนกัน หรือเทากัน ตัว แปรที่เกี่ย วของกับ การทดลอง ไดแก
ตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ซึ่งลวนเปนปจจัยที่เกี่ยวของกับการทดลอง ดังนี้
ตัวแปรตน (Independent Variable) หมายถึง สิ่งที่เปนตนเหตุทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง จึงตอง
จัดสถานการณใหมีสิ่งนี้แตกตางกัน
ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง สิ่งที่เปนผลจากการจัดสถานการณบางอยางให
แตกตางกัน และเราตองสังเกต วัด หรือติดตามดู
ตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่อาจสงผลตอการจัด
สถานการณ จึงตองจัดสิ่งเหลานี้ใหเหมือนกันหรือเทากัน เพื่อใหมั่นใจวาผลจากการจัดสถานการณเกิดจาก
ตัวแปรตนเทานั้น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
จ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบ การ


ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ
ออกแบบและวางแผนการทดลองได อย า งรอบคอบ และสอดคลองกับ คําถามการทดลองและสมมติ ฐ าน
รวมถึงความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได
ละเอียด ครบถวน และเที่ยงตรง
ทักษะการตีความหมายข อมู ลและลงข อสรุ ป (Interpreting and Making Conclusion) เป น
ความสามารถในการแปลความหมาย หรื อ การบรรยาย ลั ก ษณะและสมบั ติ ข องข อ มู ล ที่ มี อ ยู ตลอดจน
ความสามารถในการสรุปความสัมพันธของขอมูลทั้งหมด
ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) เปนความสามารถในการสรางและใชสิ่งที่
ทํ าขึ้ น มาเพื่ อเลี ย นแบบหรื ออธิ บ ายปรากฏการณที่ศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูป ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว สามารถประเมินแบบจําลอง และปรับปรุงแบบจําลองที่สรางขึ้น รวมถึงความสามารถในการ
นําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพื่อใหผูอื่นเขาใจในรูปของแบบจําลองแบบตาง ๆ
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)
สํานักงานราชบัณฑิตยสภาไดระบุทักษะที่จําเปนแหงศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคลองกับสมรรถนะที่ควรมีใน
พลเมื อ งยุ ค ใหม ร วม 7 ด า น (สํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แ ห ง ชาติ , 2558; สํ า นั ก งาน
ราชบัณฑิตยสภา, 2557) ในระดับประถมศึกษาจะเนนใหครูผูสอนสงเสริมใหนักเรียนมีทักษะ ดังตอไปนี้
การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลาย
เหมาะสมกับสถานการณ มีการคิดอยางเปนระบบ วิเคราะห ประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมอง
ที่หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช
ประสบการณและกระบวนการเรียนรู
การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแกปญหาที่ไมคุนเคย หรือ
ปญหาใหม โดยอาจใชความรู ทักษะ วิธีการและประสบการณที่เคยรูมาแลว หรือการสืบเสาะหาความรู วิธีการ
ใหมมาใชแกปญหา นอกจากนี้ยังรวมถึงการซักถามเพื่อทําความเขาใจมุมมองที่แตกตาง หลากหลายเพื่อใหได
วิธีแกปญหาที่ดียิ่งขึ้น
การสื่อสาร (Communication) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารไดอยางชัดเจน เชื่อมโยง
เรี ย บเรี ย งความคิ ด และมุ ม มองต าง ๆ แล ว สื่ อ สารโดยการใช คํ า พู ด หรื อ การเขี ย น เพื่ อ ให ผู อื่ น เข า ใจได
หลากหลายรู ป แบบและวั ต ถุ ป ระสงค นอกจากนี้ ยั ง รวมไปถึ ง การฟ ง อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ให เ ข า ใจ
ความหมายของผูสงสาร
ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุมตาง ๆ ที่
หลากหลายอยางมีประสิทธิภ าพและใหเ กีย รติ มีความยืดหยุน และยินดีที่จ ะประนีประนอม เพื่อใหบ รรลุ
เปาหมายการทํางาน พรอมทั้งยอมรับและแสดงความรับผิดชอบตองานที่ทํารวมกัน และเห็นคุณคาของผลงาน
ที่พัฒนาขึ้นจากสมาชิกแตละคนในทีม

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ฉ

การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคที่หลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน


การระดมพลั ง สมอง รวมถึ ง ความสามารถในการพั ฒ นาต อ ยอดแนวคิ ด เดิ ม หรื อ ได แ นวคิ ด ใหม และ
ความสามารถในการกลั่นกรอง ทบทวน วิเคราะห และประเมินแนวคิด เพื่อปรับปรุงใหไดแนวคิดที่จะสงผลให
ความพยายามอยางสรางสรรคนี้เปนไปไดมากที่สุด
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication Technology
(ICT)) หมายถึง ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเปนเครื่องมือสืบคน จัดกระทํา
ประเมินและสื่อสารขอมูลความรูตลอดจนรูเทาทันสื่อโดยการใชสื่อตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม มีประสิทธิภาพ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ช คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ผังมโนทัศน (concept map)


รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลม 2

ประกอบดวย

ไดแก ไดแก

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ซ

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
ว 1.2 ป.2/1
ระบุวาพืชตองการแสงและน้ําเพื่อการเจริญเติบโต • พืชตองการน้ํา แสง เพื่อการเจริญเติบโต
โดยใชขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ
ว 1.2 ป.2/2
ตระหนั กถึ งความจํ า เป น ที่ พืช ต องไดรั บน้ําและแสง
เพื่อการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชใหไดรับสิ่งดังกล าว
อยางเหมาะสม

ว 1.2 ป.2/3
สรางแบบจําลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก • พื ช ดอกเมื่ อเจริ ญ เติ บ โตและมี ดอก ดอกจะมี การสื บ พั น ธุ
เปลี่ยนแปลงไปเปนผล ภายในผลมีเมล็ด เมื่อเมล็ดงอก ตนออน
ที่ อยู ภายในเมล็ ดจะเจริ ญเติ บโตเป นพื ชต นใหม พื ชต นใหม
จะเจริญเติบโตออกดอกเพื่อสืบพันธุมีผลตอไปไดอีกหมุนเวียน
ตอเนื่องเปน วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
ว 1.3 ป.2/1
เปรี ย บเที ย บลั กษณะของสิ่ งมี ชี วิ ตและสิ่ งไมมีชีวิต • สิ่ ง ที่ อ ยู ร อบตั ว เรามี ทั้ ง ที่ เ ป น สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต
จากขอมูลที่รวบรวมได สิ่งมีชีวิตตองการอาหาร มีการหายใจ เจริญเติบโต ขับถาย
เคลื่อนไหว ตอบสนองตอสิ่งเรา และสืบพันธุไดลูกที่มีลักษณะ
คลายคลึงกับพอแม สวนสิ่งไมมีชีวิตจะไมมีลักษณะดังกลาว
ว 2.2 ป.2/2 • แสงเคลื่อนที่จ ากแหลงกําเนิดแสงทุกทิศทางเปน แนวตรง
ตระหนักในคุณคาของความรูของการมองเห็น โดย เมื่ อ มี แ สงจากวั ต ถุ ม าเข า ตาจะทํ า ให ม องเห็ น วั ต ถุ นั้ น
เสนอแนวทางการป องกั นอั นตรายจากการมองเห็ น การมองเห็นวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง แสงจากวัตถุนั้นจะ
วัตถุที่อยูในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม เขาสูตาโดยตรง สวนการมองเห็นวัตถุที่ไมใชแหลงกําเนิดแสง
ตองมีแสงจากแหล งกําเนิด แสงไปกระทบวัต ถุ แลว สะท อน
ว 2.3 ป.2/1 เขาตา ถามีแสงที่สวางมาก ๆ เขาสูตาอาจเกิดอันตรายตอตา
บรรยายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง ได จึงตองหลีกเลี่ยงการมองหรือใชแผนกรองแสงที่มีคุณภาพ
แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า รม อ ง เ ห็ น วั ตถุ จ าก หลั ก ฐ าน เมื่อจําเปน และตองจัดความสวางใหเหมาะสมกับ การทํ า
เชิงประจักษ กิจกรรมตาง ๆ เชน การอานหนังสือ การดูจอโทรทัศน การ
ใชโทรศัพทเคลื่อนที่และแท็บเล็ต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ฌ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
ว 3.2 ป.2/1 • ดินประกอบดวยเศษหิน ซากพืช ซากสัตวผสมอยูในเนื้อดิน
ระบุสวนประกอบของดิน และจําแนกชนิดของดิน มีอากาศและน้ําแทรกอยูตามชองวางในเนื้อดิน ดินจําแนก
โดยใชลักษณะเนื้อดินและการจับตัวเปนเกณฑ เปนดินรวน ดินเหนียว และดินทราย ตามลักษณะเนื้อดินและ
การจับตัวของดินซึ่งมีผลตอการอุมน้ําที่แตกตางกัน
• ดินแตละชนิดนําไปใชประโยชนไดแตกตางกันตามลักษณะ
ว 3.2 ป.2/2 และสมบัติของดิน
อธิบายการใชประโยชนจากดิน จากขอมูลที่รวบรวม
ได

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ญ

ขอแนะนําการใชคูมือครู
คูมือครูเลมนี้จัดทําขึ้ นเพื่อใชเปน แนวทางการจัดกิจ กรรมสําหรับ ครู ในแตละหนวยการเรี ย นรู
นักเรียนจะไดฝกทักษะจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ทั้งการสังเกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล
การอภิปราย การทํางานรวมกัน ซึ่งเปนการฝกใหนักเรียนชางสังเกต รูจักตั้งคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบ
ปญหาตาง ๆ ไดดวยตนเอง ทั้งนี้โดยมีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด ดังนั้น
ในการจัดการเรียนรู ครูจึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูจากสื่อและ
แหลงเรียนรูตาง ๆ และเพิ่มเติมขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรูดวย
ตนเอง
เพื่อใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมนี้มากที่สุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละ
หัวขอ และขอเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้
1. สาระการเรียนรูแกนกลาง
สาระการเรี ยนรู แกนกลางเป นสาระการเรี ยนรู เฉพาะกลุ มสาระการเรี ยนรู วิ ทยาศาสตร และ
เทคโนโลยีที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปน
สําหรับเปนพื้นฐานเกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานในการศึ กษาต อในระดั บที่สู งขึ้น โดย
สอดคล องกั บสาระและความสามารถ ความถนั ดและความสนใจของนั กเรี ยน ในทุ กกิ จกรรมจะมี
สาระสําคัญ ซึ่งเปนเนื้อหาสาระที่ปรากฏอยูตามสาระการเรียนรูโดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติม
ไดตามความเหมาะสม
สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพิ่มสาระเทคโนโลยี ซึ่ง
ประกอบด วยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิ ทยาการคํ านวณ ทั้ งนี้ เพื่ อเอื้ อต อการจั ดการเรี ยนรู
บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กับกระบวนการออกแบบเชิงวิ ศวกรรม
ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
2. ภาพรวมการจัดการเรียนรูป ระจําหนวย
ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยมีไวเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรูและ
ตัวชี้วัดที่จะไดเรียนในแตละกิจกรรมของหนวยนั้น ๆ และเปนแนวทางใหครูผูสอนนําไปปรับปรุงและ
เพิ่มเติมตามความเหมาะสม
3. จุดประสงคการเรียนรู
แตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียนทั้ง
สวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปเพื่อใหนักเรียนเกิด
การเรียนรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร
กระบวนการแกปญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ฎ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ในสถานการณใหม มีทักษะในการใชเทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม


สามารถอยูในสังคมไทยไดอยางมีความสุข
4. บทนี้มีอะไร
สวนที่บอกรายละเอียดในบทนั้น ๆ ซึ่งประกอบดวยชื่อเรื่อง คําสําคัญ และชื่อกิจกรรม เพื่อครู
จะไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตละบท
5. สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
สวนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูที่ตองใชสําหรับการเรียนในบท เรื่อง และ
กิจกรรมนั้น ๆ โดยสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม
และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต สื่อสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ
ทางวิทยาศาสตรเพื่อเสริมสรางความมั่นใจในการสอนปฏิบัติการวิทยาศาสตรสําหรับครู
6. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21
ทักษะที่นักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเปน
ทักษะที่นักวิทยาศาสตรนํ ามาใช ในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแห ง
ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะที่ชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ
เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ฏ

วีดิทัศนตัวอยางปฏิบัติการวิทยาศาสตรสําหรับครูเพื่อฝกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตาง ๆ
มีดังนี้
รายการ ทักษะกระบวนการทาง
Short link QR code
วิทยาศาสตร
วีดิทัศน การสังเกตและการ การสังเกตและการลงความเห็น http://ipst.me/8115
ลงความเห็นจากขอมูล จากขอมูล
ทําไดอยางไร
วีดิทัศน การวัดทําไดอยางไร การวัด http://ipst.me/8116

วีดิทัศน การใชตัวเลขทําได การใชจํานวน http://ipst.me/8117


อยางไร

วีดิทัศน การจําแนกประเภท การจําแนกประเภท http://ipst.me/8118


ทําไดอยางไร

วีดิทัศน การหาความสัมพันธ การหาความสัมพันธระหวาง http://ipst.me/8119


ระหวางสเปซกับสเปซ สเปซกับสเปซ
ทําไดอยางไร
วีดิทัศน การหาความสัมพันธ การหาความสัมพันธระหวาง http://ipst.me/8120
ระหวางสเปซกับเวลา สเปซกับเวลา
ทําไดอยางไร

วีดิทัศน การจัดกระทําและสื่อ การจัดกระทําและสื่อความหมาย http://ipst.me/8121


ความหมายขอมูล ขอมูล
ทําไดอยางไร

วีดิทัศน การพยากรณทําได การพยากรณ http://ipst.me/8122


อยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ฐ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

รายการ ทักษะกระบวนการทาง
Short link QR code
วิทยาศาสตร
วีดิทัศน ทําการทดลองได การทดลอง http://ipst.me/8123
อยางไร

วีดิทัศน การตั้งสมมติฐานทํา การตั้งสมมติฐาน http://ipst.me/8124


ไดอยางไร

วีดิทัศน การกําหนดและ การกําหนดและควบคุมตัวแปร http://ipst.me/8125


ควบคุมตัวแปรและ และการกําหนดนิยาม
การกําหนดนิยามเชิง เชิงปฏิบัติการ
ปฏิบัติการทําได
อยางไร
วีดิทัศน การตีความหมาย การตีความหมายขอมูลและ http://ipst.me/8126
ขอมูลและลงขอสรุป ลงขอสรุป
ทําไดอยางไร
วีดิทัศน การสรางแบบจําลอง การสรางแบบจําลอง http://ipst.me/8127
ทําไดอยางไร

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ฑ

7. แนวคิดคลาดเคลื่อน
ความเชื่ อ ความรู หรื อ ความเข า ใจที่ ผิ ด หรื อ คลาดเคลื่ อ นซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น กั บ นั ก เรี ย น เนื่ อ งจาก
ประสบการณในการเรียนรูที่รับมาผิดหรือนําความรูที่ไดรับมาสรุปตามความเขาใจของตนเองผิด แลว
ไมสามารถอธิบายความเขาใจนั้นได ดังนั้นเมื่อเรียนจบบทนี้แลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ
นักเรียนใหเปนแนวคิดที่ถูกตอง
8. บทนี้เริ่มตนอยางไร
แนวทางสําหรับครูในการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรเพื่อสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวยตนเอง
รูจักคนควาหาเหตุผล ครูควรกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยใหนักเรียนตอบ
คําถามสํารวจความรูกอนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนและยังไมเฉลยคําตอบที่
ถูกตอง เพื่อใหนักเรียนไปหาคําตอบจากเรื่องและกิจกรรมตาง ๆ ในบทนั้น
9. เวลาที่ใช
การเสนอแนะเวลาที่ ใช ในการจัด การเรี ย นการสอนวา ควรใชป ระมาณกี่ชั่ว โมง เพื่อชว ยให
ครูผูสอนไดจัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาไดตาม
สถานการณและความสามารถของนักเรียน
10. วัสดุอุปกรณ
รายการวัสดุอุปกรณทั้งหมดสําหรับการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณสําเร็จรูป
อุปกรณพื้นฐาน หรืออื่น ๆ
11. การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครูเพื่อจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป
การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับการจัดการเรี ยนรูในครั้งถัด ไป เพื่อครูจะไดเตรียมสื่อ อุปกรณ
เครื่องมือตาง ๆ ที่ตองใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพที่ใชการไดดีและมีจํานวนเพียงพอกับนักเรียน โดย
อาจมีบางกิจกรรมตองทําลวงหนาหลายวัน เชน การเลี้ยงปลา

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษา มีกระบวนการคิดที่เปนรูปธรรม ครูจึงควรจัดการเรียนการสอนที่
มุงเนนใหนักเรียนไดปฏิบัติหรือทําการทดลองดวยตนเอง ซึ่งเปนวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะไดมีประสบการณต รง
ดังนั้นครูผูสอนจึงตองเตรียมตัวเองในเรื่องตอไปนี้
11.1 บทบาทของครู ครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูชี้นําหรือผูถายทอดความรู เปน
ผูชวยเหลือ โดยสงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลง
เรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดนําขอมูลเหลานั้นไปใช
สรางสรรคความรูของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ฒ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

11.2 การเตรี ย มตั ว ของครู แ ละนั ก เรี ย น ครู ค วรเตรี ย มนั ก เรี ย นให มี ค วามพร อ มในการทํ า
กิจกรรมตาง ๆ แตบางครั้งนักเรียนไมเขาใจและอาจจะทํากิจกรรมไมถูกตอง ดังนั้นครูจึง
ตองเตรียมตัวเอง โดยทําความเขาใจในเรื่องตอไปนี้
การสืบคนข อมูล หรื อการคน ควาดว ยวิธี การตาง ๆ เชน สอบถามจากผูรูในท อ งถิ่น
ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อานหนังสือหรือเอกสารเทาที่หาได นั่นคือการใหนักเรียนเปนผูหา
ความรูและพบความรูหรือขอมูลดวยตนเอง ซึ่งเปนการเรียนรูดวยวิธีสืบเสาะหาความรู
การนํ า เสนอ มี ห ลายวิ ธี เช น ให นั ก เรี ย นหรื อ ตั ว แทนกลุ ม ออกมาเล า เรื่ อ งที่ ไ ดรับ
มอบหมายใหไปสํารวจ สังเกต หรือทดลอง หรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน
แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจใหวาดรูป หรือตัด
ขอความจากหนังสือพิมพ แลวนํามาติดไวในหอง เปนตน
การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออื่น ๆ เพื่อสรางองคความรูเปน
สิ่งสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูผูสอนสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดทั้ง
ในหองเรียน นอกหองเรียนหรือที่บาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง
อาจใชอุปกรณที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติ ขอสําคัญ คือ ครูผูสอน
ตองใหนักเรียนทราบวา ทําไมจึงตองทํากิจกรรมนั้น และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจาก
การทํากิจกรรมจะสรุ ปผลอย างไร ซึ่งจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรพรอมกับเกิดคานิยม คุณธรรม เจตคติ ทางวิทยาศาสตร
ดวย
12. แนวการจัดการเรียนรู
แนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรที่มุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวย
ตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรไปใช วิธีการจัดการเรียนรูที่ สสวท. เห็นวาเหมาะสมที่จะนํานักเรียนไปสูเปาหมายที่กําหนด
ไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสํารวจ
ตรวจสอบ และอภิปรายซักถามระหวางครูกับนักเรียนเพื่อนําไปสูขอสรุป

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นอกจากครู จ ะจั ด กิ จ กรรมต า ง ๆ ตามคูมือครูนี้ ครูส ามารถจัด กิจ กรรมการเรีย นรูต ามความ
เหมาะสมเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมาย โดยจะคํานึงถึงเรื่องตาง ๆ ดังตอไปนี้
12.1 นักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู ครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรม
การเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยครู
อาจใชเทคนิคตาง ๆ เชน การใชคําถาม การเสริมแรงมาใชใหเปนประโยชน เพื่อใหการ
เรียนการสอนนาสนใจและมีชีวิตชีวา

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ณ

12.2 การใชคําถาม เพื่อนํานักเรียนเขาสูบทเรียนและลงขอสรุป โดยไมใชเวลานานเกินไป ทั้งนี้ครู


ต อ งวางแผนการใช คํ า ถามอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเลื อ กใช คํ า ถามที่ มี ค วามยากง า ย
พอเหมาะกับความสามารถของนักเรียน
12.3 การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนสิ่งจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู
ครูควรเนนย้ําใหนักเรียนไดสํารวจตรวจสอบซ้ําเพื่อนําไปสูขอสรุปที่ถูกตองและเชื่อถือได
13. ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
ขอเสนอแนะสําหรับครูที่อาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณ ที่
เหมาะสมหรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรมเพื่อ
ลดขอผิดพลาด ตัวอยางตาราง และเสนอแหลงเรียนรูเพื่อการคนควาเพิ่มเติม
14. ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
ความรู เ พิ่ มเติ มในเนื้ อหาที่ ส อนซึ่งจะมีร ายละเอีย ดที่ลึกขึ้ น เพื่อเพิ่มความรูและความมั่ น ใจ
ในเรื่องที่จะสอนและแนะนํานักเรียนที่มีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน
เพราะไมเหมาะสมกับวัยและระดับชั้น
15. อยาลืมนะ
ส ว นที่ เ ตื อนไม ให ครูเ ฉลยคํ า ตอบที่ถูกตอง กอนที่จ ะไดรับ ฟ งความคิดและเหตุผลของนักเรียน
เพื่อใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องนั้นอยางไร
บาง โดยครูควรใหคําแนะนําเพื่อใหนักเรียนหาคําตอบไดดวยตนเอง นอกจากนั้นครูควรใหความสนใจ
ตอคําตอบของนักเรียนทุกคนดวย
16. แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน คําตอบของนักเรียนระหวาง
การจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมทั้งการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และ
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ที่ไดจากการทํากิจกรรมของนักเรียน
17. กิจกรรมทายบท
สวนที่ใหนักเรียนไดสรุปความรู ความเขาใจ ในบทเรียน และไดตรวจสอบความรูในเนื้อหาที่เรียน
มาทั้งบท หรืออาจตอยอดความรูในเรื่องนั้น ๆ

ขอแนะนําเพิ่มเติม
1. การสอนอาน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม
ตัวหนังสือ ถาออกเสียงดวย เรียกวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย
ของคําวา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ
เชน อานรหัส อานลายแทง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ด คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

กรมวิชาการ (2546) ไดเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อใหนักเรียนเกิดลักษณะอันพึงประสงคที่


หลากหลาย เชน รักการอานและรักการคนควา เมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเรียนควรจะสามารถใช
กระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิตและมี
นิสัยรักการอาน จะเห็นไดวาการอานเปนทักษะที่สําคัญ จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแกนักเรียนเปนอยางมาก
ทั้งนี้นักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานที่แตกตางกัน ขึ้นกับองคประกอบหลายอยาง เชน ประสบการณ
เดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรือความสนใจเรื่องที่อาน ครูควรสังเกตนักเรียนวานักเรียนแตละคน
มีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซึ่งครูจะตองพิจารณาทั้งหลักการอาน และความเขาใจในการอาน
ของนักเรียน
การรูเรื่องการอาน (Reading literacy) หมายถึง การเขาใจขอมูล เนื้อหาสาระของสิ่งที่อาน การใช
ประเมินและสะทอนมุมมองของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่อานอยางตั้งใจเพื่อบรรลุเปาหมายสวนตัวของตนเองหรือ
เพื่อพัฒนาความรูและศักยภาพของตนเองและนําความรูและศักยภาพนั้นมาใชในการแลกเปลี่ยนเรียนรู ใน
สังคม (OECD, 2017)

กรอบการประเมินผลนักเรียนเพื่อใหมีสมรรถนะการอานในศตวรรษที่ 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ


สรุปไดดังแผนภาพดานลาง

จากกรอบการประเมิน ดังกลาวจะเห็น ไดวา การรูเรื่องการอานเป นสมรรถนะที่สําคัญที่ครู ควรสงเสริม ให


นักเรียนมีความสามารถใหครอบคลุม ตั้งแตการคนหาขอมูลในสิ่งที่อาน เขาใจเนื้อหาสาระที่อานไปจนถึง
ประเมิ น ค า เนื้ อหาสาระที่ อา นได การเรี ย นการสอนวิทยาศาสตรจําเปนตองอาศัย การอานเพื่อหาขอมูล
ทําความเขาใจเนื้อหาสาระของสิ่งที่อาน รวมทั้งประเมินสิ่งที่อานและนําเสนอมุมมองของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่
อาน นักเรียนควรไดรับการสงเสริมการอานดังตอไปนี้

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ต

1. นักเรียนควรไดรับการฝกการอานขอความแบบตอเนื่อง จําแนกขอความแบบตาง ๆ กัน เชน การบอก


การพรรณนา การโตแยง รวมไปถึงการอานขอเขียนที่ไมใชขอความตอเนื่อง ไดแก การอานรายการ
ตาราง แบบฟอร ม กราฟ และแผนผัง เปน ตน ซึ่งขอความเหลานี้เปน สิ่งที่นักเรีย นไดพบเห็ น ใน
โรงเรียน และจะตองใชในชีวิตจริงเมื่อโตเปนผูใหญ ซึ่งในคูมือครูเลมนี้ตอไปจะใชคําแทนขอความทั้งที่
เปนขอความแบบตอเนื่องและขอความที่ไมใชขอความตอเนื่องวา สิ่งที่อาน (Text)
2. นักเรียนควรไดรับการฝกฝนใหมีความสามารถในการประเมินสิ่งที่อานวามีความเหมาะสมสอดคลอง
กับลักษณะของขอเขียนมากนอยเพียงใด เชน ใชนวนิยาย จดหมาย หรือชีวประวัติเพื่อประโยชน
สวนตัว ใชเอกสารราชการหรือประกาศแจงความเพื่อสาธารณประโยชน ใชรายงานหรือคูมือตาง ๆ
เพื่อการทํางานอาชีพ ใชตําราหรือหนังสือเรียน เพื่อการศึกษา เปนตน
3. นักเรียนควรไดรับการฝกฝนใหมีสมรรถนะการอานเพื่อเรียนรู ในดานตาง ๆ ตอไปนี้
3.1 ความสามารถที่จะคนหาเนื้อหาสาระของสิ่งที่อาน (Retrieving information)
3.2 ความสามารถที่จะเขาใจเนื้อหาสาระของสิ่งที่อาน (Forming a broad understanding)
3.3 ความสามารถในการแปลความของสิ่งที่อาน (Interpretation)
3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเห็นหรือโตแยงจากมุมมองของตน
เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของสิ่งที่อาน (Reflection and Evaluation the content of a text)
3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเห็นหรือโตแยงจากมุมมองของตน
เกี่ยวกับรูปแบบของสิ่งที่อาน (Reflection and Evaluation the form of a text)

ทั้งนี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการสอนแบบตาง ๆ เพื่อเปนการฝกทักษะการอานของนักเรียน ดังนี้


 เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity)
การสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กลั่นกรอง และตรวจสอบขอมูลที่ไดจากการอาน
ดวยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี
ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
1. ครูจัดแบงเนื้อเรื่องที่จะอานออกเปนสวนยอย และวางแผนการสอนอานของเนื้อเรื่องทั้งหมด
2. นําเขาสูบทเรียนโดยชักชวนใหนักเรียนคิดวานักเรียนรูอะไรเกี่ยวกับเรื่องที่จะอานบาง
3. ครูใหนักเรียนสังเกตรูปภาพ หัวขอ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่จะเรียน
4. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องที่กําลังจะอาน ซึ่งอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน
เกี่ยวกับอะไร โดยครูพยายามกระตุนใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นหรือคาดคะเนเนื้อหา
5. ครู อาจให นั กเรีย นเขี ย นสิ่งที่ ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรื อครู นํา
อภิปรายแลวเขียนแนวคิดของนักเรียนแตละคนไวบนกระดาน
6. นักเรียนอานเนื้อเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเองตรง
กับเนื้อเรื่องที่อานหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเรื่องที่อานมีเนื้อหาตรงกับที่คาดคะเนไวใหนักเรียน
แสดงขอความที่สนับสนุนการคาดคะเนของตนเองจากเนื้อเรื่อง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ถ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย
ตนเองอยางไรบาง
8. ทําซ้ําขั้นตอนเดิมในการอานเนื้อเรื่องสวนอื่น ๆ เมื่อจบทั้งเรื่องแลว ครูปดเรื่องโดยการทบทวน
เนื้อหาและอภิปรายถึงวิธีการคาดคะเนของนักเรียนที่ควรใชสําหรับการอานเรื่องอื่น ๆ
 เทคนิคการสอนแบบ KWL (Know – Want to know – Learned)
การสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปนรูปธรรม
และเปนระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องที่จะอาน นักเรียนตองการรู
อะไรเกี่ยวกับเรื่องที่จะอาน นักเรียนไดเรียนรูอะไรบางจากเรื่องที่อาน) โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
ดังนี้
1. นําเขาสูบทเรียนดวยการกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยการใชคําถาม การนําดวยรูปภาพหรือ
วีดิทัศนที่เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเรื่องที่จะอาน
2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีขั้นตอน
ดังนี้
ขั้นที่ 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ขั้น K มาจาก know (What we know) เปนขั้นตอนที่ให
นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะอาน แลวบันทึกสิ่งที่ตนเองรูลงใน
ตารางชอง K ขั้นตอนนี้ชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม
ตั้งคําถามกระตุนใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น
ขั้นที่ 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ขั้น W มาจาก want to know (What we want to know)
เปนขั้นตอนที่ใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตองการรูเกี่ยวกับเรื่องที่กําลังจะอาน โดยครู
และนักเรียนรวมกันกําหนดคําถาม แลวบันทึกสิ่งที่ตองการรูลงในตารางชอง W
ขั้นที่ 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ขั้น L มาจาก learned (What we have learned) เปน
ขั้นตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเนื้อเรื่อง นักเรียน
หาขอความมาตอบคําถามที่กําหนดไวในตารางชอง W จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการอานมา
จัดลําดับความสําคัญของขอมูลและสรุปเนื้อหาสําคัญลงในตารางชอง L
3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหา โดยการอภิปรายหรือตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L
4. ครูและนักเรียนอาจรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรียนการสอนการอาน

 เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship)


การสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนมีความเขาใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพื่อใหไดมา
ซึ่งแนวทางในการหาคําตอบ ซึ่งนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเนื้อเรื่องที่จะเรียนและประสบการณเดิม
ของนักเรียน โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
1. ครูจัดทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเรื่องที่นักเรียนควรรูหรือเรื่องใกลตัวนักเรียน เพื่อชวยใหนักเรียน
เขาใจถึงการจัดหมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเชื่อมโยงกับเรื่องที่จะอานตอไป

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ท

2. ครูแนะนําและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเกี่ยวกับการอานและการตั้งคําถาม


ตามหมวดหมู ไดแก คําถามที่ตอบโดยใชเนื้อหาจากเรื่องที่อาน คําถามที่ตองคิดและคนควา คําถามที่
ไมมีคําตอบโดยตรง ซึ่งจะตองใชความรูเดิมและสิ่งที่ผูเขียนเขียนไว
3. นักเรียนอานเนื้อเรื่อง ตั้งคําถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปคําตอบ
4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใชเทคนิคนี้ดวยตนเองไดอยางไร
5. ครูและนักเรียนอาจรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรียนการสอนการอาน

2. การใชงานสื่อ QR Code
QR Code เปนรหัสหรือภาษาที่ตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซึ่งตองใชงานผาน
โทรศัพทเคลื่อนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน
LINE (สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ
ผลิตภัณฑของ Apple Inc.)
ขั้นตอนการใชงาน
1. เปดโปรแกรมสําหรับอาน QR Code
2. เลื่อนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ แท็บเล็ต เพื่อสองรูป QR Code ไดทั้งรูป
3. เปดไฟลหรือลิงกที่ขึ้นมาหลังจากโปรแกรมไดอาน QR Code
**หมายเหตุ อุปกรณที่ใชอาน QR Code ตองเปด Internet ไวเพื่อดึงขอมูล

3. การใชงานโปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ)


เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เปนโปรแกรมที่สรางขึ้นเพื่อเปนสื่ อเสริมชวยใหนักเรียนเขาใจ
เนื้ อหาสาระของบทเรี ย นอย า งเป น รู ป ธรรมมากขึ้น โดยใช งานผ านโปรแกรมประยุกต “AR สสวท. วิ ทย
ประถม” ซึ่งสามารถดาวนโหลดไดทาง Play Store หรือ App Store
**หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟลท่ีใหญ เพื่อการใชงานที่ดีควรมีพื้นที่วางในเครื่องไมต่ํากวา 2 GB
หากพื้นที่จัดเก็บไมเพียงพออาจตองลบขอมูลบางอยางออกกอนติดตั้งโปรแกรม

ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม
1. เขาไปที่ Play Store ( ) หรือ App Store ( )
2. คนหาคําวา “AR สสวท. วิทยประถม”
3. กดเขาไปที่โปรแกรมประยุกตที่ สสวท. พัฒนา
4. กด “ติดตั้ง” และรอจนติดตั้งเรียบรอย
5. เขาสูโปรแกรมจะปรากฏหนาแรก จากนั้นกด “วิธีการใชงาน” เพื่อศึกษาการใชงานโปรแกรม
เบื้องตนดวยตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ธ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

6. หลังจากศึกษาวิธีการใชงานดวยตนเองแลว กด “สแกน AR”


7. กดดาวนโหลดที่ระดับชั้น ป. 2
8. เปดหนาหนังสือเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่มีสัญลักษณ AR
แลวสองรูปที่อยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ
10 เซนติเมตร และเลือกดูภาพในมุมมองตาง ๆ ตามความสนใจ

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 น

การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในระดับประถมศึกษา

นั กเรี ย นในระดั บ ประถมศึ กษาตอนตน (ป.1-ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น


เกี่ ย วกั บ สิ่ งต า ง ๆ รอบตั ว และเรี ย นรู ได ดีที่สุดดวยการคน พบ จากการลงมือปฏิบัติดวยตนเองโดยอาศัย
ประสาทสัมผัสทั้งหา ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนตน จึงควรใหโอกาสนักเรียนมี
สวนรวมในการลงมือปฏิบัติ การสํารวจตรวจสอบ การคนพบ การตั้งคําถามเพื่อนําไปสูการอภิปราย การ
แลกเปลี่ ย นผลการทดลองด ว ยคํ า พู ด หรื อภาพวาด การอภิป รายเพื่อสรุป ผลรว มกัน สําหรับ นักเรีย นใน
ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสูขั้นการ
คิดแบบนามธรรม มี ความสนใจในสิ่ งต าง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบเขาดว ยกัน อยางไร
และทํางานอยางไร นักเรียนในชวงวัยนี้ตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางาน
แบบรวมมือ ดังนั้นจึงควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซึ่งจะเปนการสรางความสามัคคี
และประสานสัมพันธระหวางนักเรียนในระดับนี้ดวย

การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร
การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใชเพื่อศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัว
อยางเปนระบบ และเสนอคําอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู
หลากหลาย เชน การสํารวจ การสืบคน การทดลอง การสรางแบบจําลอง
นักเรียนทุกระดับชั้นควรไดรับโอกาสในการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรและพัฒนาความสามารถ
ในการคิดและแสดงออกดวยวิธีการที่เชื่อมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซึ่งรวมทั้งการตั้งคําถาม การวางแผนและ
ดํ าเนิ นการสื บเสาะหาความรู การใช เครื่ องมื อและเทคโนโลยี ที่ เหมาะสมในการรวบรวมข อมู ล การคิ ดอย างมี
วิ จารณญาณและมี เหตุ ผลเกี่ ยวกั บความสั มพั นธระหวางพยานหลั กฐานและการอธิ บาย การสร างและวิ เคราะห
คําอธิบายที่หลากหลาย และการสื่อสารขอโตแยงทางวิทยาศาสตร
การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเนื่องกัน
จากที่เนนครูเปนสําคัญไปจนถึงเนนนักเรียนเปนสําคัญ โดยแบงไดดังนี้
• การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทาง (Structured Inquiry) ครูเปนผูตั้งคําถามและบอก
วิธีการใหนักเรียนคนหาคําตอบ ครูชี้แนะนักเรียนทุกขั้นตอนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร
• การสืบเสาะหาความรูแบบทั้งครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) ครูเปนผูตั้งคําถาม
และจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลอง
ดวยตัวเอง
• การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทํากิจกรรมตามที่ครู
กําหนด นักเรียนพัฒนาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามที่ครูตั้งขึ้น นักเรียนตั้งคําถามในหัวขอที่
ครูเลือก พรอมทั้งออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
บ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหองเรียน
เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรู
ทางวิทยาศาสตรตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี
รูปแบบที่หลากหลายตามบริบทและความพรอมของครูและนักเรียน เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด
(Open Inquiry) ที่ นั กเรี ย นเป น ผูควบคุ มการสืบ เสาะหาความรูของตนเองตั้งแตการสรางประเด็นคําถาม
การสํารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายสิ่งที่ศึกษาโดยใชขอมูล (Data) หรือหลักฐาน (Evidence)
ที่ไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรูที่เกี่ยวของหรือคําอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง
คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอื่น นอกจากนี้ ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูที่ตนเองเปนผูกําหนดแนวใน
การทํากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครูสามารถแนะนํานักเรียนไดตามความเหมาะสม
การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมีลักษณะ
สําคัญของการสืบเสาะ ดังนี้

ภาพ วัฏจักรการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหองเรียน

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ป

การจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางจากศาสตรอื่น ๆ
เป น ค า นิ ย ม ข อ สรุ ป แนวคิ ด หรื อ คํ า อธิ บ ายที่ บ อกว า วิ ท ยาศาสตร คื อ อะไร มี ก ารทํ า งานอย า งไร
นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม
ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายเหลานี้จะผสมกลมกลืนอยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ
พัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ
ประสบการณที่ครูจัดใหแกนักเรียน ความสามารถในการสังเกตและการสื่อความหมายของนักเรียนในระดับนี้
คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและแนวคิด
ทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับนี้เริ่มที่จะเขาใจวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตรทํางาน
อยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรโดยผานการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเรื่องราวเกี่ยวกับ
นักวิทยาศาสตร และจากการอภิปรายในหองเรียน
นั กเรี ย นในระดั บ ประถมศึ ก ษาตอนปลายซึ่ งกํ าลัง พัฒ นาฐานความรูโ ดยใชการสังเกตมากขึ้ น
สามารถนําความรูมาใชเพื่อกอใหเกิดความคาดหวังเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียน
ในระดั บนี้ ควรเน น ไปที่ ทักษะการตั้ งคํ า ถามเชิ งวิ ท ยาศาสตร การสรา งคํา อธิบายที่มีเหตุผ ลโดยอาศั ย
พยานหลักฐานที่ปรากฏ และการสื่อความหมายเกี่ยวกับความคิดและการสํารวจตรวจสอบของตนเองและของ
นักเรียนคนอื่น ๆ นอกจากนี้เรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถเพิ่มความตระหนักถึงความหลากหลายของคน
ในชุ มชนวิ ทยาศาสตร นั กเรี ย นในระดั บ นี้ ควรมีสว นรว มในกิจ กรรมที่ชว ยใหเขาคิด อยา งมีวิจ ารณญาณ
เกี่ยวกับพยานหลักฐานและความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานกับการอธิบาย

การเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนแตละระดับชั้นมีพัฒนาการเปนลําดับดังนี้

ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 สามารถ ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 สามารถ


• ตั้งคําถาม บรรยายคําถาม เขียนเกี่ยวกับ • ออกแบบและดําเนินการสํารวจตรวจสอบเพื่อ
คําถาม ตอบคําถามที่ไดตั้งไว
• บันทึกขอมูลจากประสบการณ สํารวจ • สื่อความหมายความคิดของเขาจากสิ่งที่สังเกต
ตรวจสอบชั้นเรียน • อานและการอภิปรายเรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับ
• อภิปรายแลกเปลี่ยนหลักฐานและความคิด วิทยาศาสตร
• เรียนรูวาทุกคนสามารถเรียนรูวิทยาศาสตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ผ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 สามารถ ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 สามารถ


• ตั้งคําถามที่สามารถตอบไดโดยการใช • ทําการทดลองอยางงาย ๆ
ฐานความรูทางวิทยาศาสตรและการสังเกต • ใหเหตุผลเกี่ยวกับการสังเกต

• ทํางานในกลุมแบบรวมมือเพื่อสํารวจ การสื่อความหมาย
ตรวจสอบ • ลงมือปฏิบัติการทดลองและการอภิปราย
• คนหาแหลงขอมูลที่เชื่อถือไดและบูรณาการ
• คนหาขอมูลและการสื่อความหมายคําตอบ
ขอมูลเหลานั้นกับการสังเกตของตนเอง
• สรางคําบรรยายและคําอธิบายจากสิ่งที่
• ศึกษาประวัติการทํางานของนักวิทยาศาสตร
สังเกต
• นําเสนอประวัติการทํางานของ
นักวิทยาศาสตร

ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สามารถ ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สามารถ


• สํารวจตรวจสอบ • สํารวจตรวจสอบที่เนนการใชทักษะ
• ตั้งคําถามทางวิทยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร
• ตีความหมายขอมูลและคิดอยางมี • รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ การมองหา
วิจารณญาณโดยมีหลักฐานสนับสนุน แบบแผนของขอมูล การสื่อความหมาย
คําอธิบาย และการแลกเปลีย่ นเรียนรู
• เขาใจธรรมชาติวิทยาศาสตรจากประวัติการ • เขาใจความแตกตางระหวางวิทยาศาสตร
ทํางานของนักวิทยาศาสตรที่มีความมานะ และเทคโนโลยี
อุตสาหะ • เขาใจการทํางานทางวิทยาศาสตรผาน
ประวัติศาสตรของนักวิทยาศาสตรทุกเพศ
ที่มีหลายเชื้อชาติ วัฒนธรรม

สามารถอ า นข อมู ล เพิ่ มเติ มเกี่ ย วกับ การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสืบ เสาะหาความรูทาง


วิทยาศาสตรและการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตร
จากคูมือการใชหลักสูตร

http://ipst.me/8922

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ฝ

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรูวิทยาศาสตร

แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542


และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เปด
โอกาสใหผูเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง
เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ในหองเรียน เพราะสามารถทําใหผูสอนประเมินระดับพัฒนาการการเรียนรูของผูเรียนได
กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ
ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคนควา กิจกรรมศึกษาปญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไรก็ตาม
ในการทํ า กิ จ กรรมเหล า นี้ ต อ งคํ า นึ ง ว า นั ก เรี ย นแต ล ะคนมี ศั ก ยภาพแตกต า งกั น นั ก เรี ย นจึ ง อาจทํ า งาน
ชิ้นเดียวกันไดสําเร็จในเวลาที่แตกตางกัน และผลงานที่ไดก็อาจแตกตางกันดวย เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมเหลานี้
แล ว ก็ ต องเก็ บ รวบรวมผลงาน เช น รายงาน ชิ้น งาน บัน ทึก และรวมถึงทัก ษะปฏิบั ติตา ง ๆ เจตคติท าง
วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรียนไดทําและผลงานเหลานี้ตองใช
วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก
นึกคิดที่แทจริงของนักเรียนได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเมื่อมีการประเมินหลาย ๆ ดาน
หลากหลายวิธีในสถานการณตาง ๆ ที่สอดคลองกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเนื่อง เพื่อจะไดขอมูลที่
มากพอที่จะสะทอนความสามารถที่แทจริงของนักเรียนได
จุดมุงหมายหลักของการวัดผลและประเมินผล
1. เพื่อคนหาและวินิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญ
ในการสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพื่อเปน
แนวทางใหครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได
อยางเต็มศักยภาพ
2. เพื่อใชเปนขอมูลยอนกลับสําหรับนักเรียนวามีการเรียนรูอยางไร
3. เพื่อใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดานการเรียนรูของนักเรียน
แตละคน
การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย การประเมิน
เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน
การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพื่อบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมี
พื้นฐานความรู ประสบการณ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดที่คลาดเคลื่อนอะไรบาง การประเมินแบบนี้สามารถ
บงชี้ไดวานักเรียนคนใดตองการความชวยเหลือเปนพิเศษในเรื่องที่ขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพื่อพัฒนา
ทักษะที่จําเปน กอนที่จ ะเรีย นเรื่ องต อไป การประเมิน แบบนี้ ยังชวยบงชี้ทักษะหรื อแนวคิ ด ที่มีอยู แล ว ของ
นักเรียนอีกดวย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
พ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

การประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน เปนการประเมินในระหวางชวงที่มีการเรียนการสอน
การประเมินแบบนี้จ ะชวยบงชี้ร ะดับ ที่นักเรีย นกําลั งเรีย นอยูในเรื่ องที่ ไดส อนไปแลว หรือบงชี้ความรู ข อง
นักเรียนตามจุดประสงคการเรียนรูที่ไดวางแผนไว เปนการประเมินที่ใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับครู
วาเปนไปตามแผนการที่วางไวหรือไม ขอมูลที่ไดจากการประเมินแบบนี้ไมใชเพื่อเปาประสงคในการใหระดับ
คะแนน แตเพื่อชวยครูในการปรับปรุงการสอน และเพื่อวางแผนประสบการณตาง ๆ ที่จะใหกับนักเรียนตอไป
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแลว สวนมากเปน
“การสอบ” เพื่อใหระดับคะแนนแกนักเรียน หรือเพื่อใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงชี้
ความกาวหนาในการเรี ยน การประเมินแบบนี้ถือว ามีความสําคัญ ในความคิดของผูป กครอง นักเรียน ครู
ผูบริหาร อาจารยแนะแนว ฯลฯ แตก็ไมใชเปนการประเมินภาพรวมทั้งหมดของความสามารถของนักเรียน ครู
ตองระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมเพื่ อตั ดสินผลการเรีย นของนักเรียน ทั้งนี้เพื่อใหเกิด ความสมดุ ล ความ
ยุติธรรม และเกิดความเที่ยงตรง
การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมี การเปรียบเที ยบกั บสิ่งอางอิง สวนมากการประเมิน
มักจะอางอิงกลุม (norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุม
หรือคะแนนของนักเรียนคนอื่น ๆ การประเมินแบบกลุมนี้จะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” อยางไรก็ตามการประเมิน
แบบอิงกลุมนี้จะมีนักเรียนครึ่งหนึ่งที่อยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิง
เกณฑ (criterion reference) ซึ่ งเป นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑที่ตั้ งเอาไวโดยไม
คํานึงถึงคะแนนของนักเรียนคนอื่น ๆ ฉะนั้นจุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกให
ทราบวาความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวาบรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยที่นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละ
ชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสินวาประสบผลสําเร็จก็ตอเมื่อ นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละชั้น
หรือโรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑที่ตั้งไว
ข อมู ลที่ ใช สําหรั บการประเมิ นเพื่ อวิ นิ จฉั ย หรื อเพื่ อปรั บปรุงการเรี ยนการสอน หรือเพื่อตั ดสิ นผลการเรี ยน
การสอนสามารถใชการประเมิ นแบบอิงกลุมหรื ออิ งเกณฑ เทาที่ ผานมาการประเมิ นเพื่ อตั ดสิ นผลการเรี ยน
การสอนจะใชการประเมินแบบอิงกลุม
แนวทางการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู
การเรียนรูจะบรรลุตามเปาหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่วางไว ควรมีแนวทางดังตอไปนี้
1. วัดและประเมินผลทั้งความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
คานิยมดานวิทยาศาสตร รวมทั้งโอกาสในการเรียนรูของนักเรียน
2. วิธีการวัดและประเมินผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว
3. เก็บขอมูลจากการวัดและประเมินผลอยางตรงไปตรงมา และตองประเมินผลภายใตขอมูลที่มีอยู
4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนําไปสูการแปลผลและลงขอสรุปที่สมเหตุสมผล
5. การวัดและประเมินผลตองมีความเที่ยงตรงและเปนธรรม ทั้งในดานของวิธีการวัดและโอกาสของการ
ประเมิน

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ฟ

วิธีการและแหลงขอมูลที่ใชในการวัดผลและประเมินผล
เพื่อใหการวัดผลและประเมินผลไดสะทอนความสามารถที่แทจริงของนักเรียน ผลการประเมินอาจ
ไดมาจากแหลงขอมูลและวิธีการตาง ๆ ดังตอไปนี้
1. สังเกตการแสดงออกเปนรายบุคคลหรือรายกลุม
2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน
3. การสัมภาษณทั้งแบบเปนทางการและไมเปนทางการ
4. บันทึกของนักเรียน
5. การประชุมปรึกษาหารือรวมกันระหวางนักเรียนและครู
6. การวัดและประเมินผลภาคปฏิบัติ
7. การวัดและประเมินผลดานความสามารถ
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรูโดยใชแฟมผลงาน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ภ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเนื้อหาและกิจกรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลม 2


กับตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

หนวยการ เวลา
ชื่อกิจกรรม ตัวชี้วัด
เรียนรู (ชั่วโมง)
หนวยที่ 3 แสง บทที่ 1 แสง 1 • บรรยายการเคลื่อนที่ของแสง
และสิ่งมีชีวิต เรื่องที่ 1 แสงและการมองเห็น 1 จากแหล ง กํ า เนิ ด แสง และ
กิจกรรมที่ 1.1 แสงเคลื่อนที่อยางไร 3 อธิ บ ายการมองเห็น วัต ถุจ าก
กิจกรรมที่ 1.2 มองเห็นวัตถุตาง ๆ ไดอยางไร 3 หลักฐานเชิงประจักษ
กิจกรรมทายบทที่ 1 แสงและการมองเห็น 2 • ตระหนักในคุณคาของความรู
ของการมองเห็ น โดยเสนอ
แนวทางการปองกัน อั น ตราย
จากการมองเห็ น วั ต ถุ ที่ อ ยู ใ น
บ ริ เ ว ณ ที่ มี แ ส ง ส ว า ง ไ ม
เหมาะสม

บทที่ 2 สิ่งมีชีวิต 1 • เปรี ย บเที ย บลั ก ษณะข อง


เรื่องที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต จาก
กิจกรรมที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตมี 3 ขอมูลที่รวบรวมได
ลักษณะแตกตางกันอยางไร • ระบุวาพืชต องการแสงและน้ํ า
เรื่องที่ 2 ชีวิตของพืช 1 เพื่ อ การเจริ ญ เติ บ โต โดยใช
กิจกรรมที่ 2.1 พืชตองการอะไรในการ 3 ขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ
เจริญเติบโต • ตระหนักถึงความจําเปนที่พืช
กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกเปน 4 ตองไดรับน้ําและแสงเพื่อการ
อยางไร เจริ ญ เติ บ โต โดยดู แ ลพื ช ให
กิจกรรมทายบทที่ 2 สิ่งมีชีวิต 2 ไ ด รั บ สิ่ ง ดั ง ก ล า ว อ ย า ง
เหมาะสม
• สร า งแบบจํ า ลองที่ บ รรยาย
วัฏจักรชีวิตของพืชดอก

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ม

หนวยการ เวลา
ชื่อกิจกรรม ตัวชี้วัด
เรียนรู (ชั่วโมง)
หนวยที่ 4 ดิน บทที่ 1 รูจักดิน 1 • ระบุสวนประกอบของดิน และ
รอบตัวเรา เรื่องที่ 1 ดินในทองถิ่น 1 จํ า แนกชนิ ด ของดิ น โดยใช
กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสวนประกอบอะไรบาง 2 ลักษณะเนื้อดินและการจับตัว
กิจกรรมที่ 1.2 ดินในทองถิ่นมีลักษณะและ 4 เปนเกณฑ
สมบัติอยางไร • อธิ บ ายการใช ป ระโยชน จ าก
เรื่องที่ 2 ประโยชนของดิน 1 ดิน จากขอมูลที่รวบรวมได
กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชนอยางไร 2
กิจกรรมทายบทที่ 2 รูจักดิน 2
แบบทดสอบทายเลม 1
รวมจํานวนชั่วโมง 39

หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาที่ใช และสิ่งที่ตองเตรียมลวงหนานั้น ครูสามารถปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมไดตามความ


เหมาะสมของสภาพทองถิ่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ย คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2

รายการวัสดุอุปกรณวิทยาศาสตร ป.2 เลม 2

ลําดับที่ รายการ จํานวน/กลุม จํานวน/หอง จํานวน/คน


หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต
1 ชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง 1 ชุด
2 ธูป 1 หอ
3 ไมขีดไฟ 1 กลัก
4 ลูกบอลพลาสติกสี 1 ลูก
5 เทียนไข 1 เลม
6 กลองกระดาษทึบ 2 กลอง
7 ดินน้ํามัน 1 กอน
8 ฝาขวดน้ํา 1 ฝา
9 เทปใส 1 มวน
10 เมล็ดพืช 60 เมล็ด
11 กระถาง 4 ใบ
12 ดิน 2 ถุง
13 ภาชนะใสน้ํา 1 ใบ
14 ชอน 1 คัน
15 ไมบรรทัด 1 อัน
16 บัตรภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืช
1 ชุด
ชนิดตาง ๆ
17 เมล็ดทานตะวัน หรือเมล็ดพริก 10 เมล็ด
หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
1 ไมหรือตะเกียบสําหรับเขี่ยดิน 1 อัน
2 แวนขยาย 2-3 อัน
3 จานกระดาษหรือภาชนะใสดิน 4 ใบ 1 ใบ
4 ชอนพลาสติก 1 คัน
5 แกวพลาสติกใส 5 ใบ
6 น้ํา 1/2 แกว

 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 ร

ลําดับที่ รายการ จํานวน/กลุม จํานวน/หอง จํานวน/คน


7 ตัวอยางดินในทองถิ่น ประมาณ
300 กรัม
8 ถุงพลาสติกใส 1 ใบ
9 ยางรัดของ 1 วง
10 ชุดทดลองการอุมน้ํา 4 ชุด
11 ดินเหนียว ประมาณ
200 กรัม
12 ดินรวน ประมาณ
200 กรัม
13 ดินทราย ประมาณ
200 กรัม
14 ปากกาเคมี 1 ดาม
15 ชอนโตะ 1 อัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต
หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชวี ิต
ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

บท เรื่อง กิจกรรม ลําดับการจัดการเรียนรู ตัวชี้วัด


บทที่ 1 แสง เรื่องที่ 1 แสงและ กิจกรรมที่ 1.1 • แสงเคลื่ อ นที่ จ ากแหล ง กํ า เนิ ด แสง ว 2.3
การมองเห็น แสงเคลื่อนที่ ทุกทิศทางและเปนแนวตรง ป.2/1 บรรยายแนวการ
อยางไร • การมองเห็ น วั ต ถุ ต า ง ๆ ต อ งมี แ สง เคลื่อนที่ของแสงจาก
เขาสูตา แหลงกําเนิดแสง และ
• การมองวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง อธิบายการมองเห็นวัตถุ
กิจกรรมที่ 1.2 จะมีแสงจากแหลงกําเนิดแสงเขาสูตา
จากหลักฐานเชิงประจักษ
มองเห็นวัตถุตาง ๆ โดยตรง แตการมองวัตถุที่ไมเปน
แหลงกําเนิดแสง ตองอาศัยแสงจาก ป.2/2 ตระหนักในคุณคา
ไดอยางไร
วัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง ของความรูของการ
ตกกระทบวัตถุแลวสะทอนเขาสูตา มองเห็นโดยเสนอแนะแนว
• การมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวาง ทางการปองกันอันตราย
มากหรือนอยเกินไปจะเปนอันตราย
จากการมองวัตถุที่อยูใน
ตอตา ปองกันไดโดยการจัดความ
สวางใหเหมาะสมกับการทํากิจกรรม บริเวณที่มีความสวาง
ตาง ๆ ไมเหมาะสม

รวมคิด รวมทํา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

บท เรื่อง กิจกรรม ลําดับการจัดการเรียนรู ตัวชี้วัด


บทที่ 2 สิ่งมีชีวิต เรื่ อ งที่ 1 สิ่ ง มี ชี วิ ต กิจกรรมที่ 1 • สิ่ ง ที่ อ ยู ร อ บ ตั ว เ ร า มี ทั้ ง ที่ เ ป น ว 1.3
และสิ่งไมมีชีวิต สิ่งมีชีวิตและ สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต สิ่ ง มี ชี วิ ต ป . 2/ 1 เ ป รี ย บ เ ที ย บ
สิ่งไมมีชีวิต ต อ ง ก า ร อ า ห า ร มี ก า ร ห า ย ใ จ ลั ก ษณะของสิ่ ง มี ชี วิ ต
มีลักษณะแตกตาง เจริ ญ เติ บ โต ขั บ ถ า ย เคลื่ อ นไหว และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต จาก
กันอยางไร ไดดว ยตนเอง ตอบสนองตอสิ่งเรา
ขอมูลที่รวบรวมได
และสื บ พั น ธุ ส ว นสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต ไม มี
ลักษณะดังกลาว

เรื่องที่ 2 ชีวิตของพืช กิจกรรมที่ 2.1 • พื ช ต อ งการน้ํ า แสง อากาศ และ ว 1.2


พืชตองการอะไร ธาตุอาหารเพื่อการเจริญเติบโต ป.2/1 ระบุวาพืช ตอ งการ
ในการเจริญเติบโต แสงและน้ํ า เพื่ อ การ
เจริ ญ เติ บ โต โดยใช
กิจกรรมที่ 2.2 • พื ช ดอกเมื่ อ เจริ ญ เติ บ โตและมี ดอก
ข อ มู ล จากหลั ก ฐ าน
วัฏจักรชีวิตของ ดอกจะมีการสืบพันธุเปลี่ยนแปลงไป
พืชดอกเปนอยางไร เปนผล ภายในผลมีเมล็ด เมื่อเมล็ด เชิงประจักษ
งอก ต น อ อ นที่ อ ยู ภ ายในเมล็ ด ป.2/2 ตระหนั ก ถึ ง ความ
จะเจริ ญ เติ บ โ ตเป น พื ช ต น ใหม จํ า เป น ที่ พื ช ต อ งได รั บ
พืช ตน ใหมจ ะเจริญ เติบ โตออกดอก น้ํ า และแสงเพื่ อ การ
เ พื่ อ สื บ พั น ธุ มี ผ ล ต อ ไ ป ไ ด อี ก เจริ ญ เติ บ โต โดยดู แ ล
หมุ น เวี ย นต อ เนื่ อ งเป น วั ฏ จั ก รชี วิ ต พืช ใหไดรับ สิ่งดังกลาว
ของพืชดอก
อยางเหมาะสม
ป.2/3 สรางแบบจําลองที่
บรรยายวัฏจักรชีวิต
ของพืชดอก
รวมคิด รวมทํา

2 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

บทที่ 1 แสง
จุดประสงคการเรียนรูประจําบท
เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ
1. บรรยายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง
2. อธิบายการมองเห็นวัตถุ
3. เสนอแนะแนวทางการปองกันอันตรายจากการมองวัตถุ
ในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม

เวลา 10 ชั่วโมง
แนวคิดสําคัญ
แสงมี ลั ก ษณะการเคลื่ อ นที่ เ ป น แนวตรงจาก
แหล ง กํ า เนิ ด แสงทุ ก ทิ ศ ทาง แสงช ว ยในการมองเห็ น
สิ่งตาง ๆ การมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม
จะเป น อั น ตรายต อ ตา ดั ง นั้ น การทํ า กิ จ กรรมต า ง ๆ
ในชีวิตประจําวันตองทําในบริเวณที่มีแสงสวางเหมาะสมกับ
กิจกรรมนั้น ๆ

สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู บทนี้มีอะไร
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 1-15 เรื่องที่ 1 แสงและการมองเห็น
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 1-20
กิจกรรมที่ 1.1 แสงเคลื่อนที่อยางไร
กิจกรรมที่ 1.2 มองเห็นวัตถุตาง ๆ ไดอยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21
กิจกรรมที่
รหัส ทักษะ
1.1 1.2
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต  
S2 การวัด
S3 การใชจํานวน
S4 การจําแนกประเภท
S5 การหาความสัมพันธระหวาง
 สเปซกับสเปซ
 สเปซกับเวลา
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
S7 การพยากรณ 
S8 การลงความเห็นจากขอมูล  
S9 การตั้งสมมติฐาน
S10 การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
S11 การกําหนดและควบคุมตัวแปร
S12 การทดลอง
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป  
S14 การสรางแบบจําลอง  
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C1 การสรางสรรค
C2 การคิดอยางมีวิจารณญาณ
C3 การแกปญหา
C4 การสื่อสาร  
C5 ความรวมมือ  
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 

หมายเหตุ : รหัสทักษะที่ปรากฏนี้ ใชเฉพาะหนังสือคูมือครูเลมนี้

4 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคิดคลาดเคลื่อน
ครูบันทึกแนวคิดที่ไดจากการฟงการสนทนาและการอภิปราย เพื่อนําไปใชในการจัดการเรียนรูใหสามารถแกไขแนวคิด
คลาดเคลื่อนและตอยอดแนวคิดที่ถูกตอง

แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกตอง
ตาของมนุ ษ ย ส ามารถผลิ ต แสงได ดั ง นั้ น เราจึ ง สามารถ ตาของมนุษยไมสามารถผลิตแสงได แตเรามองเห็นสิ่งตาง ๆ ได
มองเห็ น สิ่ ง ต า ง ๆ ได (Sampson & Schleigh, 2013; เพราะมีแสงจากแหลงกําเนิดแสงเขาสูตาของเราโดยตรง หรือมี
Shallcross, 2017) แสงจากแหลงกําเนิดแสงมากระทบวัตถุแลวสะทอนเขาสูตาของ
เรา ( Shallcross, 2017)
แสงเคลื่ อนที่ จ ากตาไปยั งวัตถุ ตาง ๆ (Balzak, Cgafiqi, & แสงไมไดเคลื่อนที่จากตาไปยังวัตถุตาง ๆ แตการที่เรามองเห็น
Kendil, 2009; Shallcross, 2017) วัตถุตาง ๆ ได เพราะมีแสงจากแหลงกําเนิดแสงเขาสูตาของเรา
โดยตรง หรือมีแสงจากแหลง กํ าเนิ ดแสงมากระทบวัต ถุ แ ล ว
สะท อ นเข า สู ต าของเรา (Chew, Foong & Tiong, 2013;
Shallcross, 2017 )
ถาครูพบวามีแนวคิดคาดเคลื่อนใดที่ยังไมไดแกไขจากการทํากิจกรรมการเรียนรู ครูควรจัดการเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อแกไข
ตอไป

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

บทนี้เริ่มตนอยางไร (1 ชัว่ โมง)


1. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นให ร ว มกั น สั ง เกตภาพนํ า หน ว ย จากนั้ น
นําอภิปราย โดยใชแนวคําถาม ดังนี้
1.1 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในรูป บาง (นักเรียนตอบตามสิ่ งที่
สังเกตเห็น เชน เห็นตนไม เห็นแสงอาทิตยสองลอดตามชอง
ระหวางตนไม)
1.2 แสงที่นักเรียนเห็น มีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบตามสิ่งที่
สังเกตเห็น เชน แสงมีสีเหลืองสม เปนลําแสง เปนแนวตรง)
ครูอาจทบทวนความรูพื้นฐานของนักเรียน โดยใชคําถามดังนี้
1.3 นอกจากแสงอาทิ ต ย ใ นภาพ นั ก เรี ย นเคยเห็ น แสงจาก
แหล ง อื่ น อี ก หรื อ ไม อะไรบ า ง (นั ก เรี ย นตอบตาม
ประสบการณหรือความรูพื้นฐานของตนเอง เชน แสงไฟฉาย
แสงเทียน แสงจากหลอดไฟฟา)
1.4 แสงมีประโยชน อยางไร (นักเรียนตอบตามความรู พื้ น ฐาน
หรือประสบการณของตนเอง เชน แสงใหความสวาง ชวยใน
การมองเห็น ใหความอบอุน)
จากนั้นครูอาจตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียน โดยใชคําถาม
ดังนี้
1.5 เรามองเห็นสิ่งตาง ๆ รอบตัวไดอยางไร (นักเรียนตอบตาม ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
ความเขาใจของตนเอง เชน เรามองเห็นสิ่งตาง ๆ โดยอาศัย ครู รั บ ฟ ง เหตุ ผ ลของนั ก เรี ย นเป น
แสงจากแหลงตาง ๆ) สํ า คั ญ ครู ยั งไม เฉลยคํ าตอบใด ๆ
1.6 แสงจากแหล งต า ง ๆ เช น แสงจากดวงอาทิตย มีลักษณะ แตชักชวนใหหาคําตอบที่ถูกตองจาก
การเคลื่ อ นที่ เ ป น อย า งไร (นั ก เรี ย นตอบตามความเข า ใจ กิจกรรมตาง ๆ ในบทเรียนนี้
ของตนเอง)
ครูอาจวาดรูปหลอดไฟฟาและรู ปคนไวบ นกระดาน จากนั้น สุ ม
นักเรียน 2 – 3 คน ใหออกมาอธิบายวาเรามองเห็นหลอดไฟฟา
ไดอยางไรและอธิบายวาเรามองเห็นสิ่งตาง ๆ รอบตัวไดอยางไร
นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง โดยครูยังไมเฉลยคําตอบ
ที่ถูกตอง
2. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นศึ ก ษาเรื่ อ งแสงและสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยให อ า น
ชื่อหนวย และอานคําถามสําคัญประจําหนวย ในหนังสือเรียน
ดังนี้

6 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

2.1 เรามองเห็นสิ่งตาง ๆ ไดอยางไร


2.2 บอกไดอยางไรวาสิ่งใดเปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งใดเปนสิ่งไมมีชีวิต
2.3 การดูแลพืชดอกใหเจริญเติบโตจนครบวัฏจักรชีวิตทําไดอยางไร
นักเรียนตอบคําถามตามประสบการณของนั กเรียน โดยครูยังไมเฉลย
คําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตอบอีกครั้งหลังจากเรียนจบหนวย
นี้แลว
3. นั ก เรี ย นอ า นชื่ อ บท และอ า นจุ ด ประสงค ก ารเรี ย นรู ป ระจํ า บท
ในหนั งสื อเรี ย น หน า 1 จากนั้ น สอบถามความเขาใจโดยใชคําถามวา
เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถทําอะไรไดบาง (บรรยายลักษณะการ
เคลื่ อนที่ ของแสงจากแหล งกํ า เนิ ดแสง อธิ บ ายการมองเห็น วัตถุ และ
เสนอแนะแนวทางการป องกัน อันตรายจากการมองวัต ถุในบริ เวณที่ มี
แสงสวางไมเหมาะสม)
4. นักเรียนอานชื่อบท และแนวคิดสําคัญ ในหนังสือเรียนหนา 2 จากนั้น
ครูใชคําถามเพื่ อตรวจสอบความเข า ใจว า จากการอานแนวคิด สํา คัญ
นั ก เรี ย นคิ ด ว า จะได เ รี ย นเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งอะไรบ า ง (เรื่ อ งลั ก ษณะการ
เคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง การมองเห็นวัตถุ การมองวัตถุใน
บริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม)
5. ครูชักชวนใหนักเรียนสังเกตรูป และอานเนื้อเรื่องในหนา 2 โดยใชวิธีอาน
ตามความเหมาะสมกั บ ความสามารถของนั กเรีย น จากนั้น ตรวจสอบ
ความเขาใจในการอาน โดยใชคําถามดังตอไปนี้
5.1 สถานการณในเรื่องนี้เกี่ยวของกับอะไร (การเลนเกมในโทรศั พท
เคลื่อนที่ หรือการจองมองสิ่งตาง ๆ ในที่ทมี่ ีแสงสวางไมเพียงพอ)
5.2 นักเรียนเคยทํากิจกรรมตาง ๆ นอกเหนือจากสถานการณในเรื่ อง
ที่อานในบริเวณที่มีแสงสวางไมเพียงพอหรือไม อะไรบาง (นักเรียน
ตอบตามประสบการณของตนเอง เชน เลนเกมหรืออานหนั งสื อ
ในหองทีม่ ีแสงสวางนอยเกินไป)
5.3 ปญหาในเรื่องนี้คืออะไร (การจองมองสิ่งตาง ๆ ในที่ที่มีแสงสวาง ถานักเรียนไมสามารถตอบ
ไมเพียงพอ จะมีผลตอการมองเห็นและเปนอันตรายตอตาหรือไม) คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับแสงในสํารวจความรูกอนเรี ยน คําตอบ ครูควรใหเวลานั กเรียน
ในแบบบั น ทึ กกิ จ กรรมหน า 2 โดยนั กเรี ย นอ า นคําถาม ครูตรวจสอบ คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
ความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับคําถามแตละขอ จนแนใจวานักเรียน อดทน และรั บฟ งแนวความคิ ด
สามารถทํ า ได ด ว ยตนเอง จึ ง ให นั ก เรี ย นตอบคํ า ถาม โดยคํ า ตอบ ของนักเรียน
ของแตละคนอาจแตกตางกัน และคําตอบอาจถูกหรือผิดก็ได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 7
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

7. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีแนวคิด
เกี่ยวกับเรื่องแสงอย างไร หรืออาจสุมให นั กเรี ยน 2 – 3 คน นําเสนอ
คําตอบของตนเอง ครูยังไมตองเฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับ การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
มาตรวจสอบอีกครั้งหลังจากเรียนจบบทนี้แลว ทั้งนี้ครูอาจบันทึกแนวคิด เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
คลาดเคลื่ อนหรื อแนวคิ ดที่ น า สนใจของนั กเรี ย น แลว นํามาออกแบบ
การจัดการเรียนการสอนเพื่อแกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนใหถูกตอง และ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดเรียน
ตอยอดแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน เรื่ อ งที่ 1 แสงและการมองเห็ น ซึ่ ง เป น
สถานการณเกี่ยวกับการทัศนศึกษาในถ้ํา
เพื่อใหนักเรีย นศึ ก ษาเรื่ องการมองเห็ น
ดั ง นั้ น ครู อ าจจะเตรี ย มห อ งมื ด เพื่ อ ให
นั ก เรี ย นเข า ใจว า เมื่ อ ต อ งอยู ใ นที่ มื ด
การมองเห็นจะเปนอยางไร

8 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม
การสํารวจความรูกอนเรียน นักเรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผิดก็ไดขึ้นอยูกับความรูเดิมของนักเรียน
แตเมื่อเรียนจบบทเรียนแลว ใหนักเรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกครั้งและแกไขใหถูกตอง ดังตัวอยาง

 

 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ดวงตาและแหลงกําเนิดแสง

10 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

เรื่องที่ 1 แสงและการมองเห็น

ในเรื่องนี้นั กเรีย นจะได เรีย นรู เ กี่ยวกับ แสงและการมองเห็น


โดยจะไดสังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง
อธิ บ ายการมองเห็ น วั ต ถุ ที่ เ ป น แหล ง กํ า เนิ ด แสงและวั ต ถุ ที่ ไ ม เ ป น
แหลงกําเนิดแสงโดยใชแผนภาพแสดงแนวการเคลื่อนที่ของแสงจาก
วัตถุนั้นไปยังตาผูสังเกต ตลอดจนศึกษาและเสนอแนะแนวทางการ
ปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับตาเนื่องจากการมองวัตถุในบริเวณที่มี
แสงสวางไมเหมาะสม

จุดประสงคการเรียนรู
1. สังเกต เขียนแผนภาพ และบรรยายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสง
จากแหลงกําเนิดแสง
2. สังเกตและอธิบายการมองเห็นวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง
3. สังเกตและอธิบายการมองเห็นวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง
4. รวบรวมขอมูลและเสนอแนะแนวทางการปองกันอันตรายจาก
การมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม

เวลา 7 ชั่วโมง

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
ชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง ธูป ไมขีดไฟ ลูกบอล เทียนไข
กลองกระดาษ เทปใส ดินน้ํามัน ฝาขวดน้ํา

สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 4-13
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 4-16
3. แบบพับชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง http://ipst.me/10507

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 11
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู (60 นาที)


ขั้นตรวจสอบความรู (10 นาที)
1. ครูต รวจสอบความรู เ ดิ มของนั กเรีย นเกี่ ย วกั บ แหลงกําเนิดแสง
โดยอาจแจกกระดาษใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนชื่อวัตถุที่เ ป น ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
แหลงกําเนิดแสง และวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสงที่นักเรียนรูจัก ครู รั บ ฟ ง เหตุ ผ ลของนั ก เรี ย นเป น
จากนั้นสุมนักเรียนออกมานําเสนอและบอกเหตุผลวาเพราะเหตุใด สํ า คั ญ ครู ยั งไม เฉลยคํ าตอบใด ๆ
จึงคิ ด เช น นั้ น โดยครู ยั งไม ตองเฉลยแต ให นั กเรี ย นเก็ บ คํ า ตอบ แตชักชวนใหหาคําตอบที่ถูกตองจาก
ของตนเองไว เพื่อนํามาเปรียบเทียบเมื่ออานเรื่องนี้จบ การอานเนื้อเรื่อง

ขั้นฝกทักษะจากการอาน (35 นาที)


2. นักเรียนอานชื่อเรื่อง และคําถามใน คิดกอนอาน ในหนังสือเรียน
หนา 4 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพื่อหาคําตอบตามความเขาใจ
ของกลุ ม ครู บั น ทึ ก คํ า ตอบของนั ก เรี ย นบนกระดานเพื่ อ ใช
เปรียบเทียบกับคําตอบภายหลังการอานเนื้อเรื่อง
3. นั ก เรี ย นอ า นคํ า ใน คํ า สํ า คั ญ ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ
(หากนักเรียนอานไมได ครูควรสอนอานใหถูกตอง)
4. นักเรียนอานเนื้อเรื่องตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถ
ของนักเรียน และรวมกันอภิปรายใจความสําคัญ โดยใชคําถาม
ดังนี้
4.1 เมื่อเดินลึกเขาไปในถ้ํา ทําไมจึงมองเห็นสิ่งตาง ๆ ไมชัดเจน
(เพราะภายในถ้ําคอย ๆ มืดลง)
4.2 ทําอยางไรนักเรียนที่อยูในถ้ําจึงจะมองเห็นสิ่งตาง ๆ ในถ้ํา
ชัดเจนขึ้น (เปดไฟฉาย)
ถานักเรียนไมสามารถตอบ
4.3 สิ่ ง ที่ นั ก เรี ย นพบภายในถ้ํ า คื อ อะไร (หิ น งอก หิ น ย อ ยที่ มี
คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
รูปรางตาง ๆ)
คําตอบ ครูควรใหเวลานั กเรียน
4.4 เพราะเหตุ ใ ดเมื่ อ เป ด ไฟฉายจึ ง มองเห็ น หิ น งอกหิ น ย อ ย
คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
(เพราะไฟฉายทําใหเกิดแสง)
อดทน และรั บฟ งแนวความคิ ด
4.5 วัตถุที่ทําใหเกิดแสงเรียกวาอะไร (แหลงกําเนิดแสง)
ของนักเรียน
4.6 เมื่อเดินเขาไปถึงปลายถ้ํา นักเรียนพบแหลงกําเนิดแสงใด
(ดวงอาทิตย)
4.7 ลั ก ษณะของแสงที่ ส อ งลงมาจากเพดานถ้ํ า เป น อย า งไร
(ลักษณะเปนลําแสงสองลงมาจากชองที่เพดานถ้ํา)

12 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

4.8 แสงจากดวงอาทิ ตย มีป ระโยชน อ ย า งไร (ช ว ยใหม องเห็ น


สิ่งตาง ๆ ทําใหออกจากถ้ําไดอยางปลอดภัย) การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
4.9 จากเนื้ อ เรื่ อ ง แหล ง กํ า เนิ ด แสงมี อ ะไรบ า ง (ไฟฉายและ เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
ดวงอาทิตย)
ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดทํากิจกรรม
4.10 การมองเห็ น สิ่ งต า ง ๆ ต องอาศั ย ส ว นประกอบอะไรบาง
(ดวงตาและแสงจากแหลงกําเนิดแสง) ที่ 1.1 แสงเคลื่อนที่อยางไร โดยการสังเกตการ
เคลื่อนที่ของแสงจากชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของ
ขั้นสรุปจากการอาน (15 นาที) แสงที่ครูเตรียมให ดังนั้นครูควรเตรียมชุดสาธิต
5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวาการมองเห็น ใหเพียงพอกับจํานวนกลุมนักเรียน โดยควรให
สิ่งตาง ๆ นอกจากอาศัยสวนประกอบที่สําคัญ คือ ดวงตา แลว แตละกลุมรวมกั นสังเกตชุดสาธิต 1 ชุด และ
แสงจากแหล ง กํ า เนิ ด แสงก็ เ ป น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ ช ว ยให เ รามองเห็ น
เนื่ อ งจากเป น กิ จ กรรมที่ ต อ งสั ง เกตแนวการ
สิ่งตาง ๆ รอบตัวได
เคลื่อนที่ของแสง ครูอาจตองเตรียมหองใหมืด
6. นักเรี ย นตอบคํ า ถามจากเรื่ องที่ อา นในรู หรื อยั ง ในแบบบั น ทึ ก
กิจกรรมหนา 4 ลงกว า เดิ ม เพื่ อ ให นั ก เรี ย นสั ง เกตแนวการ
7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ เปรี ย บเที ย บคํ า ตอบของ เคลื่อนที่ของแสงไดชัดเจนขึ้น
นั ก เรี ย นในรู ห รื อ ยั ง กั บ คํ า ตอบที่ เ คยตอบและบั น ทึ ก ไว ใ น
คิดกอนอาน จากนั้นใหนักเรียนฝกเขียนคําวา แหลงกําเนิดแสง
ในเขียนเปน ในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 4
8. ครู ใ ห นั ก เรี ย นตรวจสอบรู ป หรื อ ชื่ อ วั ต ถุ ที่ นั ก เรี ย นคิ ด ว า เป น
แหลงกําเนิดแสง และไมเปนแหลงกําเนิดแสงที่นักเรียนบันทึกไว
กอนอานเนื้อเรื่อง และเปดโอกาสใหนักเรียนแกไขคําตอบ หากมี
เวลาครูอาจใหนักเรียนนําเสนอสิ่งที่แกไข พรอมทั้งบอกเหตุผล
ในการแกไขคําตอบ
9. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นตอบคํ า ถามท า ยเรื่ อ งที่ อ า น แสงจาก
แหลงกําเนิดแสงตาง ๆ มีลักษณะการเคลื่อนที่อยางไร
ครู บั น ทึ ก คํ า ตอบของนั ก เรี ย นบนกระดานโดยยั ง ไม เ ฉลย
คําตอบ แตชักชวนใหนักเรียนหาคําตอบจากการทํากิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 13
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ขั้นตอนการประกอบชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง
ครู ส ามารถเตรี ย มทํ า ชุ ด สาธิ ต การเคลื่ อ นที่ ข องแสงล ว งหน า 2
3 4
สําหรับใชในกิจกรรมซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1. เตรียมกลองกระดาษซึ่งอาจเปนกลองเคกแลวนํามาพนสเปรยสีดํา
ด า นในกล อ งเพื่ อ ใช เ ป น ชุ ด สาธิ ต การเคลื่ อ นที่ ข องแสง หรื อ
1
ดาวน โ หลดแผ น พั บ สํ า เร็ จ รู ป จาก QR code แล ว นํ า มาติ ด บน
กระดาษแข็งสีดํา http://ipst.me/10507

2. กรณีที่ใชแผนพับสําเร็จรูป ใหนําแผนพับหมายเลข 1 มาตัดตาม


รอยสีแดงแลวพับตามรอยประ
เจาะรูเพื่อเปนชอง
สําหรับสังเกต

3. พับกระดาษใหเปนรูปกลอง จากนั้นติดแผนใสที่มีขนาดใหญกวา
ชองสี่เหลี่ยมที่อยูบนกลองเพื่อเปนชองสําหรับสังเกต
ติดแผนใส

4. เจาะรู ด า นข า งกล อ ง 1 รู สํ า หรั บ สอดธู ป หรื อ ถ า ใช แ ผ น พั บ


สําเร็จรูป ใหตัดแผนพับหมายเลข 3 แลวนํามาติดทับรูเพื่อเปน
ชองสําหรับเปดปดควันธูป

5. เจาะช อ งด า นล า งของกล อ งแล ว นํ า แผ น พั บ หมายเลข 2


มาประกอบที่บริเวณรูดานบนกลอง

14 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

6. พ น สเปรย สี ดํ า ที่ ลู ก ป ง ปอง จากนั้ น เจาะลู ก ป ง ปองที่ พ น สีแล ว


ใหเปนรูกวางพอที่จะครอบหลอดไฟฟาได แลวใชเข็มหมุดเจาะรู
ใหรอบลูกปงปอง หรือใชแผนพับตัวครอบหลอดไฟฟาหมายเลข 4
มาตั ด และพั บ ตามรอย แล ว ประกอบเป น ตั ว ครอบหลอดไฟฟ า
รูปทรงตาง ๆ
7. นําลูกปงปองหรือตัวครอบหลอดไฟฟารูปทรงตาง ๆ ที่เจาะรูแลว
มาครอบหลอดไฟฟาขนาด 2.5 V

8. นําสายไฟฟาจากขั้วหลอดไฟฟาที่ใสตัวครอบหลอดเรียบรอยแลว
สอดออกมาดานนอกของกลองแลวตอเขากับฐานใสถานไฟฉาย
ขนาด AA 1.5 V 2 กอน

9. ปรั บ ตั ว ครอบหลอดไฟฟ า ที่ อ ยู ภ ายในกล อ งให อ ยู ที่ ร ะดั บ


กลางกล อ งเพื่ อ ให ส ามารถสั ง เกตลํ า แสงภายในกล อ งขณะทํ า
กิจกรรมไดงายและรอบทิศทาง
10.ปดกลองโดยใชเทปใสในการยึดติด
** ครูอาจเตรียมหลอดไฟฟาลักษณะตาง ๆ เพิ่มเติมจากทรงกลม
เพื่อใหนักเรียนไดสังเกตการลักษณะการเคลื่อนที่ของแสง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 15
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

วัตถุที่ทําใหเกิดแสงได

ไฟฉายและดวงอาทิตย

แหลงกําเนิดแสง

แหลงกําเนิดแสง

16 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมที่ 1.1 แสงเคลื่อนที่อยางไร


กิจ กรรมนี้ นั กเรี ย นจะได ฝกการสังเกต เขี ย นแผนภาพ และ
บรรยายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง

เวลา 3 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู
สังเกต เขียนแผนภาพ และบรรยายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสง
จากแหลงกําเนิดแสง

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
สิ่งที่ครูตองเตรียม/หอง
1. ธูป 1 หอ
2. ไมขีดไฟ 1 กลัก
สิ่งที่ครูตองเตรียม/กลุม
ชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง 1 ชุด
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 5-7
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 5-9
S1 การสังเกต 3. วีดิทัศนตวั อยางปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรสําหรับ
S8 การลงความเห็นจากขอมูล ครู เรื่องแสงเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดแสง
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป อยางไร
S14 การสรางแบบจําลอง http://ipst.me/9866

ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 17
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูชวนนักเรียนดูวีดิทัศนหรือภาพตาง ๆ ที่มีแสงจากแหลงกําเนิด
แสงที่หลากหลาย เชน แสงจากหลอดไฟฟา แสงจากดวงอาทิตย
ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
แสงจากไฟฉาย จากนั้นถามนักเรียนวาแสงจากแหลงกําเนิดแสง
ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
ตาง ๆ เคลื่อนที่อยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง)
และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
2. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน โดยรวมกันอภิปราย
ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
เพื่อตรวจสอบความเขาใจจุดประสงคในการทํากิจกรรม ตามแนว
ตนเองจากการทํากิจกรรม
คําถาม ดังนี้
2.1 กิ จ กรรมนี้ นั ก เรี ย นจะได เ รี ย นเรื่ อ งอะไร (ลั ก ษณะการ
เคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง)
2.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องนี้ดวยวิธีใด (การสังเกต)
2.3 เมื่ อเรี ย นแล ว นั กเรี ย นจะทํ า อะไรได (เขี ย นแผนภาพและ
บรรยายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง)
3. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 5 และ
อานสิ่งที่ตองใชในการทํากิจกรรม ชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง
4. นักเรียนอานทําอยางไร จากนั้นรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปลําดับ
ขั้ น ตอนการทํ า กิ จ กรรมตามความเข า ใจ โดยใช แ นวคํ า ถาม
ดังตอไปนี้
4.1 นักเรียนตองสังเกตสิ่งใดเปนอันดับแรก (สังเกตสวนประกอบ
ของชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง)
4.2 เมื่อสังเกตชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสงแลว นักเรียนตองทํา
อะไรตอ (เปดไฟของชุดสาธิต แลวสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้น และระบุแหลงกําเนิดแสง)
4.3 นักเรียนจะบันทึกผลการสังเกตโดยวิธีการใด (การวาดรูป)
4.4 หลังจากบันทึกผลการสังเกตแลว นักเรียนตองทําอะไรตอ
(จุ ด ธู ป แล ว สอดเข า ไปในช อ งที่ เ จาะไว ด า นข า งชุ ด สาธิ ต
เพื่ อ ให ค วั น ธู ป อยู ใ นกล อ ง แล ว สั ง เกตการเปลี่ ย นแปลง
อีกครั้ง จากนั้นบันทึกผลโดยการวาดรูป)
ในระหว า งการทํ า กิ จ กรรมในขั้ น ตอนนี้ ค รู อ าจลองเปลี่ ย น
หลอดไฟฟ า ให เ ป น ลั ก ษณะต า ง ๆ หรื อ อาจเปลี่ ย นตั ว ครอบ
หลอดไฟฟ า จากลู ก ป ง ปองซึ่ ง เป น ทรงกลมเป น ตั ว ครอบที่ มี

18 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ลักษณะอื่ น เช น ทรงสี่ เ หลี่ ย ม ทรงสามเหลี่ ย มแลว ใหนักเรีย น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ


สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
4.5 นั ก เรี ย นจะแสดงลั ก ษณะการเคลื่ อ นที่ ข องแสงจาก ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
แหล ง กํ า เนิ ด แสงได ด ว ยวิ ธี ใ ด (การเขี ย นแผนภาพโดยใช
ลูกศรแสดงลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกํ าเนิด S1 การสั ง เกตส ว นประกอบและการ
แสง) เปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชุ ด สาธิ ต
ครูอาจชวยใหนักเรียนเขาใจขั้นตอนการทํากิจกรรมไดดีขึ้น โดย การเคลื่อนที่ของแสง
อาจเขียนเปนแผนผังแสดงลําดับขั้นตอนอยางยอไวบนกระดาน S8 การลงความเห็ น จากข อ มู ล ว า แสง
เพื่อใหนักเรียนเขาใจขั้นตอนทั้งหมด เคลื่ อ นที่ อ อกจากแหล ง กํ า เนิ ด แสง
5. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธี การทํากิจ กรรมในทําอย างไรแลว ครูแจก เปนแนวตรงทุกทิศทาง
อุปกรณ และใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน S14 การสร า งแบบจํ า ลองโดยการเขี ย น
6. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใช แผนภาพแสดงลั กษณะการเคลื่ อนที่
คําถามดังนี้ ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง
6.1 ชุ ด สาธิ ต การเคลื่ อ นที่ ข องแสงมี ส ว นประกอบอะไรบ า ง C4 การสื่ อ สารโดยการร ว มกั น อภิ ป ราย
(นักเรียนตอบตามลั กษณะที่สังเกตเห็น เชน ภายในกล อง เกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนที่ของแสง
มีสีดํา มีลูกปงปองสีดําเจาะรูรอบดาน ดานในมีหลอดไฟฟา C5 ความร ว มมื อ ในการทํ า กิ จ กรรม
ตอกับถานไฟฉาย) และการอภิปราย
6.2 แหลงกําเนิดแสงของชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสงคืออะไร
(หลอดไฟฟา)
6.3 เมื่อเปดไฟ นักเรียนสังเกตเห็นอะไร (เห็นแสงทะลุผานรูทุกรู
ของลูกปงปอง)
6.4 เมื่อสอดธูป เขาไปในกล อง นักเรียนสังเกตเห็น อะไร (เห็น
แนวลํ า แสงเป น แนวตรงออกจากรู ทุ ก รู ที่ เ จาะไว บ น
ลูกปงปอง) ลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจาก
6.5 แนวลําแสงมีลักษณะเปนอยางไร (เปนเสนตรง) แหลงกําเนิดแสง
6.6 แนวลํ า แสงจากหลอดไฟฟ า ที่ ท ะลุ ผ า นรู ข องลู ก ป ง ปอง
มี ทิ ศ ทางใดบ า ง (ทุ ก ทิ ศ ทาง ได แ ก ด า นหน า ด า นบน
ดานซาย ดานขวา และดานลางของลูกปงปอง) ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
6.7 เมื่อเปลี่ยนหลอดไฟฟาหรือเปลี่ยนตัวครอบหลอดไฟฟาจาก คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
ทรงกลมเปนลักษณะอื่น ผลการสังเกตเหมือนหรือแตกตาง คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน
จากเดิมหรือไม อยางไร (ไมแตกตาง โดยยังสังเกตเห็นแสง คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
ออกมาจากทุกรูที่เจาะไวและเปนแนวตรงเหมือนกัน) อดทน และรับฟงแนวความคิ ด
ของนักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 19
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

6.8 เพราะเหตุใดจึงตองใชควันธูปในชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของ
แสง (ชวยใหสังเกตเห็นแนวลําแสงไดชัดเจน)
ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวาแสงเคลื่อนที่จาก การใช ค วั น ธู ป ในชุ ด สาธิ ต การ
แหลงกําเนิดแสงทุกทิศทางเปนแนวตรง (S13) เคลื่ อ นที่ ข องแสงช ว ยให เ ราสามารถ
8. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายวิ ธี ก ารเขี ย นแผนภาพแสดง สั ง เกตเห็ น ลํ า แสงได ชั ด เจนเนื่ อ งจาก
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสงและลงขอสรุป เมื่อแสงกระทบควันธูปแลวจะสะทอนมา
วาสามารถเขียนแผนภาพแสดงแนวการเคลื่อนที่ของแสงดวยการ เขาตาเรา นอกจากควัน ธูป แลว ควั น ไฟ
ใชลูกศรโดยหัวลูกศรพุงออกจากแหลงกําเนิดแสงในทุกทิศทาง หรื อ ฝุ น ละอองต า ง ๆ ก็ ช ว ยให เ รา
(S13) สังเกตเห็นลําแสงไดเชนกัน
9. นักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อตอบคําถามในฉันรูอะไร โดยครูอาจ
ใชคําถามเพิ่มเติมในการอภิปรายเพื่อใหไดแนวคําตอบที่ถูกตอง
10. นักเรียนรวมกันสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากนั้นนักเรียน
อานสิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปของตนเอง
11. ครูสามารถแนะนําใหนักเรียนใชแอปพลิเคชันสําหรับการสังเกต
ภาพเสมือนจริง (AR) เรื่องการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิ ด
แสงในหนังสือเรียนหนา 7
12. ครูใหความรูเพิ่มเติมแกนั กเรียนวาแหลงกําเนิ ดแสงบางอยาง
อ า จ ดู เ ห มื อ น มี แ ส ง อ อ ก จ า ก แ ห ล ง กํ า เ นิ ด แ ส ง นั้ น ๆ
ในบางทิศทาง ทั้งนี้เพราะแสงถู กบังคับ ใหเ คลื่ อนที่ออกมาได
ในบางทิ ศทางเท า นั้ น เช น แสงจากกระบอกไฟฉายถูกบังคับ
ใหแสงพุงออกไปทางดานหนาของไฟฉาย ดังรูป

แสงจากไฟฉาย

13. ครู ก ระตุ น ให นั ก เรี ย นฝ ก ตั้ ง คํ า ถามเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ ส งสั ย หรื อ
อยากรูเพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2-3
คน นํ าเสนอคํ า ถามของตนเองหน า ชั้ น เรี ย น และใหนักเรีย น
รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําถามที่นําเสนอ

20 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

14. ครู นํ า อภิ ป รายเพื่ อ ให นั ก เรี ย นทบทวนว า ได ฝ ก ทั ก ษะ


กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร แ ละทั ก ษะแห ง ศตวรรษที่ 21
อะไรบางและในขั้นตอนใดบาง

การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
เพื่อจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป
แนวลําแสงแตละเสนที่ลากจาก ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า
แหล งกํ า เนิ ดแสง เรี ย กว า รั งสี ของแสง กิ จ กรรมที่ 1.2 มองเห็ น วั ต ถุ ต า ง ๆ ได
เขี ย นแทนได ด ว ยลู ก ศร โดยหั ว ลู ก ศร อยางไร โดยการสังเกตการมองเห็นวั ตถุ
แสดงทิศทางที่แสงเคลื่อนที่ไป ที่เปนแหลงกําเนิดแสงและวัตถุที่ไมเปน
แหล ง กํ า เนิ ด แสง โดยการมองวั ต ถุ
ในกล อง ดั งนั้ น ครูควรเตรีย มสถานที่ให
เหมาะกับ การทํากิจ กรรม โดยอาจตอง
ปดประตูหนาตางเพื่อใหหองเรียนมืดลง
กวาเดิม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 21
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สังเกต เขียนแผนภาพ และบรรยายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสง


จากแหลงกําเนิดแสง

หลอดไฟฟา

22 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 23
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

หลอดไฟฟา

แตกตางกัน
ไมเห็น
เห็น

แนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง

ทุกทิศทาง

24 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวตรง

แหลงกําเนิดแสง
ทุกทิศทาง
แนวตรง
หัวลูกศร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 25
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทุกทิศทาง
แนวตรง

คําถามของนักเรียนที่ตั้งตามความอยากรูของตนเอง

26 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 1.1 แสงเคลื่อนที่อยางไร


ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
S14 การสรางแบบจําลอง
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
รวมคะแนน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 27
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาท
รายละเอียดของสิ่ง เก็บรายละเอียดขอมูลและ เก็บรายละเอียดขอมูล สัมผัสเก็บ
ที่สังเกต คือ ลําแสง บรรยายสิ่งที่สังเกตไดดวย และบรรยายสิ่งที่สังเกตได รายละเอียดขอมูลได
ที่ออกจาก ตนเอง โดยไมเพิ่มความ โดยไมเพิ่มความคิดเห็น บางสวนและ
แหลงกําเนิดแสง คิดเห็น จากการชี้แนะของครูหรือ บรรยายสิ่งที่สังเกต
เปนแนวตรง และ ผูอื่น ได แตมีการเพิ่มเติม
ออกจาก ความคิดเห็นสวนตัว
แหลงกําเนิดแสง
ทุกทิศทาง
S8 การลง การลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น
ความเห็นจาก จากขอมูลวาแสง ขอมูลไดถูกตองดวยตนเอง ขอมูลไดถูกตองจากการ จากขอมูลไดแตไม
ขอมูล เคลื่อนที่ออกจาก วาแสงเคลื่อนที่ออกจาก ชี้แนะจากครูหรือผูอื่นวา ครบถวน แมวาจะได
แหลงกําเนิดแสง แหลงกําเนิดแสงเปนแนว แสงเคลื่อนที่ออกจาก รับคําชี้แนะจากครู
เปนแนวตรง ตรงทุกทิศทาง แหลงกําเนิดแสงเปนแนว หรือผูอื่น
ทุกทิศทาง ตรง ทุกทิศทาง
S13 การ การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถ
ตีความหมายขอมูล ขอมูลจากการ ขอมูลจากการสังเกตและ ขอมูลจากการสังเกตและ ตีความหมายขอมูล
และลงขอสรุป สังเกตและลง ลงขอสรุปไดถูกตอง ลงขอสรุปไดถูกตองจาก จากการสังเกตและ
ขอสรุปไดวาแสง ครบถวนดวยตนเองวาแสง การชี้แนะจากครูหรือ ลงขอสรุปไดเพียง
เคลื่อนที่ออกจาก เคลื่อนที่ออกจาก ผูอื่นวาแสงเคลื่อนที่ บางสวน แมวาจะได
แหลงกําเนิดแสง แหลงกําเนิดแสง ออกจากแหลงกําเนิดแสง รับคําชี้แนะจากครู
ทุกทิศทางเปนแนว ทุกทิศทางเปนแนวตรง ทุกทิศทางเปนแนวตรง หรือผูอื่นวาแสง
ตรง เคลื่อนที่ออกจาก
แหลงกําเนิดแสงทุก
ทิศทางเปนแนวตรง

28 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S14 ก า ร ส ร า ง การอธิบายลักษณะ สามารถอธิบายลักษณะ สามารถอธิบายลักษณะ สามารถอธิบาย
แบบจําลอง การเคลือ่ นที่ของ การเคลื่อนที่ของแสงจาก การเคลื่อนที่ของแสงจาก ลักษณะการเคลื่อนที่
แสงจาก แหลงกําเนิดแสง โดยการ แหลงกําเนิดแสง โดยการ ของแสงจาก
แหลงกําเนิดแสง เขียนแผนภาพไดถูกตอง เขียนแผนภาพไดถูกตอง แหลงกําเนิดแสง โดย
โดยการเขียน ดวยตนเอง จากการชี้แนะจากครูหรือ การเขียนแผนภาพได
แผนภาพ ผูอื่น แตนําเสนอขอมูลได
ไมสมบูรณ ครบถวน
แมวาจะไดรับการ
ชี้แนะจากครูหรือผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 29
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C4 การสื่อสาร การนําเสนอแผนภาพ สามารถนําเสนอ สามารถนําเสนอแผนภาพ สามารถนําเสนอ
แสดงลักษณะการ แผนภาพแสดงลักษณะ แสดงลักษณะการเคลื่อนที่ แผนภาพแสดงลักษณะ
เคลื่อนที่ของแสงจาก การเคลื่อนที่ของแสง ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง การเคลื่อนที่ของแสง
แหลงกําเนิดแสงให จากแหลงกําเนิดแสงได ไดถูกตอง จากการชี้แนะของจากแหลงกําเนิดแสงได
ผูอื่นเขาใจ ถูกตอง ดวยตนเอง ครูหรือผูอื่น แตไมครบถวน แมวาจะ
ไดรับคําชี้แนะจากครู
หรือผูอื่น
C5 ความ การทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ
รวมมือ ผูอื่นในการอภิปราย ผูอื่นในการอภิปราย ในการอภิปรายและนําเสนอ ผูอื่นในการอภิปรายและ
และนําเสนอลักษณะ และนําเสนอลักษณะ ลักษณะการเคลื่อนที่ของแสง นําเสนอเปนบาง
การเคลื่อนที่ของแสง การเคลื่อนที่ของแสง จากแหลงกําเนิดแสง รวมทั้ง ชวงเวลาที่ทํากิจกรรม
จากแหลงกําเนิดแสง จากแหลงกําเนิดแสง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น แตไมแสดงความสนใจ
รวมทั้งยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความ เปนบางชวงเวลาที่ทํา ตอความคิดเห็นของผูอื่น
คิดเห็นของผูอื่น คิดเห็นของผูอื่นตั้งแต กิจกรรม ทั้งนี้ตองอาศัยการ
เริ่มตนจนสําเร็จ กระตุนจากครูหรือผูอื่น

30 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมที่ 1.2 มองเห็นวัตถุตาง ๆ


ไดอยางไร
กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดฝกการสังเกตและอธิบายการ
มองเห็ น วั ต ถุ ที่ เ ป น แหล ง กํ า เนิ ด แสงและวั ต ถุ ที่ ไ ม เ ป น
แหล ง กํ า เนิ ด แสง ตลอดจนรวบรวมข อ มู ล และเสนอแนะ
แนวทางการปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับตาเนื่องจากมอง
วัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม
เวลา 3 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
1. สังเกตและอธิบายการมองเห็นวัตถุที่เปน
แหลงกําเนิดแสง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
2. สังเกตและอธิบายการมองเห็นวัตถุที่ไมเปน S1 การสังเกต
แหลงกําเนิดแสง S7 การพยากรณ
3. รวบรวมขอมูลและเสนอแนะแนวทางการปองกัน S8 การลงความเห็นจากขอมูล
อั น ตรายที่ อาจเกิ ดกั บ ตาเนื่ องจากการมองวั ต ถุ S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม S14 การสรางแบบจําลอง
วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
สิ่งที่ครูตองเตรียม/กลุม C4 การสื่อสาร
1. ลูกบอล 1 ลูก C5 ความรวมมือ
2. เทียนไข 1 เลม C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3. กลองกระดาษ 1 กลอง
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
4. ดินน้ํามัน 1 กอน
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 8-12
5. ฝาขวดน้ํา 1 ฝา
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 10-16
สิ่งที่ครูตองเตรียม/หอง
3. วีดิทัศนตวั อยางปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร
1. เทปใส 1 มวน
สําหรับครู เรื่องมองเห็นวัตถุไดอยางไร
2. ไมขีดไฟ 1 กลัก
http://ipst.me/9867

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 31
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงไปสูกิจกรรมที่
1.2 โดยใชคําถามดังนี้
1.1 ถาหลับตาแลวเดินหาสิ่งของในหอง นักเรียนจะสามารถหา
ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม รู
สิ่งของนั้นไดหรือไม เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความ
ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
เขาใจของตนเอง)
และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
ครูอาจใหนักเรียนลองหลับตาแลวเดินหาสิ่งของในหอง เพื่อให
ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
ทุกคนตระหนั กว าตามี ความสํ า คั ญ ต อการมองเห็น จากนั้น ครู
ตนเองจากการทํากิจกรรม
อาจถามนักเรียนตอ โดยใชคําถามดังนี้
1.2 นอกจากตาแล ว นั ก เรี ย นยั ง ต อ งอาศั ย สิ่ ง ใดอี ก ที่ ช ว ยให
มองเห็ น สิ่ งต า ง ๆ รอบตั ว (นั กเรี ย นตอบตามความเขา ใจ
ของตนเอง)
2. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน โดยรวมกันอภิปราย
เพื่อตรวจสอบความเขาใจจุดประสงคในการทํากิจกรรม ตามแนว
คําถามดังนี้
2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเรื่องอะไร (การมองเห็นวัตถุ
ทั้งที่เปนแหลงกําเนิดแสงและไมเปนแหลงกําเนิดแสง รวมทั้ง
แนวทางการปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับตาเนื่องจากการ
มองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม)
2.2 นั กเรี ย นจะได เ รีย นรูเ รื่องนี้ ดว ยวิธี ใด (การสังเกตและการ
รวบรวมขอมูล)
2.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายการมองเห็นวัตถุ
ที่ เ ป น แหล งกํ า เนิ ดแสงและวั ตถุ ที่ไม เ ป น แหลงกําเนิ ด แสง
และเสนอแนะแนวทางการปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับตา
เนื่องจากการมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม)
3. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 10 และ
อานสิ่งที่ตองใชในการทํากิจกรรม
4. นักเรียนอานทําอยางไร ตอนที่ 1 แลวรวมกันอภิปรายเพื่อสรุป
ลําดับขั้นตอนตามความเขาใจ โดยครูใชคําถามดังตอไปนี้
4.1 เมื่อไดรับอุปกรณแลว นักเรียนตองจัดอุปกรณอยางไรบาง
(เจาะรู ที่ ด า นข า งกล อ งกระดาษ 1 รู ให มี ข นาดเท า กั บ
แทงดินสอ นําดินน้ํามันบรรจุลงในฝาขวดน้ํา แลวใชเทปกาว

32 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ติ ด ฝาขวดน้ํ า ให ติ ด กั บ กล อ งให แ น น ป ก เที ย นไขลงใน


ดินน้ํามัน จากนั้นนําลูกบอลวางในกลองขาง ๆ เทียนไข)
4.2 หลั ง จากจั ด วางอุ ป กรณ เ สร็ จ แล ว นั ก เรี ย นต อ งพยากรณ
เกี่ยวกับเรื่ องใด (ถามองผานรู เข าไปในกล องที่ป ดฝาสนิ ท
ระหวางกอนจุดเทียนไขและเมื่อจุดเทียนไขแลว จะมองเห็น
ลูกบอลและเทียนไขที่อยูในกลองแตกตางกันหรือไม)
4.3 เมื่อพยากรณและตรวจสอบการพยากรณแลว นักเรียนตอง
รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับอะไร (สาเหตุที่ทําใหมองเห็นวัตถุที่
เปนแหลงกําเนิดแสงและวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง)
4.4 หลังจากอภิปรายแลว นักเรียนตองทําขั้นตอนใดตอไป (เขียน ตัวอยางการจัดวางอุปกรณ
แผนภาพแสดงแนวการเคลื่อนที่ของแสงที่ทําใหมองเห็นวัตถุ
ที่เปนแหลงกําเนิดแสงและวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง)
ครู อ าจทบทวนขั้ น ตอนหรื อ วิ ธี ก ารเขี ย นแผนภาพแสดง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
การเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิดแสงโดยใชลูกศร ซึ่ง ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
นักเรียนไดเรียนผานมาแลวในกิจกรรมที่ 1.1 นอกจากนี้ครู ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
ควรใหนักเรียนแตละกลุมแบงหนาที่ตาง ๆ ในขณะจัดวาง ตอนที่ 1
อุปกรณการทํากิจกรรม และกําชับใหนักเรียนทุกคนสังเกต
S1 การสังเกตการมองเห็นสิ่งที่อยูในกลอง
ผลการทํากิจกรรมอยางละเอียด
S7 การพยากรณเกี่ยวกับการมองเห็นเทียนไขและ
5. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธี การทํากิจ กรรมในทําอย างไรแลว ครูแจก
อุปกรณ และใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ลูกบอลที่อยูในกลอง
6. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม ตอนที่ S8 การลงความเห็นจากขอมูลเกี่ยวกับการมองเห็น
1 โดยใชคําถามดังนี้ วัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสงและไมเปน
6.1 นั ก เรี ย นมองผ า นรู เ ข า ไปในกล อ ง ก อ นจุ ด เที ย นไข แหลงกําเนิดแสง
การมองเห็นเทียนไขและลูกบอลเปนอยางไร (มองไมเห็นทั้ง S14 การสรางแบบจําลองโดยการเขียนแผนภาพ
เทียนไขและลูกบอล)
แสดงลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงจาก
6.2 นั ก เรี ย นมองผ า นรู เ ข า ไปในกล อ ง เมื่ อ จุ ด เที ย นไขแล ว
การมองเห็นเทียนไขและลูกบอลเป นอย างไร (มองเห็น ทั้ง แหลงกําเนิดแสง
เทียนไขและลูกบอล) C4 การสื่อสารโดยการนําเสนอผลการสังเกตใน
6.3 แหลงกําเนิดแสงของกิจกรรมนี้ คืออะไร (เปลวเทียนไข) กิจกรรม
6.4 มองเห็นเปลวเทียนไขไดอยางไร (แสงจากเปลวเทียนไขซึ่ง C5 ความรวมมือในการทํากิจกรรมและการ
เปนแหลงกําเนิดแสงเคลื่อนที่เขาสูตาโดยตรง) อภิปราย
6.5 วัตถุท่ีไมใชแหลงกําเนิดแสงในกิจกรรมนี้คืออะไร (เทียนไข
ที่ยังไมไดจุดและลูกบอล)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 33
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

6.6 เมื่อจุดเทียนไขแลว มองเห็นเทียนไขและลูกบอลไดอยางไร


(แสงจากเปลวเที ย นไขซึ่ ง เป น แหล ง กํ า เนิ ด แสงกระทบ
เทียนไขและลูกบอลซึ่งเปนวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสงแลว
สะทอนเขาสูตา)
6.7 เพราะเหตุ ใดการมองเห็ น วั ตถุ ที่เ ป น แหล งกํ าเนิ ด แสงและ
วัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสงจึงแตกตางกัน (เพราะวัตถุที่
ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
เปนแหลงกําเนิดแสง จะมีแสงในตัวเอง ทําใหแสงเขาสูตาได
คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
โดยตรง แต วั ต ถุ ที่ ไ ม เ ป น แหล ง กํ า เนิ ด แสง จะไม มี แ สง
คํ า ตอบ ครู ค วรให เ วลานั ก เรี ย น
ในตัวเอง ทําใหตองอาศัยแสงจากวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง
คิ ด อย า งเหมาะสม รอคอยอย า ง
มากระทบแลวสะทอนเขาตา)
อดทน และรับฟงแนวความคิดของ
6.8 เขี ย นแผนภาพแสดงแนวการเคลื่ อ นที่ ข องแสงที่ ทํ า ให
นักเรียน
มองเห็ น วั ต ถุ ที่ เ ป น แหล ง กํ า เนิ ด แสงและวั ต ถุ ที่ ไ ม เ ป น
แหล ง กํ า เนิ ด แสงได อ ย า งไร (แผนภาพแสดงแนวการ
เคลื่อนที่ของแสงจากวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง แสดงได
ด ว ยลู ก ศร โดยให หั ว ลู ก ศรพุ ง ออกจากวั ต ถุ ที่ เ ป น
แหล ง กํ า เนิ ด แสงเข า สู ต า แต ก ารมองเห็ น วั ต ถุ ที่ ไ ม เ ป น
แหลงกําเนิดแสง แสดงไดโดยใหหัวลูกศรพุงออกจากวัตถุที่
เป น แหล งกํ า เนิ ดแสงเข า สู วั ตถุ ที่ไ ม เ ป น แหลง กําเนิ ด แสง
จากนั้ น ให หัว ลู กศรพุ งออกจากวัตถุ ที่ไม เ ปน แหลงกําเนิด
แสงเขาสูตา)
ครูใหความรูเพิ่มเติมวาการเขียนแผนภาพแสดงการมองเห็น
แหลงกําเนิดแสงจะเขีย นลูกศรแสดงแนวการเคลื่อนที่ข องแสง
โดยใหหัวลูกศรพุงออกจากแหลงกําเนิดแสงไปยังตาของคนที่มอง
ครู เ ขี ย นตั ว อย า งแผนภาพแนวการเคลื่ อ นที่ ข องแสงจาก
หลอดไฟฟ า ซึ่ ง เป น วั ต ถุ ที่ เ ป น แหล ง กํ า เนิ ด แสงไปยั ง ตาไว บ น
กระดาน ดังรูป

34 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

สวนการเขียนแผนภาพแสดงการมองเห็นวัตถุที่ไมเปนแหลงกํ าเนิ ด
แสงจะเขียนลูกศรแสดงแนวการเคลื่อนที่ของแสงโดยใหหัวลูกศรพุง
จากแหล งกํ า เนิ ด แสงมากระทบวั ตถุ แล ว สะท อนเข าสูตา ครูเขีย น
ตัว อยางแผนภาพแนวการเคลื่ อนที่ ข องแสงจากแหล งกํ าเนิ ด แสง
กระทบแอปเปลซึ่งเปนวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสงแลวสะทอนเขาสู
ตาไวบนกระดาน ดังรูป

7. ครู อ าจให ตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมาวาดแผนภาพการมองเห็ น


เปลวเทียนไขที่อยูภายในกลอง และการมองเห็นลูกบอลภายใน
กลองบนกระดาน
8. ครูชักชวนใหนักเรียนเปรียบเทียบผลการสังเกตกับการพยากรณ
ของตนเองดวย
9. ครูตรวจสอบความเขาใจเรื่องการมองเห็นของนักเรียน โดยอาจใช
แนวคําถาม ดังนี้
9.1 ถามว า ถ า เราต อ งเดิ น เข า ไปหาสิ่ ง ของในห อ งที่ มื ด สนิ ท
นักเรียนจะสามารถมองเห็นสิ่งของไดหรือไม เพราะเหตุใด
(เราไมสามารถมองเห็นสิ่งของใดในหองไดเลย เพราะไม มี
แสงจากแหลงกํ าเนิดแสงมากระทบสิ่ งของนั้น ๆ ทําให ไม
สามารถมองเห็นสิ่งของได)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 35
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

9.2 ทําอยางไรจึงจะสามารถหาสิ่งของนั้นได (เราตองหาแสงจาก


แหลงกําเนิด แสงตาง ๆ เชน แสงจากไฟฉายหรื อแสงจาก
เปลวเทียนไขมาชวยในการมองเห็น)
นั กเรี ย นบางคนอาจคิ ดว าถ า มองสิ่ ง ของในห อ งที่ มื ด สนิ ท
ในชวงแรกอาจจะมองไมเห็นวัตถุ แตเมื่อสายตาชินตอความมืด
สักพักสายตาจะปรับ ทําใหสามารถมองเห็นวัตถุได ครูควรแกไข กระดาษ A4 ที่มวนเปนทรงกระบอก
แนวคิดคลาดเคลื่อนของนักเรียน โดยอาจจัดกิจกรรม ดังนี้
- นํ า กระดาษ A4 จํ า นวน 3 – 4 แผ น วางซ อ นกั น
แลวมวนกระดาษใหเปนทรงกระบอก
- นํ า ม ว นกระดาษทรงกระบอกวางในแนวตั้ ง บน
หนาหนังสือใหครอบตัวอั กษรในหนั งสือ โดยใหปลาย
มวนกระดาษทรงกระบอกแนบกับพื้นกระดาษ ดังรูป หนังสือ
- ให นั ก เรี ย นมองตั ว หนั ง สื อ ที่ ป ลายม ว นกระดาษ
ทรงกระบอกที่วางทับไว โดยใหเบาตาแนบชิดกับปลาย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
ดานบนของมวนกระดาษทรงกระบอก ผลที่ปรากฏคือ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
นักเรียนจะไมสามารถมองเห็นตัวหนังสือได ไมวาจะมอง ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
อยูนานเพียงใดก็ตาม
- เมื่อใหนักเรียนเอียงมวนกระดาษเล็กนอยเพื่อให ปลาย ตอนที่ 2
ดานลางของมวนกระดาษเผยอขึ้น แลวมองตัวหนังสือ C4 การสื่อสารโดยการนําเสนอแนวทางการ
อีกครั้ง ในครั้งนี้นักเรียนจะสามารถมองเห็นตัวหนังสือ ปองกันอันตรายในรูปแบบที่นาสนใจ
ได C5 ความรวมมือในการอภิปรายเกี่ยวกับอันตราย
ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับการมองไมเห็นหรือมองเห็นตัวหนังสือใน ที่อาจเกิดกับตาเมื่อทํากิจกรรมในบริเวณที่มี
กิจกรรมดังกลาวเพื่อใหไดขอสรุปวา เราจะเห็นตัวหนังสือเมื่อมีแสง แสงสวางไมเหมาะสม
มากระทบตั ว หนั งสื อแล ว สะท อนเข า สู ตา จากนั้ น ครูและนักเรีย น C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ร ว มกั น อภิ ป รายว า ที่ นั ก เรี ย นเคยคิ ด ว า ถ า มองสิ่ ง ของในห อ งมื ด ในการสืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
เมื่อรอสักพักสายตาจะปรับใหมองเห็นในที่มืดได แสดงวาในหองนั้น
ไมไดมืดสนิทจริง แตยังคงมีแสงจากแหลงกําเนิดแสงมากระทบวัตถุ
อยู
10. นักเรียนอานทําอยางไร ตอนที่ 2 แลวรวมกันอภิปรายเพื่อสรุป
ลําดับขั้นตอนตามความเขาใจ โดยครูใชคําถามดังตอไปนี้

36 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

10.1 นั ก เรี ย นต อ งทํ า อะไรเป น ขั้ น ตอนแรก (ร ว มกั น อภิ ป ราย
เกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิดกับตาเมื่อทํากิจกรรมในบริเวณที่
มีแสงสวางไมเหมาะสม)
10.2 หลั ง จากอภิ ป รายแล ว นั ก เรี ย นจะทํ า อะไรต อ ไป (อ า น
ใบความรูเรื่องอัน ตรายจากการมองวัต ถุ ในบริเวณที่ มี แสง
สวางไมเหมาะสม สืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรูตาง ๆ และ
บันทึกผลการรวบรวมขอมูล)
10.3 เมื่ อ นั ก เรี ย นได ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ อั น ตรายจากการมอง
ในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสมแลว นักเรียนตองทําอะไร
ต อ (ร ว มกั น อภิ ป รายและนํ า เสนอแนวทางการป อ งกั น
อันตรายในรูปแบบที่นาสนใจ)
10.4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบที่นาสนใจ ทําไดอยางไรบาง
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน ทําโปสเตอร
วาดรูป)
11. เมื่อนั กเรี ย นเข า ใจวิ ธี การทํ า กิ จ กรรมในทํ า อย า งไรแล ว ครู ให
นักเรียนเริ่มปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนของกิจกรรม
12. หลั ง จากทํ า กิ จ กรรมแล ว ครู นํ า อภิ ป รายผลการทํ า กิ จ กรรม
โดยใชคําถามดังนี้
12.1 บริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสมมีลักษณะอยางไร (บริเวณ
ที่มีแสงสวางไมเหมาะสม ไดแก บริเวณที่มืด มีแสงสวาง
ไมเพียงพอ หรือมีแสงจามากเกินไป)
12.2 การจองมองจอโทรศัพทเคลื่อนที่เปนเวลานาน ๆ อาจจะ
เกิดผลเสียอยางไรบาง (อาจทําใหเกิดอาการตาพรามัว)
12.3 วิธีการปองกันอัน ตรายที่ อาจเกิด กับ ตาจากการมองวั ต ถุ
ในบริ เ วณที่ มี แ สงสว า งไม เ หมาะสม ทํ า ได อ ย า งไรบ า ง
ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
(ไม จ องมองจอโทรศั พ ท ห รื อ คอมพิ ว เตอรเ ปน เวลานาน
คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
ไมมองจอโทรทัศนในหองที่ปดไฟมืด ไมใชตาในบริเวณที่มี
คํ า ตอบ ครู ค วรให เ วลานั ก เรี ย น
แสงสวางไมเพียงพอ ไมจองมองวัตถุที่มีแสงจาเกินไป และ
คิ ด อย า งเหมาะสม รอคอยอย า ง
ตองจัดแสงสวางใหเหมาะสมกับลักษณะการทํางาน)
อดทน และรับฟงแนวความคิดของ
12.4 อาชีพใดที่ตองทํางานกับแสงจา และจะมีวิธีการปองกันได
นักเรียน
อยางไร (ชางเชื่อมเหล็ก มีวิธีปองกัน คือ ตองสวมหนากาก
ปองกันแสงจาจากประกายไฟในขณะทํางานเพื่อปองกัน
อันตรายที่อาจเกิดกับตา)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 37
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

13. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการทํากิจกรรมดังนี้ การมองเห็น


วั ต ถุ ต า ง ๆ ต อ งมี แ สงเข า สู ต า โดยการมองเห็ น วั ต ถุ ที่ เ ป น
แหลงกําเนิดแสง จะมีแสงจากแหลงกําเนิดแสงเขาสูตาโดยตรง
สวนการมองเห็นวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง ตองอาศัยแสง
จากวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสงมาตกกระทบวัตถุนั้นแลวสะทอน
เขาสูตา การมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางมากหรือนอยเกินไป
จะเปนอันตรายตอตา ปองกันไดโดยจัดความสวางใหเหมาะสม
กับการทํากิจกรรมตาง ๆ (S13)
14. นักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อตอบคําถามใน ฉันรูอะไร โดยครู
อาจใชคําถามเพิ่ มเติ มในการอภิ ปรายเพื่ อให ไดแนวคํา ตอบที่
ถูกตอง
15. นักเรียนรวมกันสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากนั้นนักเรียน
อาน สิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปของตนเอง
16. ครู กระตุ น ใหนั กเรี ย นฝ กตั้ งคํ า ถามเกี่ ย วกั บ เรื่ องที่ส งสัย หรื อ
อยากรูเพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2-3
คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาชั้นเรียน จากนั้นใหนักเรียน
รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําถามที่นําเสนอ
17. ครู นํ า อภิ ป รายเพื่ อ ให นั ก เรี ย นทบทวนว า ได ฝ ก ทั ก ษะ
กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร แ ละทั ก ษะแห ง ศตวรรษที่ 21
อะไรบางและในขั้นตอนใดบาง
18. นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หนา 13
ครูนําอภิปรายเพื่อนําไปสูขอสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ไดเรียนรูในเรื่องนี้
จากนั้นครูกระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเนื้อเรื่อง
ดังนี้ “การปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับตาทําไดโดยจัดแสงสวาง
ใหเหมาะสมกับการทํากิจกรรมตาง ๆ ลองคิดดูสิวา กิจกรรม
แต ล ะอย า งต อ งใช แ สงมากน อ ยแตกต า งกั น อย า งไร” โดย
นั ก เรี ย นตอบคํ า ถามตามความคิ ด ของตนเอง เช น การอ า น
หนังสือตองใชแสงสวางที่พอเหมาะ คือ ไมอานหนังสือบริ เวณ
กลางแจ ง ที่ มี แ สงจ า เกิ น ไปหรื อ ในห อ งที่ มี แ สงสว า งน อ ย ถ า
จําเปนตองอานหนังสือในหองที่มีความสวางนอยก็อาจใชโคมไฟ
เพื่อเพิ่มความสวางใหเหมาะสม นอกจากนี้ครูอาจตั้งคําถามเพื่อ
เชื่อมโยงไปยังบทตอไป โดยอาจใชคําถามวานอกจากประโยชน
ของแสงในเรื่ อ งการมองเห็ น แล ว แสงจากดวงอาทิ ต ย ยั ง มี

38 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ประโยชนตอมนุษย สัตว พืช หรือไม อยางไร โดยนักเรียนไปหา


คําตอบไดจากการเรียนในบทตอไป การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได เ รี ย น
บทที่ 2 สิ่งมีชีวิต โดยครูเตรียมภาพสัตวและ
พื ช ที่ นั ก เรี ย นคุ น เคยในแหล ง ที่ อ ยู ห นึ่ ง ๆ
เชน ภาพแมว หรือสุนัขกําลังกิน น้ํ าในอ า ง
หรือสระน้ําที่มีตน ไมเจริญ เติบ โตอยูเพื่อให
นั ก เรี ย นสั ง เกตและตอบคํ า ถามในการ
ทบทวนความรูพื้นฐาน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 39
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สังเกตและอธิบายการมองเห็นวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง
สังเกตและอธิบายการมองเห็นวัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง


นักเรียนพยากรณตาม
ความคิดเห็นของตนเอง

40 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

นักเรียนพยากรณตาม
ความคิดเห็นของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 41
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

รวบรวมขอมูลและเสนอแนะแนวทางการปองกันอันตรายที่อาจเกิด
กับตาจากการมองวัตถุในบริเวณที่มีแสงสวางไมเหมาะสม

บริเวณที่มีแสงสวางไมเพียงพอ หรือบริเวณที่มีแสงจามากเกินไป

นักเรียนบันทึกขอมูลที่ไดจากการสืบคนขอมูล เชน ทําใหเกิดอาการตาพรา

แนวทางการปองกันตามที่นักเรียนสืบคนขอมูลและรวมกันอภิปราย เชน ไมมอง


วัตถุตาง ๆ ในที่มืดหรือในบริเวณที่มีแสงสวางไมเพียงพอ หรือบริเวณที่มีแสงจา
มากเกินไป ปองกันไดโดยจัดแสงสวางใหเหมาะสมกับลักษณะงาน

42 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แตกตาง
มองไมเห็น
มองเห็น

เปลวเทียนไข

ตา
แสงจากแหลงกําเนิดแสง

แสงจากแหลงกําเนิดแสง ตา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 43
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

วัตถุที่เปนแหลงกําเนิดแสง
วัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง ตา

แหลงกําเนิดแสง
แสง
แสง
กระทบ

มาก นอย

นักเรียนบันทึกขอมูลที่ไดจากการสืบคนขอมูล เชน เกิดอาการตาพรา

44 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ไมจองมองสิ่งตาง ๆ ในบริเวณที่มีแสงจาเกินไป แตถาจําเปนตองมองสิ่งตาง ๆ


ในบริเวณที่มีแสงจา อาจปองกันไดโดยสวมแวนตากันแดด ทํากิจกรรมในบริเวณที่มี
แสงสวางเพียงพอและเหมาะสมกับกิจกรรม ไมจองจอคอมพิวเตอรเปนเวลานาน
ไมมองจอโทรทัศนในหองที่ปดไฟมืด

บริเวณที่มีแสงสวางไมเพียงพอหรือมากเกินไป

มาก นอย

แสง ตา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 45
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

คําถามของนักเรียนที่ตั้งตามความอยากรูของตนเอง

46 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

วาดรูปหรือเขียนขอความสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนนี้
ตามความเขาใจของนักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 47
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 1.2 มองเห็นวัตถุตาง ๆ ไดอยางไร


ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S7 การพยากรณ
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
S14 การสรางแบบจําลอง
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รวมคะแนน

48 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยายรายละเอียด สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท
เกี่ยวกับการมองเห็นวัตถุ สัมผัสเก็บ สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด
ตาง ๆ รายละเอียดขอมูล ขอมูลเกี่ยวกับการ ขอมูลเกี่ยวกับการ
เกี่ยวกับการ มองเห็นวัตถุตาง ๆ ได มองเห็นวัตถุตาง ๆ ได
มองเห็นวัตถุตาง ๆ จากการชี้แนะของครู บางสวน แมวาจะได
โดยไมเพิ่มความ หรือผูอื่น รับคําชี้แนะจากครูหรือ
คิดเห็น ไดดวย ผูอื่น
ตนเอง
S7 การพยากรณ การพยากรณการมองเห็น สามารถพยากรณ สามารถพยากรณการ สามารถพยากรณการ
วัตถุที่อยูในกลองกอนจุด การมองเห็นวัตถุที่ มองเห็นวัตถุที่อยูใน มองเห็นวัตถุที่อยูใน
เทียนไขและเมื่อจุดเทียน อยูในกลองกอนจุด กลองกอนจุดเทียนไข กลองกอนจุดเทียนไข
ไขแลว เทียนไขและเมื่อจุด และเมื่อจุดเทียนไขโดย และเมื่อจุดเทียนไข
เทียนไขแลวไดโดย อาศัยขอมูลหรือความรูที่ แลวโดยใชขอมูลหรือ
อาศัยขอมูลหรือ มีอยู แตตองอาศัยการ ความรูที่มีอยูบางสวน
ความรูที่มีอยูดวย ชี้แนะของครูหรือผูอื่น แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
ตัวเอง จากครูหรือผูอื่น
S8 การลง ลงความเห็นจากขอมูลวา สามารถลง สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น
ความเห็นจาก การมองเห็นสิ่งตาง ๆ ได ความเห็นจาก ขอมูลไดวาการมองเห็น จากขอมูลเกี่ยวกับการ
ขอมูล ตองมีตาและแสงจากวัตถุ ขอมูลไดวาการ สิ่งตาง ๆ ไดตองมีตา มองเห็นไดเพียง
ที่เปนแหลงกําเนิดแสง มองเห็นสิ่งตาง ๆ และแสงจากวัตถุที่เปน บางสวน แมวาจะได
ไดตองมีตาและแสง แหลงกําเนิดแสง ได รับคําชี้แนะจากครูหรือ
จากวัตถุที่เปน ถูกตอง จากการชี้แนะ ผูอื่น
แหลงกําเนิดแสง ได ของครูหรือผูอื่น
อยางถูกตองดวย
ตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 49
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S13 การ การตีความหมายขอมูล สามารถ สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
ตีความหมายขอมูล จากการสังเกต และการ ตีความหมายขอมูล ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลจากการสังเกต
และลงขอสรุป อภิปรายและลงขอสรุปได จากการสังเกต การ การอภิปราย และลง การอภิปราย และลง
วาการมองเห็นวัตถุตาง ๆ อภิปราย และลง ขอสรุปไดถูกตอง ขอสรุปไดถูกตอง แต
ตองมีแสงเขาสูตา โดยการ ขอสรุปไดถูกตอง ครบถวน จากการชี้แนะ ไมครบถวน แมวาจะได
มองเห็นวัตถุที่เปน ครบถวน ดวย ของครูหรือผูอื่น รับคําชี้แนะจากครูหรือ
แหลงกําเนิดแสง จะมีแสง ตนเอง ผูอื่น
จากแหลงกําเนิดแสงเขาสู
ตาโดยตรง แตการ
มองเห็นวัตถุที่ไมเปน
แหลงกําเนิดแสง ตอง
อาศัยแสงจากวัตถุที่เปน
แหลงกําเนิดแสงมา
กระทบวัตถุแลวสะทอน
เขาสูตา การมองวัตถุใน
บริเวณที่มีแสงสวางมาก
หรือนอยเกินไป จะเปน
อันตรายตอตา ปองกันได
โดยจัดความสวางให
เหมาะสมกับการทํา
กิจกรรมตาง ๆ
S14 การสราง การเขียนแผนภาพแสดง สามารถเขียน สามารถเขียนแผนภาพ สามารถเขียนแผนภาพ
แบบจําลอง แนวการเคลื่อนที่ของแสง แผนภาพแสดงแนว แสดงแนวการเคลื่อนที่ แสดงแนวการเคลื่อนที่
ที่ทําใหมองเห็นวัตถุที่เปน การเคลื่อนที่ของ ของแสงที่ทําใหมองเห็น ของแสงที่ทําให
แหลงกําเนิดแสงและวัตถุ แสงที่ทําใหมองเห็น วัตถุที่เปนแหลงกําเนิด มองเห็นวัตถุที่เปน
ที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสง วัตถุที่เปน แสงและวัตถุที่ไมเปน แหลงกําเนิดแสงและ
แหลงกําเนิดแสง แหลงกําเนิดแสงได วัตถุที่ไมเปน
และวัตถุที่ไมเปน ถูกตอง จากการชี้แนะ แหลงกําเนิดแสง
แหลงกําเนิดแสงได ของครูหรือผูอื่น ไดถูกตองเปนบางสวน
ถูกตอง ดวยตนเอง แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น

50 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C4 การสื่อสาร การนําเสนอ สามารถนําเสนอ สามารถนําเสนอแนว สามารถนําเสนอ
แนวทางการปองกัน แนวทางการปองกัน ทางการปองกันอันตราย แนวทางการปองกัน
อันตรายจากการมอง อันตรายจากการมอง จากการมองวัตถุในบริเวณ อันตรายจากการมอง
วัตถุในบริเวณที่มีแสง วัตถุในบริเวณที่มีแสง ที่มีแสงสวางไมเหมาะสม วัตถุในบริเวณที่มีแสง
สวางไมเหมาะสม สวางไมเหมาะสมใน ไดดวยตนเอง แตรูปแบบ สวางไมเหมาะสมไดโดย
รูปแบบที่นาสนใจไดดวย การนําเสนอยังไมนาสนใจ อาศัยการชี้แนะของครู
ตนเอง เทาที่ควร หรือผูอื่นแตรูปแบบการ
นําเสนอยังไมนาสนใจ
C5 ความ การทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ
รวมมือ ผูอื่นรวมทั้งยอมรับ ผูอื่นรวมทั้งยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความคิดเห็น ผูอื่นไดในบางชวงที่มี
ความคิดเห็นของผูอื่น คิดเห็นของผูอื่นในการ ของผูอื่นในการอภิปราย การอภิปรายสาเหตุที่ทํา
ในการอภิปรายสาเหตุ อภิปรายสาเหตุที่ทําให สาเหตุที่ทําใหมองเห็นวัตถุ ใหมองเห็นวัตถุที่เปน
ที่ทําใหมองเห็นวัตถุที่ มองเห็นวัตถุที่เปน ที่เปนแหลงกําเนิดแสงและ แหลงกําเนิดแสงและ
เปนแหลงกําเนิดแสง แหลงกําเนิดแสงและ วัตถุที่ไมเปนแหลงกําเนิด วัตถุที่ไมเปน
และวัตถุที่ไมเปน วัตถุที่ไมเปน แสง อันตรายที่อาจเกิดกับ แหลงกําเนิดแสง
แหลงกําเนิดแสง แหลงกําเนิดแสง ตา และการนําเสนอ อันตรายที่อาจเกิดกับตา
อันตรายที่อาจเกิดกับ อันตรายที่อาจเกิดกับตา แนวทางการปองกัน และการนําเสนอ
ตา และการนําเสนอ และการนําเสนอแนว อันตรายที่อาจเกิดกับตา แนวทางการปองกัน
แนวทางการปองกัน ทางการปองกันอันตราย เมื่อทํากิจกรรมในบริเวณ อันตรายที่อาจเกิดกับตา
อันตรายที่อาจเกิดกับ ที่อาจเกิดกับตาเมื่อทํา ที่มีแสงสวางไมเหมาะสม เมื่อทํากิจกรรมใน
ตาเมื่อทํากิจกรรมใน กิจกรรมในบริเวณทีม่ ี ทั้งนี้สามารถทําไดเปนบาง บริเวณที่มีแสงสวาง
บริเวณที่มีแสงสวาง แสงสวางไมเหมาะสม ชวงเวลาที่ทํากิจกรรม ไมเหมาะสม แตไมแสดง
ไมเหมาะสม ทั้งนี้สามารถทําไดตั้งแต ความสนใจตอความ
เริ่มตนจนสําเร็จ คิดเห็นของผูอื่น ทั้งนี้
ตองอาศัยการกระตุน
จากครูหรือผูอื่น
ตลอดเวลาที่ทํากิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 51
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C6 การใช การสืบคนขอมูล สามารถสืบคนขอมูล สามารถสืบคนขอมูล สามารถสืบคนขอมูล
เทคโนโลยี เกี่ยวกับอันตรายที่ เกี่ยวกับอันตรายที่อาจ เกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิด เกี่ยวกับอันตรายที่อาจ
สารสนเทศและ อาจเกิดกับตา เกิดกับตาเนื่องจากการ กับตาเนื่องจากการมองวัตถุ เกิดกับตาเนื่องจากการ
การสื่อสาร เนื่องจากการมองวัตถุ มองวัตถุในบริเวณที่มี ในบริเวณที่มีแสงสวางไม มองวัตถุในบริเวณที่มี
ในบริเวณที่มีแสง แสงสวางไมเหมาะสม เหมาะสมจากแหลงเรียนรู แสงสวางไมเหมาะสม
สวางไมเหมาะสมจาก จากแหลงเรียนรูตาง ๆ ตาง ๆ ไดครบถวน แตตอง จากแหลงเรียนรูตาง ๆ
แหลงเรียนรูตาง ๆ ไดถูกตอง ครบถวนดวย อาศัยการชี้แนะของครูหรือ ไดไมครบถวน สมบูรณ
ตนเอง ผูอื่น แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น

52 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมทายบทที่ 1 แสง (2 ชั่วโมง)


1. นักเรี ย นวาดรู ปหรือเขี ยนสรุ ปสิ่งที่ ได เรี ยนรูจ ากบทนี้ ในแบบบั นทึก
กิจกรรมหนา 17
2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ
ภาพสรุ ป เนื้ อหาประจํ า บทในหั ว ข อ รู อะไรในบทนี้ ในหนังสือเรีย น
หนา 14
3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอนเรียน
ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 2 อีกครั้ง ถาคําตอบของนักเรียนไมถูกตอง
ให ขี ด เส น ทั บ ข อ ความเหล า นั้ น แล ว แก ไ ขให ถู ก ต อ ง หรื อ อาจแก ไ ข
คําตอบดวยปากกาที่มีสีตางจากเดิม นอกจากนี้ครูอาจนําคําถามในรูป
นําบทในหนังสือเรียน หนา 2 มารวมกันอภิปรายคําตอบอีกครั้ง
4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทที่ 1 แสง ในแบบบันทึกกิจกรรมหนา
18 จากนั้นนําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน ถาคําตอบยังไมถูกตองครูควร
นําอภิปรายหรือใหสถานการณเพิ่มเติมเพื่อแกไขแนวคิดคลาดเคลื่ อน
ใหถูกตอง
5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรมรวมคิด รวมทํา โดยนักเรียนรวมกันหาวิธี
และทําโคมไฟรูปสัตวที่มีแสงสวางออกจากโคมไฟไดทุกทิศทาง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 53
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท

54 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กองไฟมีแสงในตัวเอง เราสามารถมองเห็นไฟในกองไฟไดโดยตรง
ไมตองใชแสงจากแหลงกําเนิดแสงอื่นชวยในการมองเห็น

การจองมองจอโทรศัพทที่มีแสงจาในหองมืดจะทําใหเราเกิดอาการตาพราได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 55
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

56 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

บทที่ 2 สิ่งมีชีวิต
จุดประสงคการเรียนรูประจําบท
เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ
1. เปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต
2. ระบุวาพืชตองการแสง น้ํา และสิ่งจําเปนอื่น ๆ
ในการเจริญเติบโต
3. ดูแลพืชใหไดรับน้ําและแสงที่เหมาะสมเพื่อใหพืช
เจริญเติบโต
4. สรางแบบจําลองและบรรยายวัฏจักรชีวิตของ
พืชดอก
เวลา 15 ชั่วโมง
แนวคิดสําคัญ
รอบตั ว เรามี ทั้ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต ซึ่ ง มี
ลักษณะแตกตางกัน พืชดอกเปนสิ่งมีชีวิตประเภทหนึ่ ง
ที่ ต อ งการแสง น้ํ า อากาศ และธาตุ อ าหารในการ
เจริ ญ เติ บ โต ขณะที่ พื ช ดอกเจริ ญ เติ บ โตจะมี ก าร บทนี้มีอะไร
เปลี่ ย นแปลงรู ป ร า งลั ก ษณะที่ เ ป น แบบรู ป หมุ น เวี ย น เรื่องที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต
ตอเนื่องกันเปนวัฏจักร กิจกรรมที่ 1 สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู มีลักษณะแตกตางกันอยางไร
1. หนังสือเรียน ป. 2 เลม 2 หนา 16-39 เรื่องที่ 2 ชีวิตของพืช
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป. 2 เลม 2 หนา 23-57 กิจกรรมที่ 2.1 พื ช ต อ งการอะไรในการ
เจริญเติบโต
กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกเปน
อยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 57
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21
กิจกรรมที่
รหัส ทักษะ
1 2.1 2.2
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต   
S2 การวัด 
S3 การใชจํานวน
S4 การจําแนกประเภท 
S5 การหาความสัมพันธระหวาง
 สเปซกับสเปซ
 สเปซกับเวลา
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล  
S7 การพยากรณ
S8 การลงความเห็นจากขอมูล   
S9 การตั้งสมมติฐาน
S10 การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
S11 การกําหนดและควบคุมตัวแปร
S12 การทดลอง
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป   
S14 การสรางแบบจําลอง 
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C1 การสรางสรรค
C2 การคิดอยางมีวิจารณญาณ
C3 การแกปญหา
C4 การสื่อสาร  
C5 ความรวมมือ   
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   
หมายเหตุ : รหัสทักษะที่ปรากฏนี้ ใชเฉพาะหนังสือคูมือครูเลมนี้

58 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคิดคลาดเคลื่อน
แนวคิดคลาดเคลื่อนที่อาจพบและแนวคิดที่ถูกตองในบทที่ 2 สิ่งมีชีวิต มีดังตอไปนี้

แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกตอง
พืชเปนสิ่งไมมีชีวิต (Allen, 2014) พื ช เป น สิ่ ง มี ชี วิ ต เพราะมี ก ารสื บ พั น ธุ เจริ ญ เติ บ โต หายใจ
กินอาหาร ขับถาย เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง และตอบสนองตอ
สิ่งเราได (Allen, 2014)
แสงจากดวงอาทิตยมีประโยชนแตไมมีความสําคัญตอการ แสงจากดวงอาทิตยมีความจําเปนสําหรับการสังเคราะหดวยแสง
ดํารงชีวิตของพืช (Fries-Gaither, 2009) หรือการสรางอาหารของพืช (Darko, Heydarizadeh, Schoefs,
& Sabzalian, 2014)
แสงจากดวงอาทิตยชวยใหพืชเจริญเติบโตได โดยพืชมีการ สารสี เ ขี ย วในพื ช (คลอโรฟ ล ล ) จะตรึ ง พลั ง งานแสงจาก
เก็บ ความร อนไว (Barman, Stein, McNair & Barman, ดวงอาทิ ต ย สํ า หรั บ ใช ใ นกระบวนการสั ง เคราะห ด ว ยแสง
2006) (Barman, Stein, McNair & Barman, 2006)
พืชหายใจเขาโดยใชแกสคารบอนไดออกไซดและหายใจ พืชรับทั้งแกสคารบอนไดออกไซดและแกสออกซิเจนผานทางใบ
ออกโดยปล อยแก ส ออกซิ เ จนออกมา (Barman, Stein, เพื่อนําไปใชในกระบวนการที่แตกตางกั น คือใชแกสออกซิ เ จน
McNair & Barman, 2006; Keles & Kefeli, 2010) ในการหายใจ และใชแกส คารบ อนไดออกไซดในกระบวนการ
สังเคราะหดวยแสง สําหรับแกสออกซิเจนที่พืชปลอยออกมานั้น
มาจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช (Keles & Kefeli,
2010)
เมล็ดพืชเปนสิ่งไมมีชีวิต (BSCS, 2006) เมล็ดพืชเปนสิ่งมีชีวิต ในเมล็ดมีตนออน (เอ็มบริโอ) ที่สามารถ
เจริญเติบโตเปนตนพืชได (BSCS, 2006)
พืชดอกสรางผลกอนแลวจึงสรางเมล็ด หลั ง จากปฏิ ส นธิ เมล็ ด และผลของพื ช มี ก ารพั ฒ นาและ
(BSCS, 2006) เจริญเติบโตไปพรอมกัน (BSCS, 2006)
วัฏ จักรชี วิ ต ของสิ่ งมี ชี วิ ต มี จุ ดเริ่ ม ต น จากไข (egg) หรื อ วั ฏ จั ก รชี วิ ต เป น การเปลี่ ย นแปลงของสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ เ ป น แบบรู ป
เมล็ด (seed) (Ho, Yusoff & Nanda, 2004) หมุนเวียนตอเนื่องไป ไมมีจุดเริ่มตนที่แนนอน จะเริ่มจากระยะใด
ระยะหนึ่ ง ก็ ไ ด แต มี ก ารเปลี่ ย นแปลงต อ เนื่ อ งหมุ น เวี ย นเป น
วัฏจักรที่มีแบบรูปคงที่ ซึ่งระยะที่สิ่งมีชีวิตเปนเซลลไขหรือเมล็ด
จะเปนชวงหนึ่งของวัฏจักรชีวิต (Ho, Yusoff & Nanda, 2004)
ถาครูพบวามีแนวคิดคลาดเคลื่อนใดที่ยังไมไดแกไขจากการทํากิจกรรมการเรียนรู ครูควรจัดการเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อแกไข
ตอไปได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 59
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

บทนี้เริ่มตนอยางไร (1 ชั่วโมง)
1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของพืชและสัตว โดยนํา
ภาพสัตวและพืชที่นักเรียนคุนเคยในแหลงที่อยูหนึ่ง ๆ มาใหนักเรียน
สังเกต เชน ภาพแมวหรือสุนัขกําลังกินน้ําในอางหรือสระน้ําที่มีตนไม ใ น ก า ร ท บ ท ว น ค ว า ม รู
เจริญเติบโตอยู โดยใชคําถามดังนี้ พื้นฐาน ครูควรใหเวลานักเรียน
1.1 ในภาพมีสิ่งใดบาง (นักเรียนตอบตามสิ่งที่ปรากฏในภาพ เชน คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
แมวหรือสุนัข พืช อางน้ํา น้ํา) อดทน นักเรียนตองตอบคําถาม
1.2 ร า งกายของสั ต ว (แมวหรื อ สุ นั ข ) ในภาพประกอบด ว ยส ว น เหลานี้ไดถูกตอง หากตอบไมได
ใดบาง (นักเรียนตอบตามความเปนจริง เชน มีศีรษะ ตา จมูก หรื อ ลื ม ครู ต อ งให ค ว ามรู ท่ี
ปาก ขา หาง)
ถูกตองทันที
1.3 ในภาพมีพืชชนิดใดบาง (นักเรียนตอบตามสิ่งที่ปรากฏในภาพ
ครูอาจชวยบอกชื่อพืช ในกรณีที่นักเรียนไมรูจักชื่อพืชชนิดนั้น ๆ)
1.4 พื ช ในภาพมี ส ว นประกอบอะไรบ า ง (นั กเรีย นตอบตามความ
เปนจริง เชน มีใบ ลําตน อาจมีดอก หรือผล)
2. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมี ชี วิ ต ในการตรวจสอบความรูเดิม
โดยใชคําถาม ดังนี้ ครูรับฟงเหตุผลของนักเรียนเปน
2.1 จากภาพสิ่งใดบางเปนสิ่งมีชีวิต (นักเรียนตอบตามความเขาใจ สําคัญ ครูยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ
ของตนเอง คือ แมวหรือสุนัข พืช) แตชักชวนใหหาคําตอบที่ถูกต อง
2.2 เพราะเหตุ ใ ดสิ่ ง ที่ นั ก เรี ย นตอบในข อ 2.1 จึ ง เป น สิ่ ง มี ชี วิ ต จากกิจกรรมตาง ๆ ในบทเรียนนี้
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง)
2.3 จากภาพสิ่งใดบางเปนสิ่งไมมีชีวิต (นักเรียนตอบตามความเขาใจ
ของตนเอง เชน อางน้ํา น้ํา)
2.4 เพราะเหตุ ใ ดสิ่ ง ที่ นั ก เรี ย นตอบในข อ 2.3 จึ ง เป น สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต
(นักเรียนตอบตามความเขาใจ)
3. ครูใหนักเรียนอาน ชื่อบท และจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ใน
หนังสือเรียนหนา 17 จากนั้นครูใชคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ
ดังนี้
3.1 บทนี้จะไดเรียนเรื่องอะไร (เรื่องสิ่งมีชีวิต)
3.2 จากจุดประสงคการเรียนรูเมื่อเรียนจบบทนี้นักเรียนสามารถทํา
อะไรได บ า ง (สามารถเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะของสิ่ ง มี ชี วิ ต และ
สิ่งไมมีชีวิต ระบุสิ่งที่พืชใชในการเจริญเติบโต รวมถึงสามารถดูแล

60 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

พื ช ให ได รั บ น้ํ า และแสงที่ เ หมาะสมเพื่ อใหพืช เจริญ เติบ โต และ


สามารถสรางแบบจําลองและบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกได)
4. นั ก เรี ย นอ า นชื่ อ บทและแนวคิ ด สํ า คั ญ ในหนั ง สื อ เรี ย นหน า 18
จากนั้นครูใชคําถามวา จากการอานแนวคิดสําคัญ นักเรียนคิดวาจะ
ได เ รี ย นเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งอะไรบ า ง (เรื่ อ งลั ก ษณะของสิ่ ง มี ชี วิ ต และ
สิ่งไมมีชีวิต การเจริญเติบโตของพืชดอก และวัฏจักรชีวิตของพืชดอก)
5. ครูชักชวนใหนักเรียนสังเกตรูป และอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหนา
18 โดยครู ฝ ก ทั ก ษะการอ า นตามวิ ธี ก ารอ า นที่ เ หมาะสมกั บ
ความสามารถของนักเรียน ครูตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดย
ใชคําถามดังนี้
5.1 สถานที่ในรูปคือที่ใด (โรงพยาบาล)
5.2 ในโรงพยาบาลเราจะพบสิ่ ง ใดบ า ง (นั ก เรี ย นตอบตาม
ประสบการณเดิม เชน คนไข แพทย พยาบาล พนักงาน สิ่งของ
เครื่องใช สิ่งตกแตงสถานที่ เชน โตะ เกาอี้ เครื่องมือแพทย พืช)
5.3 จากรูป นักเรียนคิดวามีสิ่งใดที่เราจะไมไดพบเห็นในโรงพยาบาล
ทั่ว ๆ ไป (หุนยนต)
5.4 หุนยนตในเนื้อเรื่องสามารถทําอะไรไดบาง (เดินรับสงเอกสาร)
ถ านักเรีย นไมส ามารถตอบ
5.5 มนุษยสามารถเดินรับสงเอกสารไดหรือไม (ได)
คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
5.6 มนุ ษ ย กั บ หุ น ยนต มี สิ่ ง ใดเหมื อ นและมี สิ่ ง ใดแตกต า งกั น บ า ง
คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน มนุษยกับหุนยนตมี
คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
สวนตาง ๆ ของรางกายบางสวนเหมือนกัน เชน มีศีรษะ ลําตัว
อดทน และรับฟงแนวความคิด
แขน มื อ แตหุ น ยนต ในรู ป ไม มีข า มี ป ากแตไมส ามารถพู ด ได
ของนักเรียน
เหมือนมนุษย)
5.7 มนุ ษย เ ป น สิ่ งมี ชี วิ ตหรื อ ไม เพราะเหตุ ใ ด (นักเรีย นตอบตาม
ความเข า ใจของตนเอง เช น มนุ ษ ย เ ป น สิ่ ง มี ชี วิ ต เพราะ
เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง กินอาหารได)
5.8 หุนยนตเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตาม
ความเข า ใจของตนเอง เช น หุ น ยนต ไ ม เ ป น สิ่ง มี ชีวิต เพราะ
หุนยนตไมกินอาหาร ไมหายใจ)
5.9 ในรูปมีสิ่งใดบางเปนสิ่งมีชีวิต และมีสิ่งใดบางเป นสิ่งไม มีชีวิต
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน แพทย พยาบาล
พนักงาน และพืช เปนสิ่งมีชีวิต สวนโตะ เกาอี้ เครื่องมือแพทย
และหุนยนตเปนสิ่งไมมีชีวิต)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 61
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

5.10 สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต เหมื อ นหรื อ แตกต า งกั น อย า งไร
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง) การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
6. ครู ชั กชวนนั กเรี ย นตอบคํ า ถามเกี่ ย วกั บ สิ่ งมี ชีวิตในสํ า รวจความรู เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
กอนเรียน ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดเรียน
7. นักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 24 เรื่องที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิต ครูควร
โดยนั ก เรี ย นอ า นคํ า ถามแต ล ะข อ ครู ต รวจสอบความเข า ใจของ
เตรียมสื่อการสอน อาจเตรียมภาพสุนัข
นักเรียน จนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียน
ตอบคําถาม คําตอบของแตละคนอาจแตกตางกัน และคําตอบอาจถูก กบ และกะลา หรื อ นํ า กะลาจริ ง มาให
หรือผิดก็ได นักเรียนสังเกตประกอบการอานเนื้อเรื่อง
8. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรี ย นมี
แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต อย า งไรโดยอาจสุ ม ให นั ก เรี ย น 2-3 คน
นํ า เสนอคํ า ตอบของตนเอง ครู ยั ง ไม ต อ งเฉลยคํ า ตอบ แต จ ะให
นักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังจากเรียนจบบทนี้แลว ทั้งนี้
ครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน
แล ว นํ า มาใช ใ นการออกแบบการจั ด การเรี ย นรู เ พื่ อ แก ไ ขแนวคิ ด
คลาดเคลื่อนใหถูกตอง และตอยอดแนวคิดที่นาสนใจของนักเรีย น
ตอไป

62 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม
การสํารวจความรูกอนเรียน นักเรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผิดก็ไดขึ้นอยูกับความรูเดิมของนักเรียน
แตเมื่อเรียนจบบทเรียนแลว ใหนักเรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกครั้งและแกไขใหถูกตอง ดังตัวอยาง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 63
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

สามารถเจริญเติบโต หายใจ สืบพันธุ


 เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง กินอาหาร ขับถาย
ตอบสนองตอสิ่งตาง ๆ ได

สามารถเจริญเติบโต หายใจ สืบพันธุ


 เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง กินอาหาร ขับถาย
ตอบสนองตอสิ่งตาง ๆ ได

ไมสามารถเจริญเติบโต หายใจ สืบพันธุ


 เคลื่อนไหวดวยตนเอง กินอาหาร ขับถาย
ตอบสนองตอสิ่งตาง ๆ ได

ไมสามารถเจริญเติบโต หายใจ สืบพันธุ


 เคลื่อนไหวดวยตนเอง กินอาหาร ขับถาย
ตอบสนองตอสิ่งตาง ๆ ได

สามารถเจริญเติบโต หายใจ สืบพันธุ


เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง กินอาหาร ขับถาย

ตอบสนองตอสิ่งตาง ๆ ได

64 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

1
ไดรับน้ําและแสง ที่จําเปนตอการเจริญเติบโตและดํารงชีวิตของพืช

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 65
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ข ก

66 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

เรื่องที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต
ในเรื่ อ งนี้ นั ก เรี ย นจะได เ รี ย นรู เ กี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ อ ยู
รอบตั ว เรา ซึ่ ง มี ทั้ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ไม มี ชี วิ ต สิ่ ง มี ชี วิ ต
ตองการอาหาร หายใจ เจริญเติบโต ขับถาย เคลื่อนไหว
ไดดวยตนเอง ตอบสนองตอสิ่งเรา และสืบพันธุได สวน
สิ่งไมมีชีวิตไมมีลักษณะดังกลาว

จุดประสงคการเรียนรู
รวบรวมขอมูลและเปรียบเทียบลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต

เวลา 4 ชั่วโมง

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
-
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 21-25
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 28-33

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 67
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู (60 นาที)


ขั้นตรวจสอบความรู (10 นาที)

1. ครูตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต โดยครูให
นั ก เรี ย นสั ง เกตสิ่ ง ต า ง ๆ รอบตั ว ทั้ ง ภายในโรงเรี ย นและที่ บ า น
จากนั้นนําอภิปรายโดยใชคําถาม ดังนี้
1.1 สิ่งที่อยูรอบ ๆ ตัวนักเรียนทั้งที่โรงเรียนและที่บานมีอะไรบ าง ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน พอแม ครู เพื่อน ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
สุนัข ตนไม บาน หนังสือ กระเปานักเรียน ประตู หนาตาง) และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
1.2 จากคํ า ตอบในข อ 1.1 นั ก เรี ย นคิ ด ว า สิ่ ง ใดเป น สิ่ ง มี ชี วิ ต ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน พอแม ครู เพื่อน ตนเองจากการอานเนื้อเรื่อง
สุนัข ตนไม ดอกไม)
1.3 นั กเรี ย นคิ ด ว า สิ่ งใดเป น สิ่งไม มีชี วิต (นั กเรีย นตอบตามความ
เขาใจของตนเอง เชน บาน หนังสือ กระเปานั กเรี ยน ประตู
หนาตาง)
1.4 นักเรียนคิดวาสิ่งมีชีวิต สามารถทําอะไรไดบาง (นักเรียนตอบ
ตามความเข า ใจของตนเอง เช น เคลื่ อ นไหวได ด ว ยตนเอง
หายใจ กินอาหาร เจริญเติบโต)
2. ครู เ ชื่ อมโยงความรู เ ดิ มของนั กเรี ย นสู การเรี ย นเรื่องสิ่งมีชีวิต และ
สิ่งไม มีชี วิ ต โดยใช คํา ถามว า สิ่ งมี ชี วิ ตมี ลั ก ษณะอยา งไรบ า ง และ
แตกตางจากสิ่งไมมีชีวิตอยางไร

ขั้นฝกทักษะจากการอาน (40 นาที)

3. นักเรียนอานชื่อเรื่องและคําถามในคิดกอนอาน ในหนังสือเรียนหนา
21 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพื่อหาแนวคําตอบตามความเขาใจ
ของนั ก เรี ย น ครู บั น ทึ ก คํ า ตอบของนั ก เรี ย นบนกระดานเพื่ อ ใช
เปรียบเทียบคําตอบหลังจากอานเนื้อเรื่อง
4. นักเรียนอานคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน
อานไมได ครูควรสอนอานใหถูกตอง) จากนั้นครูชักชวนใหนักเรียน
อธิบายความหมายของคําสําคัญจากเนื้อเรื่องที่จะอาน

68 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

5. นักเรียนอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหนา 21-22 โดยครูฝกทักษะ


การอานตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ย น
จากนั้นครูตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดยใชคําถามดังนี้
5.1. ในเรื่ อ งที่ อ า นกล า วถึ ง อะไรบ า ง (สุ นั ข ชื่ อ เป ย กปู น ปุ ก ปุ ย
ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
ลูกของเปยกปูนกับปุกปุย ขาวตู พอ กบ กะลามะพราว)
คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
5.2. จากสิ่งที่กลาวถึงในขอ 5.1 อะไรบางเปนสิ่งมีชีวิต (เปยกปู น
คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
ปุกปุย ลูกของเปยกปูนและปุกปุย พอ ขาวตู กบ)
อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
5.3. เปยกปูนมีลักษณะอะไรบางที่บอกไดวาเปนสิ่งมีชีวิต (เปยกปูน
แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
มีการหายใจ กินอาหาร เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง เจริญเติบโต
นักเรียน
สืบพันธุ ขับถาย และตอบสนองตอสิ่งเรา)
5.4. ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแตละลักษณะเปนอยางไร
- การหายใจ เปนอยางไร (การนําอากาศเขาและออก)
- การเคลื่อนไหวไดดวยตนเอง เปนอยางไร (การขยับรางกาย
ไดดวยตนเอง โดยไมมีสิ่งอื่น ๆ มากระทําใหเคลื่อนไหว)
ครูอาจอธิบายความหมายของคําวาเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่
เพิ่มเติมวา เคลื่อนไหว คือ ขยับหรือไหวตัว แตเคลื่อนที่ คือ
ไม อ ยู กั บ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นตํ า แหน ง ซึ่ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต สามารถ
เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง
- การเจริญเติบโต เปนอยางไร (การมีขนาดรางกายใหญขึ้น)
- การสืบพันธุ เปนอยางไร (การเพิ่มจํานวน)
- การขับถาย เปนอยางไร (การขับของเสียออกจากรางกาย)
- สิ่งเรา คืออะไร (สิ่งที่มากระตุน)
- การตอบสนองตอสิ่งเรา เปนอยางไร (รางกายของสิ่งมีชีวิต
แสดงอาการเมื่อมีสิ่งตาง ๆ มากระตุน)
5.5 กบเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความ
เขาใจของตนเอง เชน กบเปนสิ่งมีชีวิต เพราะเคลื่อนไหวไดดวย
ตนเอง)
5.6 กะลามะพราวที่เคลื่อนไหวได จัดเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม เพราะ
เหตุ ใ ด (นั ก เรี ย นตอบตามความเข า ใจของตนเอง เช น
กะลามะพราวเปนสิ่งไมมีชีวิต เพราะกะลามะพราวเคลื่อนไหว
ดวยตนเองไมได ที่เห็นวาเคลื่อนไหวไดเพราะมีกบอยูในกะลา
เมื่ อกบเคลื่ อนไหว กะลามะพร า วจึ งเคลื่ อนไหวไปดว ย และ
กะลามะพราวไมมีลักษณะอื่นที่บอกวาเปนสิ่งมีชีวิต)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 69
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

5.7 นั กเรี ย นคิ ดว า รอบ ๆ ตั ว เรายั งมี อะไรอี กบางที่เปน สิ่งมี ชี วิ ต
เพราะเหตุ ใด (นักเรียนตอบตามความเข า ใจของตนเอง เชน
ตัวเอง เพื่อน สัตวเลี้ยง พืชตาง ๆ เพราะหายใจได กินอาหารได
เคลื่ อนไหวด ว ยตนเองได ขั บ ถ า ยได ตอบสนองต อสิ่ งเร า ได
เจริญเติบโตได สืบพันธุได)
5.8 ครู ส ามารถให ความรู เพิ่ มเติ มกั บ นั กเรี ย นไดวา สิ่งมีชีวิตจะมี
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตทั้ง 7 ลักษณะนี้ แตบางชวงเวลาที่สังเกต
อาจพบลักษณะไมครบทั้ง 7 ลักษณะ
6. นักเรียนสังเกตลักษณะของสิ่งมีชีวิต โดยใชแอปพลิเคชันสําหรับการ
สังเกตภาพเสมือนจริงสามมิติ (AR) เรื่องสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ใน
หนังสือเรียน หนา 22 เปนสื่อประกอบเพิ่มเติม
การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
ขั้นสรุปจากการอาน (10 นาที)
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
7. นักเรียนรวมกันสรุปเรื่องที่อานซึ่งควรสรุปไดวา สิ่งมีชีวิตสามารถ
หายใจ กินอาหาร เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง เจริญเติบโต สืบพันธุ ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า
ขับถาย และตอบสนองตอสิ่งเราได กิจ กรรมที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต
8. นักเรียนตอบคําถามในรูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 28 มี ลั ก ษณะแตกต า งกั น อย า งไร โดยครู
9. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน อาจจัดเตรีย มอุป กรณห รื อเตรีย มการ
ในรู ห รื อ ยั ง กั บ คํ า ตอบที่ เ คยตอบและบั น ทึ ก ไว ใ นคิ ด ก อ นอ า น จัดการเรียนการสอน ดังนี้
จากนั้นใหนักเรียนฝกเขียนคําวา หายใจ เจริญเติบโต สืบพันธุ ขับถาย 1. รู ป สั ต ว ห รื อ วี ดิ ทั ศ น เ กี่ ย ว กั บ
ตอบสนอง และสิ่งเรา ในเขียนเปนในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 29 สั ต ว ต า ง ๆ รวมทั้ ง ของเล น ต า ง ๆ
10. นักเรียนตอบคําถามทายเรื่องที่อาน ดังนี้ เช น หุ น ยนต รถของเล น เพื่ อ ใช
10.1 กบและกะลามะพราวเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม สําหรับนําเขาสูกิจกรรมที่ 1
10.2 สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกตางจากสิ่งไมมีชีวิตอยางไร 2. ครู อ าจนํ า ตู ป ลาที่ มี ป ลา สาหร า ย
ครู บั น ทึ กคํ า ตอบของนั กเรี ย นบนกระดาน โดยยังไมเฉลยคําตอบ มาวางไว ใ นห อ งเรี ย น เพื่ อ เป น
แตชักชวนใหนักเรียนหาคําตอบจากการทํากิจกรรม ตัวอยางสิ่งมีชีวิต

70 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 71
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

หายใจ

หายใจ

เจริญเติบโต

เจริญเติบโต

สืบพันธุ

สืบพันธุ

ขับถาย

ขับถาย

ตอบสนอง

ตอบสนอง

สิ่งเรา

สิ่งเรา

72 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมที่ 1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตมีลักษณะแตกตางกันอยางไร
กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตสิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัว
และสืบคนขอมูลเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ วามีลักษณะของสิ่งมีชีวิต
หรือไม รวมทั้งจัดกลุมสิ่งตาง ๆ ออกเปนกลุมสิ่งมีชีวิตและ
กลุมสิ่งไมมีชี วิต จากขอมูล ที่รวบรวมได เพื่อเปรียบเทีย บ
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต

เวลา 3 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู
รวบรวมข อ มู ล และเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะของ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S4 การจําแนกประเภท
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
C4 การสื่อสาร 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 23-24
C5 ความรวมมือ 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 30-33
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 73
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม มีชีวิต
โดยนํารูปสัตวหรือวีดิทัศนเกี่ยวกับสัตวชนิดตาง ๆ และสิ่งของตาง ๆ เชน
รถของเลน หุนยนต มาใหนักเรียนดู จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปราย
โดยใชคําถามดังตอไปนี้ ในการทบทวนความรูพื้นฐาน
1.1 สัตวในรูปเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม เพราะอะไร (สัตวในรูปเปนสิ่งมีชีวิต ครู ค วรให เ วลานั ก เรี ย นคิ ด อย า ง
เพราะสามารถเคลื่ อ นไหวได ด ว ยตนเอง กิ น อาหาร หายใจ เหมาะสม รอคอยอย า งอดทน
เจริญเติบโต สืบพันธุ ขับถาย และตอบสนองตอสิ่งเราได) นักเรียนตองตอบคําถามเหลานี้ ได
1.2 สิ่งของตาง ๆ ที่ครูนํามาใหนักเรียนสังเกต เชน รถของเลน รถยนต ถู ก ต อ ง หากตอบไม ไ ด ห รื อ ลื ม
เปนสิ่งมีชีวิตหรือไม เพราะอะไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของ ครูตองใหความรูที่ถูกตองทันที
ตนเอง เช น สิ่ งของเหล า นี้ เ ป น สิ่ งไม มีชี วิ ต เพราะไมส ามารถกิ น
อาหาร หายใจ เจริ ญ เติ บ โต สื บ พั น ธุ ขั บ ถ าย เคลื่ อนไหวได ดวย
ตนเอง และตอบสนองตอสิ่งเราได)
2. ครูเชื่อมโยงความรูพื้นฐานของนักเรียนเขาสูกิจกรรมที่ 1 โดยใชคําถาม
วา สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกตางจากสิ่งไมมีชีวิตหรือไม อยางไร
3. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน จากนั้นรวมกันอภิปราย
เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงคในการทํากิจกรรม โดยใช
คําถาม ดังนี้
3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเรื่องอะไร (ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งไมมีชีวิต)
3.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องนี้ดวยวิธีใด (การสังเกตและสืบคนขอมูล)
3.3 เมื่ อ เรี ย นแล ว นั ก เรี ย นจะทํ า อะไรได (เปรี ย บเที ย บลั ก ษณะของ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตได)
4. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 30
5. นั ก เรี ย นอ า นทํ า อย า งไรที ล ะข อ โดยครู ใ ช วิ ธี ฝ ก ทั ก ษะการอ า น
ที่เหมาะสมกั บ ความสามารถของนั กเรี ยน จากนั้น ครูต รวจสอบความ
เขาใจเกี่ยวกับวิธีการทํากิจกรรม จนนักเรียนเขาใจลําดับการทํากิจกรรม
โดยใชคําถามดังนี้
5.1 นักเรียนตองทําอะไรเปนอันดับแรก (เลือกสิ่งตาง ๆ รอบตัวอยางนอย
2 ชนิด ที่ไมซ้ํากับเพื่อนในกลุม)

74 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

5.2 เมื่อเลือกสิ่งตาง ๆ ไดแลว นักเรียนตองทําอะไรตอไป (สังเกตและ


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
สืบคนขอมูลวา สิ่งที่เลือกมีลักษณะของสิ่งมีชีวิตหรือไม บันทึกผล)
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
5.3 นักเรียนสามารถสืบคนขอมูลเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งตาง ๆ ไดจาก
ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
ที่ใดบาง (อินเทอรเน็ต หนังสือ สอบถามครูหรือผูปกครอง)
5.4 สิ่งที่นักเรียนต องทํ าต อไปคื ออะไร (รวมกันอภิปรายและจั ด กลุ ม S1 การสังเกตสิ่งตาง ๆ รอบตัวที่
สิ่งตาง ๆ ออกเปนกลุมสิ่งมีชีวิตและกลุมสิ่งไมมีชีวิต) เลือกวามีลักษณะของสิ่งมีชีวิต
5.5 เมื่ อ นั ก เรี ย นจั ด กลุ ม สิ่ ง ต า ง ๆ แล ว นั ก เรี ย นต อ งทํ า อย า งไร หรือไม
(เปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต) S4 การจัดกลุมสิ่งตาง ๆ รอบตัวเปน
6. ครูอาจชวยเขียนสรุปเปนขั้นตอนสั้น ๆ บนกระดาน กลุมสิ่งมีชีวิตและกลุมสิ่งไมมีชีวิต
S8 การลงความเห็นขอมูลที่ไดจากการ
สังเกตและสืบคนขอมูลวา สิ่งใด
เปนสิ่งมีชีวิต และสิ่งใดเปน
สิ่งไมมีชีวิต
C4 เปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไมมีชีวิต แลวนําเสนอ
C5 การรวมกันอภิปรายและจัดกลุม
สิ่งตาง ๆ ที่เลือกกันภายในกลุม
และเปรียบเทียบลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต แลว
นําเสนอ
7. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว ใหนักเรียนเริ่ม C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรม สืบคนขอมูลวาสิ่งที่เลือกมีลักษณะ
8. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใชคําถาม ของสิ่งมีชีวิตหรือไม
ดังตอไปนี้
8.1 สิ่งที่นักเรียนเลือก มีอะไรบาง (นักเรียนตอบตามสิ่งที่นักเรียนเลือก
เชน ปลา หนังสือ รถ ดินสอ มด)
8.2 สิ่งใดเปนสิ่งมีชีวิต (นักเรียนตอบตามผลการสังเกตและสืบคนขอมูล
ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
เชน ปลา มด)
คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
8.3 ลักษณะที่บอกวาเปนสิ่งมีชีวิตมีอะไรบาง (นักเรียนตอบตามผลการ
คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
ทํากิจกรรม เชน ปลากินอาหาร เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง ขับถาย
อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
ได)
แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
นักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 75
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

8.4 ผลจากการจัดกลุม นักเรียนบอกไดหรือไมวา สิ่งใดเปนสิ่งมีชีวิตและ


สิ่ ง ใดเป น สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต (นั ก เรี ย นตอบตามผลการทํ า กิ จ กรรม เช น
กลุมสิ่งมีชีวิต ไดแก ปลา มด กลุมสิ่งไมมีชีวิต ไดแก หนังสือ ดินสอ รถ)
8.5 สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต มี ลั ก ษณะแตกต า งกั น อย า งไร (สิ่ ง มี ชี วิ ต มี
ลั ก ษณะ คื อ มี ก ารหายใจ กิ น อาหาร เคลื่ อ นไหวได ด ว ยตนเอง
เจริญเติบโต ขับถาย สืบพันธุ และตอบสนองตอสิ่งเราได แตสิ่งไมมีชีวิต
ไมมีลักษณะเหลานั้น)
9. ครู อ าจให นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายและพิ จ ารณาสิ่ ง ของบางอย า ง เช น
หุ น ยนต หรื อ รถของเล น ที่ ส ามารถเคลื่ อ นไหวได ควรจั ด ของเหล า นี้
เปนสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไมมีชีวิต ซึ่งนักเรียนควรอภิปรายและสรุปไดวาหุนยนต
หรือรถของเลน เปนสิ่งไมมีชีวิต เพราะการเคลื่อนไหวของหุนยนต หรือการ
เคลื่อนที่ของรถของเลนเกิดจากการควบคุมโดยมนุษย หรือใสถานไฟฉาย
ไมสามารถเคลื่อนไหวไดดวยตนเอง
10. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวา สิ่งมีชีวิตแตกตางจาก
สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต โดยสิ่ ง มี ชี วิ ต สามารถหายใจ กิ น อาหาร เคลื่ อ นไหวได
ดวยตนเอง เจริญเติบโต สืบพันธุ ขับถาย และตอบสนองตอสิ่งเราได แต
สิ่งไมมีชีวิตไมสามารถทําสิ่งตาง ๆ เหลานั้นได (S13)
11. นักเรียนตอบคําถามในฉันรูอะไร แลวรวมกันอภิปรายคําตอบโดยครูอาจใช
คําถามเพิ่มเติมในการอภิปรายเพื่อใหไดแนวคําตอบที่ถูกตอง
12. นักเรี ย นอ าน สิ่ งที่ ไ ด เ รี ยนรู และเปรี ย บเที ย บกับ ข อสรุป ที่ ไ ด จ ากการ การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
อภิปราย
13. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรูเพิ่มเติม
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
ใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของ ในครั้งถัดไป นักเรีย นจะไดเ รี ย น
ตนเองหน า ชั้ น เรี ย น และให นั กเรี ย นร ว มกั น อภิป รายเกี่ย วกับคําถามที่ เรื่องที่ 2 ชีวิตของพืช โดยครูเตรีย มสื่ อ
นําเสนอ การสอน ดังนี้
14. ครู นํ าอภิ ป รายเพื่ อให นั กเรี ย นทบทวนว า ได ฝ กทักษะกระบวนการทาง 1. รู ป เมล็ ด ถั่ ว เขี ย ว และถั่ ว งอก
วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อะไรบางและในขั้นตอนใด เพื่อใหนักเรีย นไดสังเกตในขั้น ตอนการ
15. นั ก เรี ย นร ว มกั น อ า นรู อ ะไรในเรื่ อ งนี้ ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 25 ครู นํ า ตรวจสอบความรูกอนอานเนื้อเรื่อง
อภิ ป รายเพื่ อนํ า ไปสูขอสรุป เกี่ ย วกั บ สิ่งที่ ได เรี ยนรูในเรื่องนี้ จากนั้ นครู 2. แผนภาพการเปลี่ยนแปลงของ
กระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเปนคําถามเพื่อ เมล็ดพืชขณะงอก เพื่อประกอบเนื้อเรื่อง
เชื่อมโยงไปสูการเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้ “รูหรือไมวา พืชตองการ ระหวางการอภิปราย
อะไรเพื่อใชในการเจริญเติบโตบาง” นักเรียนสามารถตอบตามความเขาใจ
ของตนเอง ครูชี้แนะวานักเรียนจะหาคําตอบไดจากการเรียนในบทตอไป

76 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

รวบรวมขอมูลและเปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไมมีชีวิต

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน

หนังสือ - - - - - - -

แมว √ √ √ √ √ √ √

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 77
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน

แมว ผีเสื้อ ไมบรรทัด หนังสือ


ดอกไม มด กระเปานักเรียน โตะ
ดินสอ

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน

แมว มด ผีเสื้อ ดอกไม

มีลักษณะของสิ่งมีชีวิต ไดแก หายใจ กินอาหาร เจริญเติบโต


เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง สืบพันธุ ขับถาย และตอบสนองตอสิ่งเราได

78 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ไมบรรทัด หนังสือ กระเปานักเรียน


ดินสอ โตะ
ไมมีลักษณะของสิ่งมีชีวิต คือ ไมสามารถหายใจ กินอาหาร
เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง เจริญเติบโต สืบพันธุ ขับถาย
และตอบสนองตอสิ่งเราได

แมว มด ผีเสื้อ ดอกไม

ไมบรรทัด หนังสือ กระเปานักเรียน ดินสอ โตะ

หายใจ กินอาหาร เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง


เจริญเติบโต สืบพันธุ ขับถาย
ตอบสนองตอสิ่งเรา

สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกตางจากสิ่งไมมีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิตสามารถหายใจ
กินอาหาร เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง เจริญเติบโต สืบพันธุ ขับถาย
และตอบสนองตอสิ่งเราได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 79
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

คําถามของนักเรียนที่ตั้งตามความอยากรูของตนเอง

80 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 1 สิ่งมีชีวติ และสิ่งไมมีชีวิตมีลักษณะแตกตางกัน


อยางไร
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับ


คะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S4 การจําแนกประเภท
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รวมคะแนน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 81
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยายรายละเอียด สามารถใชประสาท สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาท
เกี่ยวกับลักษณะของ สัมผัสเก็บรายละเอียด เก็บรายละเอียดขอมูล สัมผัสเก็บรายละเอียด
สิ่งที่เลือก 2 ชนิด ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ เกี่ยวกับลักษณะของสิ่งที่ ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ
ของสิ่งที่เลือกทั้งสองชนิด เลือกทั้งสองชนิดได จาก ของสิ่งที่เลือกทั้งสอง
ไดดวยตนเอง โดยไม การชี้แนะของครูหรือผูอื่น ชนิดไดเพียงบางลักษณะ
เพิ่มเติมความคิดเห็น แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น
S4 การจําแนก การจัดกลุมสิ่งตาง ๆ สามารถจัดกลุมสิ่งตาง ๆ สามารถจัดกลุมสิ่งตาง ๆ สามารถจัดกลุม
ประเภท รอบตัวเปนกลุม รอบตัวเปนกลุมสิ่งมีชีวิต รอบตัวเปนกลุมสิ่งมีชีวิต สิ่งตาง ๆ รอบตัวเปน
สิ่งมีชีวิตและกลุม และกลุมสิ่งไมมีชีวิตได และกลุมสิ่งไมมีชีวิตได กลุมสิ่งมีชีวิตและกลุม
สิ่งไมมีชีวิต ดวยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ สิ่งไมมีชีวิตไดเพียง
ผูอื่น บางสวน แมวาจะได
รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น
S8 การลง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น
ความเห็นจาก ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการสังเกต ขอมูลที่ไดจากการสังเกต จากขอมูลที่ไดจากการ
ขอมูล สังเกตและสืบคน และการสืบคนขอมูลวา และการสืบคนขอมูลวา สังเกตและการสืบคน
ขอมูลวา สิ่งที่เลือกมี สิ่งที่เลือกมีลักษณะของ สิ่งที่เลือกมีลักษณะของ ขอมูลวา สิ่งที่เลือกมี
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไมมีชีวิต สิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไมมีชีวิตได ลักษณะของสิ่งมีชีวิต
หรือสิ่งไมมีชีวิต ไดอยางถูกตอง ดวย อยางถูกตอง จากการ หรือสิ่งไมมีชีวิตไดเพียง
ตนเอง ชี้แนะของครูหรือผูอื่น บางสวน แมวาจะได
รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น

82 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S13 การ การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
ตีความหมายขอมูล ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลจากการสังเกตและ ขอมูลจากการสังเกตและ ขอมูลจากการสังเกต
และลงขอสรุป และสืบคนขอมูล และ สืบคนขอมูล และลง สืบคนขอมูล และลง และสืบคนขอมูล และ
ลงขอสรุปไดวา ขอสรุปไดวาสิ่งมีชีวิต ขอสรุปไดวาสิ่งมีชีวิตมี ลงขอสรุปวาสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตมีลักษณะ มีลักษณะแตกตางจาก ลักษณะแตกตางจาก มีลักษณะแตกตางจาก
แตกตางจาก สิ่งไมมีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิต สิ่งไมมีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิต สิ่งไมมีชีวิต โดย
สิ่งไมมีชีวิต โดย สามารถหายใจ กิน สามารถหายใจ กินอาหาร สิ่งมีชีวิตสามารถหายใจ
สิ่งมีชีวิตสามารถ อาหาร เคลื่อนไหวได เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง กินอาหาร เคลื่อนไหว
หายใจ กินอาหาร ดวยตนเอง เจริญเติบโต เจริญเติบโต สืบพันธุ ไดดวยตนเอง
เคลื่อนไหวไดดวย สืบพันธุ ขับถาย และ ขับถาย และตอบสนอง เจริญเติบโต สืบพันธุ
ตนเอง เจริญเติบโต ตอบสนองตอสิ่งเราได ตอสิ่งเราได แตสิ่งไมมีชีวิต ขับถาย และตอบสนอง
สืบพันธุ ขับถาย และ แตสิ่งไมมีชีวิตไมสามารถ ไมสามารถทําสิ่งตาง ๆ ตอสิ่งเราได แต
ตอบสนองตอสิ่งเราได ทําสิ่งตาง ๆ ที่กลาว ที่กลาวมาแลวได จากการ สิ่งไมมีชีวิตไมสามารถ
แตสิ่งไมมีชีวิต มาแลวได ดวยตนเอง ชี้แนะจากครูและผูอื่น ทําสิ่งตาง ๆ ที่กลาว
ไมสามารถทําสิ่งตาง ๆ มาแลวไดเพียงบางสวน
ที่กลาวมาแลวได แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะแหง ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C4 การสื่อสาร การนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล
จากการอภิปราย จากการอภิปรายและ การอภิปรายและ จากการอภิปรายและ
และเปรียบเทียบ เปรียบเทียบลักษณะ เปรียบเทียบลักษณะของ เปรียบเทียบลักษณะ
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ของสิ่งมีชีวิตและ สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตจาก ของสิ่งมีชีวิตและ
และสิ่งไมมีชีวิตจาก สิ่งไมมีชีวิตจากขอมูลที่ ขอมูลที่รวบรวมได โดยเขียน สิ่งไมมีชีวิตจากขอมูลที่
ขอมูลที่รวบรวมได รวบรวมได โดยเขียน บรรยายหรือบรรยายดวย รวบรวมได โดยเขียน
โดยเขียนบรรยาย บรรยายหรือบรรยาย คําพูดเพื่อใหผูอื่นเขาใจได บรรยายหรือบรรยาย
หรือบรรยายดวย ดวยคําพูดเพื่อใหผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 83
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะแหง ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
คําพูดเพื่อใหผูอื่น ดวยคําพูดเพื่อใหผูอื่น โดยอาศัยการชี้แนะจากครู เขาใจได เพียงบางสวน
เขาใจ เขาใจไดดวยตนเอง หรือผูอื่น แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น
C5 ความ การทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ
รวมมือ ผูอื่นในการอภิปราย ผูอื่นในการอภิปรายและ ในการอภิปรายและแสดง ผูอื่นในการอภิปรายและ
และแสดงความ แสดงความคิดเห็นเพื่อ ความคิดเห็นเพื่อจัดกลุม แสดงความคิดเห็นเพื่อ
คิดเห็นเพื่อจัดกลุม จัดกลุมสิ่งตาง ๆ สิ่งตาง ๆ ออกเปนกลุม จัดกลุมสิ่งตาง ๆ
สิ่งตาง ๆ ออกเปน ออกเปนกลุมสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตและกลุมสิ่งไมมีชีวิต ออกเปนกลุมสิ่งมีชีวิต
กลุมสิ่งมีชีวิตและ และกลุมสิ่งไมมีชีวิตและ และเปรียบเทียบลักษณะของ และกลุมสิ่งไมมีชีวิตและ
กลุมสิ่งไมมีชีวิตและ เปรียบเทียบลักษณะ สิ่งที่เลือกกับเพื่อนในกลุม เปรียบเทียบลักษณะ
เปรียบเทียบลักษณะ ของสิ่งที่เลือกกับเพื่อน และลงความเห็นวาสิ่งใดเปน ของสิ่งที่เลือกกับเพื่อน
ของสิ่งที่เลือกกับ ในกลุม และลง สิ่งมีชีวิตและสิ่งใดเปน ในกลุมไดเปนบาง
เพื่อนในกลุม รวมทั้ง ความเห็นวาสิ่งใดเปน สิ่งไมมีชีวิต รวมทั้งยอมรับ ชวงเวลา รวมทั้ง
ยอมรับความคิดเห็น สิ่งมีชีวิตและ ความคิดเห็นของผูอื่นใน ยอมรับความคิดเห็นของ
ของผูอื่น สิ่งใดเปนสิ่งไมมีชีวิต บางชวงเวลาที่ทํากิจกรรม ผูอื่นบาง ทั้งนี้ตองอาศัย
รวมทั้งยอมรับความ การกระตุนจากครูหรือ
คิดเห็นของผูอื่นตั้งแต ผูอื่น
เริ่มตนจนสําเร็จ
C6 การใช การใชเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยี
เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ สารสนเทศเพื่อสืบคน สารสนเทศเพื่อสืบคนขอมูล สารสนเทศเพื่อสืบคน
สารสนเทศและ สืบคนขอมูลวา สิ่งที่ ขอมูลวา สิ่งที่เลือกทั้ง วา สิ่งที่เลือกทั้งสองชนิดมี ขอมูลวา สิ่งที่เลือกทั้ง
การสื่อสาร เลือกทั้งสองชนิดมี สองชนิด มีลักษณะของ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตหรือไม สองชนิด มีลักษณะของ
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตหรือไม ไดดวย จากการชี้แนะของครูหรือ สิ่งมีชีวิตหรือไม ไดเพียง
หรือไม ตนเอง ผูอื่น บางสวน แมวาจะได
รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น

84 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

เรื่องที่ 2 ชีวิตของพืช
ในเรื่องนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปน
ตอการเจริญเติบโตของพืช และวัฏจักรชีวิตของพืชดอก
จุดประสงคการเรียนรู
1. สั ง เกต และอธิ บ ายผลของน้ํ า และแสงต อ การ
เจริญเติบโตของพืช
2. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโต
ของพืช
3. ปลู ก และดู แ ลพื ช ให ไ ด รั บ น้ํ า และแสงที่ เ หมาะสม
เพื่อใหพืชเจริญเติบโต
4. สรางแบบจําลองเพื่อบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก
เวลา 8 ชั่วโมง
วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
เมล็ดพืช กลองกระดาษทึบ ภาชนะใสน้ํา ไมบรรทัด
กระถาง ดิ น ชอน เมล็ ดทานตะวั น เมล็ ดพริ ก ภาชนะ สื่อการเรียนรูแ ละแหลงเรียนรู
สํ า หรั บ ปลู ก พื ช บั ต รภาพการเปลี่ ย นแปลงขณะ 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 26-36
เจริญเติบโตของพืช 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 34-52

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 85
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู (60 นาที)


ขั้นตรวจสอบความรู (10 นาที)

1. ครูตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับชีวิตของพืชโดยนําภาพหรือเมล็ ด พืช
ของจริงและเมล็ดพืชขณะงอกมาใหนักเรียนสังเกต เชน เมล็ดถั่วเขียว
กับถั่วงอก โดยใหสังเกตเมล็ดถั่วเขียวกอน จากนั้นนําอภิปรายโดยใช
ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
คําถามดังนี้
ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
1.1 นั ก เรี ย นรู จั ก สิ่ ง ที่ อ ยู ใ นภาพนี้ ห รื อ ไม (นั ก เรี ย นตอบตาม
และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
ประสบการณเดิม ซึ่งถานักเรียนยังตอบไมไดวาสิ่งที่อยูในภาพ
ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
คือเมล็ดถั่วเขียว ใหครูเฉลย)
ตนเองจากการอานเนื้อเรื่อง
1.2 เมล็ดถั่วเขียวเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม (นักเรียนตอบตามความเขาใจ
ของตนเอง)
1.3 สิ่ ง มี ชี วิ ต ต อ งมี ลั ก ษณะอย า งไร (สิ่ ง มี ชี วิ ต สามารถสื บ พั น ธุ
เจริญเติบโต หายใจ กินอาหาร ขับถาย เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง
และตอบสนองตอสิ่งเราได)
1.4 เมล็ดถั่วเขียวมีลักษณะของสิ่งมีชีวิตหรือไม (นักเรียนตอบตาม
ความเขาใจ ครูยังไมเฉลยคําตอบแตจะเฉลยหลังจากอานเรื่อง
ชีวิตของพืชแลว)
2. ครูใหนักเรียนสังเกตภาพถั่วงอก จากนั้นครูนําอภิปรายโดยใชคําถาม
ดังนี้
2.1 นั ก เรี ย นรู จั ก สิ่ ง ที่ อ ยู ใ นภาพนี้ ห รื อ ไม (นั ก เรี ย นตอบตาม
ประสบการณเดิม ซึ่งถานักเรียนยังตอบไมไดใหครูเฉลยวาเปน
ถั่วงอก)
2.2 ถั่ ว งอกในภาพนี้ เกิ ด มาจากส ว นใดของพื ช และเกิ ด ขึ้ น ได
อยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง)
3. ครูเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนสูการเรียนเรื่องชีวิตของพืชโดยใช
คําถามวา เมล็ดพืชงอกไดอยางไร ครูชักชวนนักเรียนหาคําตอบจากการ
อานเรื่องชีวิตของพืช

ขั้นฝกทักษะจากการอาน (40 นาที)

4. นักเรียนอานชื่อเรื่อง และคําถามในคิดกอนอาน ในหนังสือเรียนหนา


26 จากนั้นรวมกันอภิปรายในกลุมเพื่อหาคําตอบตามความเขาใจของ

86 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

นักเรียน ครูบันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใชเปรียบเทียบ
กับคําตอบภายหลังการอานเนื้อเรื่อง
5. นักเรียนอานคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน
อา นไม ได ครู ควรสอนอ า นให ถูกต อง) จากนั้ น ครูชักชวนใหนักเรีย น
อธิบายความหมายของคําสําคัญจากเนื้อเรื่องที่จะอาน
6. นักเรียนอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหนา 26-27 โดยครูฝกทักษะการ
อานตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน เรื่องชีวิต
ของพืชเปนการเขียนในรูปแบบนิทาน สามารถใหนักเรียนแสดงบทบาท
สมมติ ป ระกอบการอ านได จากนั้ น ครู ใช คํา ถามเพื่อตรวจสอบความ ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
เขาใจจากการอาน โดยใชคําถามดังนี้ คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
6.1 เมล็ดพืชอยูที่สวนใดของพืช (เมล็ดพืชอยูในผลของพืช) คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
6.2 เมล็ ด พื ช หลุ ด ออกจากผลได อ ย า งไร (ผลตกจากต น แล ว แตก อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
เมล็ดพืชจึงกระเด็นออกจากผล) แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
6.3 ลักษณะของพื้นดินเปนอยางไร (ดินแหง) นักเรียน
6.4 หลั งจากฝนตกสภาพพื้ น ดิ น เป น อย า งไร (ดิน มีความชื้น และมี
อากาศพอเหมาะ)
6.5 ในเมล็ดมีสิ่งใด (ตนออนของพืช)
6.6 หลั งจากฝนตก เมล็ ดพื ช ที่ อยู บ นดิ น มี การเปลี่ย นแปลงหรือไม
อยางไร (เมล็ดพืชมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ เมล็ดพืชเริ่มงอก โดย
เมล็ดคอย ๆ พอง เปลือกหุมเมล็ดปริออก รากสีขาวงอกออกจาก
เมล็ดและเจริญเติบโตลงไปในดิน ยอดออนและใบเลี้ยงโผลขึ้น
เหนือดิน)
6.7 การเปลี่ยนแปลงของเมล็ดตามขอ 6.6 เรียกวาอะไร (การงอก)
6.8 เมล็ดพืชตองการสิ่งใดบางในการงอก (น้ําและอากาศที่พอเหมาะ)
6.9 เมล็ดใชอากาศจากที่ใดในการงอก (ในดิน)
6.10 หลังจากงอกแลวพืชมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรอีกบาง (รากยาว
ลึ ก ลงไปในดิ น ยอดสู ง ขึ้ น ใบเลี้ ย งลี บ เล็ ก ลง ใบแท แ ผ อ อก
กลายเปนตนกลา)
6.11 หลั ง จากอ า นเรื่ อ งชี วิ ต ของพื ช นั ก เรี ย นคิ ด ว า เมล็ ด พื ช เป น
สิ่ งมี ชี วิ ต หรื อไม เพราะเหตุ ใด (เมล็ ดพื ช เปน สิ่งมีชีวิต เพราะ
สามารถเจริญเติบโตได)
7. ครูอาจวาดแผนภาพ หรือใชวีดิทัศนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดพืช
ขณะงอกเพื่ อประกอบเนื้ อเรื่ องระหว า งการอภิป ราย และให ความรู

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 87
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แกนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับใบเลี้ยงและใบแท โดยใบเลี้ยงเปนใบแรก
ของพืชที่อยูในเมล็ด ทําหนาที่สะสมอาหารเพื่อเลี้ยงตนออน เมื่อเมล็ด
งอกและเจริญเติบโตขึ้น ใบเลี้ยงจะลีบเล็กลงและหลุดรวงไป สวนใบแท
เปนใบพืชทั่วไปที่เราเห็น เปนสวนหนึ่งของพืช ทําหนาที่สรางอาหาร
ขั้นสรุปจากการอาน (10 นาที)
8. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา เมล็ดเปนสวนของ
พืชที่อยูในผล เมื่อเมล็ดพืชไดรับน้ําและอากาศที่เหมาะสมเมล็ดจะงอก
โดยรากพืชจะงอกและเจริญเติบโตลงในดิน สวนยอดจะเจริญเติบโตขึ้น การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
เหนือดิน เมื่อมีใบแท ใบเลี้ยงจะลีบเล็กลงและหลุดรวงไป
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
9. นักเรียนตอบคําถามจากเรื่องที่อานใน รูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม
หนา 34-35 ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า
10. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน กิจ กรรมที่ 2.1 พืช ตองการอะไรในการ
ในรูหรือยังกับ คําตอบที่ เคยตอบในคิด กอนอาน ซึ่งครูบันทึกไว บ น เจริญเติบโต ซึ่งจะมีการปลูกพืชจากเมล็ด
กระดาน จากนั้นใหนักเรียนฝกเขียนคําวา งอก ตนกลา ในเขียนเปน ใหครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเพื่อเลือก
ในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 35 เมล็ดพืชที่ตองการปลูก จากนั้นเตรียมแช
11. ครูชักชวนนักเรียนลองตอบคําถามทายเรื่องที่อาน ดังนี้ เมล็ดพืช ในน้ําอยางนอย 1 คืน ก อนถึ ง
11.1 มีสิ่งใดบางที่ชวยในการเจริญเติบโต เวลาเรียน
11.2 ในการเจริญเติบโตพืชจะมีเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงอยางไรอีกบาง
ครูบันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยังไมเฉลย แตชักชวน
ใหนักเรียนหาคําตอบจากการทํากิจกรรม

88 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 89
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

งอก

งอก

ตนกลา

ตนกลา

90 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมที่ 2.1 พืชตองการอะไรในการเจริญเติบโต


กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตการเจริญเติบโต
ของพืช จากการปลูกพืชโดยใหพืชไดรับน้ําและแสงกับ
การปลูกพืชโดยไมใหนํ้าและแสง รวมทั้งการรวบรวม
ขอมูลจากแหลงตาง ๆ เพื่ออธิบายสิ่งที่จําเปนตอการ
เจริญเติบโตของพืช

เวลา 3 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู
1. สั ง เกต และอธิ บ ายผลของน้ํ า และแสงตอ
การเจริญเติบโตของพืช
2. รวบรวมข อมู ล เกี่ ย วกั บ สิ่ งที่ จํ า เป น ต อ การ
เจริญเติบโตของพืช

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
สิ่งที่ครูตองเตรียม/กลุม
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
1. เมล็ดพืช 60 เมล็ด
C5 ความรวมมือ
2. กระถาง 4 ใบ
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3. ดิน 1 ถุง
4. กลองกระดาษทึบ 1 กลอง สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
5. ภาชนะใสน้ํา 1 ใบ 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 28-32
6. ชอน 1 คัน 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 36-43
สิ่งที่นักเรียนตองเตรียม/กลุม 3. วีดีทัศนตวั อยางการปฏิบัติการวิทยาศาสตร
สําหรับครู เรื่อง น้ําและแสงมีผลตอการ
ไมบรรทัด 1 อัน
เจริญเติบโตของพืชอยางไร
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร http://ipst.me/8769
S1 การสังเกต
S2 การวัด
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 91
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานและตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ
การเจริญเติบโตของพืช โดยนําถั่วงอกมาใหนักเรียนสังเกต จากนั้นให
นักเรียนรวมกันอภิปรายโดยใชคําถาม ดังนี้
ในการทบทวนความรูพื้นฐาน
1.1 นักเรียนรูจักสิ่งนี้หรือไม มันคืออะไร (รูจัก มันคือถั่วงอก)
ครู ค วรให เ วลานั ก เรี ย นคิ ด อย า ง
1.2 ถั่วงอกเจริญเติบโตมาจากสวนใดของพืช (เมล็ด)
เหมาะสม รอคอยอย า งอดทน
1.3 ถั่ ว งอกมี ส ว นประกอบอะไรบ า ง (ต น ถั่ ว งอกประกอบด ว ย ลําตน
นักเรียนตองตอบคําถามเหลานี้ ได
ใบเลี้ยง ใบแท ราก)
ถูกตอง หากตอบไมไ ดห รื อ ลื ม ครู
1.4 มีสิ่งใดบางที่จะทําใหเมล็ดพืชงอกเปนถั่วงอก (น้ํา และอากาศ)
ตองใหความรูที่ถูกตองทันที
1.5 นั กเรี ย นจะทํ า อย า งไรให ถั่ว งอกเจริ ญ เติ บ โตเปน ตน ถั่ว ที่ ส มบู ร ณ
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน รดน้ํา ใหตนถั่วไดรับ
แสง อากาศ)
2. ครูเชื่อมโยงความรูพื้นฐานของนักเรียนเขาสูกิจกรรมที่ 2.1 โดยใชคําถาม
วาเมื่อพืชงอกแลว พืชตองการอะไรในการเจริญเติบโตบาง
ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
3. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน จากนั้นรวมกันอภิปราย
ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงคในการทํากิจกรรม โดยใช
และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
คําถาม ดังนี้
ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
3.1 กิ จ กรรมนี้ นั ก เรี ย นจะได เ รี ย นเรื่ อ งอะไร (สิ่ ง ที่ จํ า เป น ต อ การ
ตนเองจากการทํากิจกรรม
เจริญเติบโตของพืช)
3.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องนี้ดวยวิธีใด (การสังเกตและรวบรวมขอมูล)
3.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายผลของน้ํา แสง และสิ่งที่
จําเปนอื่น ๆ ตอการเจริญเติบโตของพืช)
4. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 36
5. นักเรี ย นอ า นสิ่ งที่ ต อ งใช ในการทํ า กิ จ กรรม หากนักเรีย นไมรูจัก วั ส ดุ
อุปกรณบางอยาง ครูควรนําวัสดุอุปกรณนั้นมาแสดงใหดู หรือถานักเรียน
ไมรูวิธีการใชอุปกรณ ครูควรแนะนําและสาธิตวิธีการใชอุปกรณ
6. นักเรียนอานทําอยางไร ตอนที่ 1 ทีละขอ โดยครูใชวิธีฝกทักษะการอาน
ที่เหมาะสมกั บ ความสามารถของนั กเรี ยน จากนั้น ครูต รวจสอบความ
เขาใจเกี่ยวกับวิธีการทํากิจกรรม จนนักเรียนเขาใจลําดับการทํากิจกรรม
โดยใชคําถามดังนี้
6.1 ทําไมตองแชเ มล็ดพืช ก อนปลูก (เพื่อทําใหเปลื อกของเมล็ ด ที่ แข็ ง
ออนนิ่มและงอกไดงาย)
6.2 เราตองปลูกพืชทั้งหมดกี่กระถาง (4 กระถาง)

92 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

6.3 การปลูกพืชทั้ง 4 กระถาง เราทําสิ่งใดเหมือนกันบาง (ใชกระถาง


แบบเดี ย วกั น ดิ น ชนิ ดเดี ย วกั น ปริ มาณดิ น เทา กัน รดน้ําในเวลา ขอเสนอแนะเพิ่มเติมสําหรับครู
เทากันและปริมาณเทากัน) 1. ครูใหนักเรียนทําปายหมายเลขติดที่กระถาง
6.4 เราจะรดน้ํ าในเวลาใด และปริ มาณเท า ไร (คําตอบขึ้น อยู กับ การ ดังนี้ กระถางที่ 1 รดน้ํา กระถางที่ 2 ไมรดน้ํา
จั ด การของนั ก เรี ย น เช น นั ก เรี ย นอาจตอบว า รดน้ํ า ในเวลาเช า กระถางที่ 3 ไดรับแสง กระถางที่ 4 ไมไดรับ
กระถางละ 3 ชอนโตะ เปนตน) แสง และทํ า หมายเลขต น พื ช ต น ที่ 1-5 ใน
6.5 เมื่อเพาะเมล็ดครบ 3 วัน นักเรียนจะตองทําอะไรตอไป (ถอนตนพืช แตละกระถาง
2. ครู ค วรเตรี ย มเพาะเมล็ ด พื ช ไว ป ระมาณ 6
ออกใหเหลือกระถางละ 5 ตน โดยเลือกตนที่มีความสูงใกลเคียงกัน)
กระถาง เพื่ อ นํ า มาใช ท ดแทนกรณี ที่ ต น พื ช
6.6 เราจะกํ า หนดหมายเลขของกระถางทั้ ง 4 ใบ อย า งไร (ทํ า ป า ย ของนักเรียนเกิดความเสียหายกอนวันทดลอง
หมายเลข 1-4 ติดที่กระถาง) 3. ครูควรสอนการวัดและการอานคาบนไมบรรทัด
6.7 สิ่ ง ที่ ต อ งจั ด ให แ ตกต า งกั น ระหว า งกระถางที่ 1 และ 2 คื อ อะไร กอนการทํากิจกรรม โดยสอนการวัดในหน วย
(กระถางที่ 1 รดน้ํา แตกระถางที่ 2 ไมรดน้ํา) เซนติเมตร อยางไรก็ตามคาความสูงของตนพืชที่
6.8 เราจะนํากระถางที่ 1 และ 2 ไปวางไวที่ใด (วางทั้งสองกระถางไวใน นั ก เรี ย นวั ด ได จ ริ ง อาจจะละเอี ย ดถึ ง หน วย
บริเวณเดียวกัน โดยใหมีแสงแดดสองถึง) มิลลิเมตร ซึ่งครูควรแนะนํา ดังนี้
3.1 ให นั ก เรี ย นอ า นค า และบั น ทึ ก ผลเป น
6.9 สิ่งที่นักเรียนตองสังเกตและบันทึกขอมูลตนพืชกระถางที่ 1 และ 2
ตัวเลขจํานวนเต็มในหนวยเซนติเมตร ถา
มีอะไรบาง (ความสูงของลําตน สี ขนาดของลําตนและใบของพืช) ความสูงของตนพืชเกินตัวเลขเซนติเมตร
6.10 นั ก เรี ย นจะวั ด ความสู ง ของต น พื ช อย า งไร (คํ า ตอบอาจมี ให ป ด ตั ว เลขขึ้ นหรือ ลงเปน เลขจํานวน
หลากหลาย เชน ใชไมบรรทัดวัดจากโคนตนถึงโคนใบที่อยูบนสุด เต็ม หรือ
หรือใชเชือก หรือแถบกระดาษวัดความสูงของตนพืช แลวนํามา 3.2 ให นั ก เรี ย นอ า นค า โดยนั บ ช อ งบน
ทาบกับไมบรรทัดเพื่ออานคา) ไมบรรทัด คือ นับชองใหญบนไมบรรทัด
6.11 หนวยที่ไดจากการวัดคืออะไร (เซนติเมตร) (หนวยเซนติเมตร) และถาเกินจากชอง
ใหญก็นับชองเล็กตอไปชองละ 1 หนวย
6.12 สิ่งที่ตองจัดใหแตกตางกันระหวางกระถางที่ 3 และ 4 คืออะไร
บันทึกผลเปนหนวยเซนติเมตร เชน 10.5
(กระถางที่ 3 ได รั บ แสง แต ก ระถางที่ 4 ถู ก ครอบด ว ยกล อ ง เซนติเมตร
กระดาษทึบจะไมไดรับแสง) 4. การปลู ก พื ช ใน 3 วั น แรก ไม ค วรรดน้ํามาก
6.13 กระถางที่ 3 และ 4 ตองรดน้ําหรือไม (ตองรดน้ําทั้งสองกระถาง เกิ น ไป เพราะอาจทํ า ให ผ ลการสั ง เกตการ
ในปริมาณเทา ๆ กัน) เจริ ญ เติ บ โตของต น พื ช กระถางที่ 1 ไม
6.14 สิ่งที่นักเรียนตองสังเกตและบันทึกขอมูลตนพืชกระถางที่ 3 และ แตกตางจากตนพืชกระถางที่ 2
4 มีอะไรบาง (สีและขนาดของลําตนและใบของพืช) 5. ถ า ครู ใ ช พื ช ชนิ ด อื่ น ๆ ที่ ไ ม ใ ช ถั่ ว อาจต อ ง
ศึกษาวาในการงอกของเมล็ดใชเวลากี่วัน
6.15 นักเรียนตองสังเกตการเจริญเติบโตของตนพืชแตละกระถางเปน
6. ครู ค วรแนะนํ า นั ก เรี ย นเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ
เวลากี่วัน (5 วัน) บริ เ วณที่ จ ะวางต น พื ช แต ล ะกระถาง โดย
6.16 ทํ า ไมเราต อ งวั ด และสั ง เกตการเจริ ญ เติ บ โตของต น พื ช (เพื่ อ บริเวณนั้นควรมีแสงแดดสองถึง ปลอดภัยจาก
ติดตามการเจริญเติบโตของตนพืช) สัตวตาง ๆ ไมควรอยูที่บริเวณชายคาซึ่งอาจ
7. ครูอาจชวยเขียนสรุปเปนขั้นตอนสั้น ๆ บนกระดาน เสียหายเพราะถูกฝน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 93
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
S1 การสังเกตการเจริญเติบโตของพืชในแตละ
กระถาง
S2 การวัดความสูงของลําตนพืชในกระถางที่ 1
และ 2 และระบุหนวยการวัด
S8 การลงความเห็นจากขอมูลที่ไดจากการ
สังเกตการเจริญเติบโตของพืชวา พืชใน
กระถางใดเจริญเติบโตดีกวากัน
C5 การรวมกันปลูกพืช ดูแลพืช และสังเกต
การเจริญเติบโตของพืชในแตละกระถาง

94 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

8. เมื่ อ นั ก เรี ย นเข า ใจวิ ธี ก ารทํ า กิ จ กรรมในทํ า อย า งไรแล ว ครู แ จกวั ส ดุ
อุปกรณ จากนั้นใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรม
9. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใชคําถาม
ดังตอไปนี้
9.1 พืชในกระถางใดเจริญเติบโตได (พืชในกระถางที่ 1 และกระถางที่ 3
ซึ่งไดรับน้ําและแสง) ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
9.2 เมื่อผานไป 5 วัน พืชในแตละกระถางมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
- พื ชในกระถางที่ 1 เป นอย างไร (ต นพื ชสู งเพิ่มขึ้น ลําตนและใบมี คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
สีเขียวเขม) อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
- พืชในกระถางที่ 2 เปนอยางไร (ความสูงของตนพืชคอนขางคงที่ แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
ลําตนผอมและเอน ใบและลําตนซีดเหลือง)
นักเรียน
- พืชในกระถางที่ 3 เปนอยางไร (ลําตนและใบมีสีเขียวเขม)
- พื ช ในกระถางที่ 4 เป น อย า งไร (ลํ า ต น โค ง งอ ใบและลํ า ต น
ซีดเหลือง บางตนเหี่ยวและตาย)
9.3 ตนพืชในกระถางที่ 1 และ 2 มีการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือแตกตาง
กันอยางไร (แตกตางกัน กระถางที่ 1 ลําตนพืชสูงเพิ่มขึ้น ลําตนและ
ใบมีสีเขียวกวากระถางที่ 2)
9.4 ตนพืชในกระถางที่ 1 หรือ 2 มีการเจริญเติบโตมากกวากัน (กระถาง
ที่ 1)
9.5 เพราะเหตุใด พืชในกระถางที่ 1 เจริญเติบโตดีกวาพืชในกระถางที่ 2
(เพราะพืชในกระถางที่ 1 ไดรับน้ําทุกวัน)
9.6 ตนพืชในกระถางที่ 3 และ 4 มีการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือแตกตาง
กันอยางไร (แตกตางกัน กระถางที่ 3 ใบและลําตนพืชมีขนาดใหญ
กวา และมีสีเขียวเขมกวากระถางที่ 4)
9.7 ตนพืชในกระถางที่ 3 หรือ 4 มีการเจริญเติบโตมากกวากัน (กระถาง
ที่ 3)
9.8 เพราะเหตุใด พืชในกระถางที่ 3 เจริญเติบโตดีกวาพืชในกระถางที่ 4
(เพราะพืชในกระถางที่ 3 ไดรับแสงทุกวัน)
9.9 เพราะเหตุใดตนพืชบางตนในกระถางที่ 4 จึงเหี่ยวและตาย (เพราะ
ไมไดรับแสง)
10. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายและลงข อ สรุ ป ว า น้ํ า และแสงเป น
สิ่งจําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช (S13)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 95
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

11. นักเรียนตอบคําถามในฉันรูอะไร ตอนที่ 1 แลวรวมกันอภิปรายคําตอบ


โดยครูอาจใชคําถามเพิ่ มเติ มในการอภิปรายเพื่อใหไดแนวคํา ตอบที่
ถูกตอง
12. หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมตอนที่ 1 แลว ครูชักชวนใหนักเรียนทํ า
กิจกรรมตอนที่ 2 โดยใชคําถามวา นอกจากน้ําและแสงแลวยังมีสิ่งใด
อีกบางที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช
13. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 39
14. นักเรี ย นอ า นทํ า อย า งไร ตอนที่ 2 โดยครู ใช วิ ธีฝ กทั กษะการอ า นที่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
เหมาะสมกั บ ความสามารถของนั กเรี ยน จากนั้น ครูตรวจสอบความ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
เขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนการทํากิจกรรม จนนักเรียนเขาใจลําดับการทํา ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
กิจกรรม โดยใชคําถามดังนี้
14.1 นั กเรี ย นต องทํ า อะไรในกิ จ กรรมนี้ (อ า นใบความรู เรื่องสิ่ ง ที่ S6 การนํ า ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการอ า น
จําเปนตอการเจริ ญเติบโตของพืช และสื บ คน ข อมูล จากแหล ง ใบความรูและสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ
เรียนรูตาง ๆ) สิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของ
14.2 นักเรียนจะสืบคนขอมูลเรื่องสิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของ พื ช ม า จั ด ก ร ะ ทํ า โ ด ย เ ขี ย น
พืชไดจากที่ใด (สืบคนจากหนังสือ ครู ผูปกครอง อินเทอรเน็ต) ผังมโนทัศนและสื่อใหผูอื่นเขาใจ
14.3 เมื่ออานใบความรูและสืบคน ข อมูล แลว นักเรียนตองทําอะไร C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ตอไป (เขียนผังมโนทัศนเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโต สืบคนขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จําเป นต อ
ของพืช) การเจริญเติบโตของพืช
15. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไร ตอนที่ 2 แลว ให
นักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรม
16. หลั งจากทํ า กิ จ กรรมแล ว ครู นํ า อภิ ป รายผลการทํา กิจ กรรม โดยใช
คําถามดังตอไปนี้
16.1 นอกจากน้ํ า และแสงแล ว ยั ง มี สิ่ ง ใดอี ก บ า งที่ จํ า เป น ต อ การ
เจริ ญ เติ บ โตของพื ช (สิ่ ง ที่ จํ า เป น ต อ การเจริญ เติบ โตของพื ช ที่
หากนั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
นอกจากน้ําและแสงแลว ยังมีอากาศและธาตุอาหาร)
คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
16.2 พื ช ใช น้ํ า ในกระบวนการใดบ า ง (การงอกของเมล็ ด การสร า ง
คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
อาหาร และการลําเลียงอาหารและธาตุอาหาร)
อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
16.3 พืชใชแสงในกระบวนการใดบาง (การสรางอาหาร)
แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
16.4 พืชใชอากาศในกระบวนการใดบาง (การงอก การหายใจ การสราง
นักเรียน
อาหาร)
16.5 ธาตุอาหารมีประโยชนตอพืชอยางไร (ชวยใหพืชเจริญเติบโตได
เปนปกติ)

96 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

16.6 ถาขาดปจจัยใดปจจัยหนึ่ง จะสงผลตอพืชอยางไร (พืชเจริญเติบโต


ไมเต็มที่ เหี่ยว หรือตาย)
17. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวา แสง น้ํา อากาศ และ
ธาตุอาหาร เปนสิ่งจําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช (S13)
18. นักเรียนตอบคําถามในฉันรูอะไร ตอนที่ 2 แลวรวมกันอภิปรายคําตอบ
โดยครูอาจใชคําถามเพิ่ มเติ มในการอภิปรายเพื่อใหไดแนวคํา ตอบที่
ถูกตอง
19. นักเรียนอาน สิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปที่ไดจากการ
อภิปราย
20. ครู กระตุ น ใหนั กเรี ย นฝ กตั้ งคํ า ถามเกี่ ย วกั บ เรื่ องที่ส งสัย หรื ออยากรู
เพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอ
คํ า ถามของตนเองหน า ชั้ น เรี ย น และให นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป ราย
เกี่ยวกับคําถามที่นําเสนอ
21. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อะไรบางและในขั้นตอนใด
การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า
กิจ กรรมที่ 2.2 วัฏ จักรชีวิตของพืช ดอก
เปนอยางไร ครูอาจเตรียมผลไมที่นักเรียน
คุนเคยมาใหนักเรียนสังเกตเมล็ด ในการ
ตรวจสอบความรูเดิม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 97
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สังเกตและอธิบายผลของน้ําและแสงตอการเจริญเติบโต
ของพืช

ขึ้นอยูกับการอภิปรายของนักเรียน

ขึ้นอยูกับผลการวัดความสูงตนพืชของนักเรียน

98 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ขึ้นอยูกับการอภิปรายของนักเรียน

ใบและลําตนมี ใบและลําตนมี ใบและลําตนมี ใบและลําตนมี


สีเขียว ใบและ สีเขียว ใบและ สีเขียว ใบและ สีเขียว ใบและ
ลําตนมีขนาดเล็ก ลําตนมีขนาดเล็ก ลําตนมีขนาดเล็ก ลําตนมีขนาดเล็ก

ใบสีเขียวและใหญ ใบและลําตนมีสี ใบสีเขียวและใหญ ใบและลําตนมี


ขึ้น ลําตนสูงขึ้น มี เขียวลําตน ขึ้น ลําตนสูงขึ้นมี สีเขียว ลําตน
สีเขียว และมี สูงขึ้นกวาเดิม สีเขียวและมีขนาด สูงขึ้น
ขนาดใหญขึ้น เล็กนอย ใหญขึ้น

ใบสีเขียวเขมขึ้น ใบเริ่มเหี่ยว ลําตน ใบสีเขียว มีขนาด ใบและลําตนเริ่มมี


มีขนาดใหญขึ้น มีสีเขียวเล็กนอย ใหญขึ้น ลําตนมี สีเขียวซีด ลําตน
ลําตนมีสีเขียว มี ลําตนสูงกวาเดิม สีเขียว มีขนาด สูงขึ้น
ขนาดใหญขึ้น เล็กนอย ใหญขึ้น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 99
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ใบสีเขียวเขมขึ้น ใบเหี่ยวมากขึ้น ใบสีเขียวและใหญ ใบและลําตนมี


ใหญขึ้น ลําตนมีสี ลําตนซีดและสูง ขึ้น ลําตนมีสีเขียว สีเขียวซีด ลําตน
เขียว สูงและใหญขึ้น กวาเดิมเล็กนอย มีขนาดใหญขึ้น สูง เอนไปมา
ใบสีเขียวเขมขึ้น ใบและลําตนเหี่ยว ใบสีเขียวและ ใบและลําตนมีสี
ใหญขึ้น ลําตนมี ใบและลําตนไมมีการ ใหญขึ้น ลําตนมี เหลือง บางตน
สีเขียว สูงและ เปลี่ยนแปลงขนาด สีเขียว มีขนาด เหี่ยวและตาย
ใหญขึ้น ใหญขึ้น

100 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช

แสง น้ํา อากาศ ธาตุอาหาร

การเจริญเติบโต
การสรางอาหาร การงอกของเมล็ด การสรางอาหาร ไดเปนปกติ

การสรางอาหาร การหายใจ

การลําเลียงอาหาร
และธาตุอาหาร การงอกของเมล็ด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 101
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

การรดน้ํา

1 2
ตนพืชในกระถางที่ 1 สูงกวา ใบและลําตนมีสีเขียวเขม
และมีขนาดใหญกวา สวนตนพืชในกระถางที่ 2 ใบและลําตนเหี่ยว
1 น้ํา
2 น้ํา

การไดรับแสง

102 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

3 4
ตนพืชในกระถางที่ 3 ใบและลําตนมีสีเขียวเขม และมีขนาด
ใหญกวา สวนตนพืชในกระถางที่ 4 ใบและลําตนเหี่ยว บางตนตาย
3 แสง
4 แสง

1 3
ตนพืชในกระถางทั้งสองใบไดรับน้ําและแสง ทําใหตนพืช
เจริญเติบโตดี

2 4
ตนพืชในกระถางที่ 2 ไดรับแสงแตไมไดรับน้ํา สวนตนพืชในกระถางที่ 4
ไดรับน้ําแตไมไดรับแสง สงผลใหตนพืชในกระถางที่ 2 ความสูงคอนขางคงที่
ผอมและเหี่ยว พืชในกระถางที่ 4 ลําตนและใบเหี่ยว และมีบางตนตาย

ดีกวา

ดีกวา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 103
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

น้ํา
พืชใชน้ําในการงอกของเมล็ด การสรางอาหาร การลําเลียงอาหาร
และธาตุอาหาร
แสง
พืชใชแสงในการสรางอาหาร

อากาศ
พืชใชอากาศในการงอก การหายใจ และการสรางอาหาร

ธาตุอาหาร
ธาตุอาหารชวยใหพืชเจริญเติบโตไดเปนปกติ

แสง น้ํา อากาศ


ธาตุอาหาร

104 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

น้ํา แสง อากาศ และธาตุอาหาร เปนสิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโต


ของพืช

คําถามของนักเรียนที่ตั้งตามความอยากรูของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 105
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 2.1 พืชตองการอะไรในการเจริญเติบโต


ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับ


คะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S2 การวัด
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C5 ความรวมมือ
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รวมคะแนน

106 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท
รายละเอียดเกี่ยวกับ สัมผัสรวบรวมขอมูล สัมผัสรวบรวมขอมูล สัมผัสรวบรวมขอมูลการ
การเจริญเติบโตของ เกี่ยวกับการเจริญเติบโต เกี่ยวกับการเจริญเติบโต เจริญเติบโตของตนพืชทั้ง
ตนพืชทั้ง 4 กระถาง ของตนพืชทั้ง 4 กระถาง ของตนพืชทั้ง 4 กระถาง 4 กระถางไดเพียงบาง
เชน สีและขนาดของ ไดดวยตนเอง โดยไม ได จากการชี้แนะของครู ลักษณะ แมวาจะได
ใบและลําตน เพิ่มเติมความคิดเห็น หรือผูอื่น รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น
S2 การวัด การใชไมบรรทัดวัด สามารถใชไมบรรทัดวัด สามารถใชไมบรรทัดวัด สามารถใชไมบรรทัดวัด
ความสูงของลําตนพืช ความสูงของลําตนพืชใน ความสูงของลําตนพืชใน ความสูงของลําตนพืชใน
ในกระถางที่ 1 และ 2 กระถางที่ 1 และ 2 และ กระถางที่ 1 และ 2 และ กระถางที่ 1 และ 2 ได
และระบุหนวยได ระบุหนวยไดอยาง ระบุหนวยไดอยาง คลาดเคลื่อนเล็กนอย แต
ถูกตองดวยตนเอง ถูกตอง จากการชี้แนะ ระบุหนวยไดถูกตอง
ของครูหรือผูอื่น แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น
S6 การจัดกระทํา การนําขอมูลที่ไดจาก สามารถนําขอมูลที่ได สามารถนําขอมูลที่ได สามารถนําขอมูลที่ได
และสื่อความหมาย การอานใบความรูและ จากการอานใบความรู จากการอานใบความรู จากการอานใบความรู
ขอมูล สืบคนขอมูล เกี่ยวกับ และสืบคนขอมูล และสืบคนขอมูล และสืบคนขอมูล
สิ่งที่จําเปนตอการ เกี่ยวกับสิ่งที่จําเปนตอ เกี่ยวกับสิ่งที่จําเปนตอ เกี่ยวกับสิ่งที่จําเปนตอ
เจริญเติบโตของพืชมา การเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตของพืช
จัดกระทําโดยการ มาจัดกระทําโดยการ มาจัดกระทําโดยการ มาจัดกระทําโดยการ
เขียนผังมโนทัศนและ เขียนผังมโนทัศนและสื่อ เขียนผังมโนทัศนและสื่อ เขียนผังมโนทัศนและสื่อ
สื่อใหผูอื่นเขาใจ ใหผูอื่นเขาใจได ดวย ใหผูอื่นเขาใจได จากการ ใหผูอื่นเขาใจไดเพียง
ตนเอง ชี้แนะของครูหรือผูอื่น บางสวน แมวาจะได
รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 107
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S8 การลง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก
ความเห็นจาก ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการสังเกต ขอมูลที่ไดจากการสังเกต ขอมูลที่ไดจากการสังเกต
ขอมูล สังเกตการเจริญเติบโต การเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตของพืช
ของพืชวา พืชใน วา พืชในกระถางใด วา พืชในกระถางใด วา พืชในกระถางใด
กระถางใดเจริญเติบโต เจริญเติบโตดีกวากันได เจริญเติบโตดีกวากันได เจริญเติบโตดีกวากันได
ดีกวากัน อยางถูกตองและชัดเจน อยางถูกตองและชัดเจน ไมถูกตอง แมวาจะได
ไดดวยตนเอง จากการชี้แนะของครู รับคําชี้แนะจากครูหรือ
หรือผูอื่น ผูอื่น
S13 การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
การตีความหมาย ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลจากการสังเกตการ ขอมูลจากการสังเกตการ ขอมูลจากการสังเกตการ
ขอมูลและลง การเจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของพืชทั้ง 4 เจริญเติบโตของพืชทั้ง 4 เจริญเติบโตของพืชทั้ง 4
ขอสรุป พืชทั้ง 4 กระถาง การ กระถาง การอาน กระถาง การอาน กระถาง การอาน
อานใบความรู การ ใบความรู การสืบคน ใบความรู การสืบคน ใบความรู การสืบคน
สืบคนขอมูลและลง ขอมูลและลงขอสรุปได ขอมูลและลงขอสรุปได ขอมูลและลงขอสรุปได
ขอสรุปไดวาน้ํา แสง วาน้ํา แสง อากาศ และ วาน้ํา แสง อากาศ และ วาน้ํา แสง อากาศ และ
อากาศ และ ธาตุอาหารเปนสิ่งที่ ธาตุอาหารเปนสิ่งที่ ธาตุอาหารเปนสิ่งที่
ธาตุอาหารเปน จําเปนตอการ จําเปนตอการ จําเปนตอการ
สิ่งที่จําเปนตอการ เจริญเติบโตของพืชได เจริญเติบโตของพืช จาก เจริญเติบโตของพืชได
เจริญเติบโตของพืช ดวยตนเอง การชี้แนะจากครูและ เพียงบางสวน แมวาจะได
ผูอื่น รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น

108 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะแหง ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C5 ความ การทํางานรวมกับ สามารทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ
รวมมือ ผูอื่นในการปลูกพืช ในการปลูกพืช ดูแลพืช ผูอื่นในการปลูกพืช ดูแล ผูอื่นในการปลูกพืช ดูแล
ดูแลพืช และสังเกต และสังเกตการ พืช และสังเกตการ พืช และสังเกตการ
การเจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของพืช เพื่อ เจริญเติบโตของพืช เพื่อ เจริญเติบโตของพืช เพื่อ
พืช เพื่อศึกษา ศึกษาเกี่ยวกับน้ําและแสง ศึกษาเกี่ยวกับน้ําและแสง ศึกษาเกี่ยวกับน้ําและแสง
เกี่ยวกับน้ําและแสง วา เปนสิ่งที่จําเปนตอการ วา เปนสิ่งที่จําเปนตอการ วา เปนสิ่งที่จําเปนตอการ
วา เปนสิ่งที่จําเปน เจริญเติบโตของพืช เจริญเติบโตของพืช เจริญเติบโตของพืช
ตอการเจริญเติบโต รวมทั้งยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความ
ของพืช รวมทั้ง คิดเห็นของผูอื่นตั้งแต คิดเห็นของผูอื่นในบาง คิดเห็นของผูอื่นในบาง
ยอมรับความคิดเห็น เริ่มตนจนสําเร็จ ชวงเวลาที่ทํากิจกรรม ชวงของการทํากิจกรรม
ของผูอื่น ทั้งนี้ตองอาศัยการกระตุน
จากครูหรือผูอื่น
C6 การใช การใชเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยี
เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ สารสนเทศเพื่อสืบคน สารสนเทศเพื่อสืบคน สารสนเทศเพื่อสืบคน
สารสนเทศและ สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปน ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปน ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จําเปน
การสื่อสาร สิ่งที่จําเปนตอการ ตอการเจริญเติบโตของ ตอการเจริญเติบโตของ ตอการเจริญเติบโตของ
เจริญเติบโตของพืช พืชได ดวยตนเอง พืช จากการชี้แนะของครู พืชไดเพียงบางสวน แมวา
หรือผูอื่น จะไดรับคําชี้แนะจากครู
หรือผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 109
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกเปนอยางไร


กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดปลูกและดูแลรักษาพืช เพื่อ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพืชในขณะเจริญเติบโต และ
สรางแบบจําลองเพื่อบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก
เวลา 4 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
1. ปลูกและดูแลพืชใหไดรับน้ําและแสงที่เหมาะสมเพื่อให
พืชเจริญเติบโต
2. สรางแบบจําลองเพื่อบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก
วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
สิ่งที่ครูตองเตรียม/กลุม
1. อุปกรณสําหรับปลูกพืช เชน ภาชนะสําหรับปลูกพืช
ดิน 1 ชุด
2. บัตรภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโต
ของมะมวง 1 ชุด ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
3. บัตรภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโต
ของแตงกวา 1 ชุด C4 การสื่อสาร
4. บัตรภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโต C5 ความรวมมือ
ของมะพราว 1 ชุด C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5. บัตรภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโต สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
ของขาวโพด 1 ชุด 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 33-35
สิ่งที่นักเรียนตองเตรียม/กลุม 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 44-52
เมล็ดทานตะวัน หรือเมล็ดพริก 10 เมล็ด 3. วีดิทัศน เรื่อง การเจริญเติบโตของทานตะวัน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร http://ipst.me/8982
S1 การสังเกต
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
S14 การสรางแบบจําลอง

110 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของพืชดอก โดยใหนักเรียน
สังเกตผลและเมล็ดในผลจากผลไมจริงที่นักเรียนคุนเคย หรือสังเกตจาก
ภาพ เชน ผลแตงโมผาซีกเห็นเมล็ดอยูภายใน จากนั้นรวมกันอภิปรายโดย
ใชแนวคําถามดังตอไปนี้
ในการตรวจสอบความรูเดิม
1.1 ภาพนี้คือภาพอะไร (ผลแตงโมผาซีก)
ค รู เ พี ย ง รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง
1.2 ผลแตงโมประกอบดวยสวนใดบาง (เปลือกของผล เนื้อผล และเมล็ด
นั ก เรี ย นเป น สํ า คั ญ และยั ง ไม
ของแตงโม)
เฉลยคําตอบใด ๆ ใหกับนักเรียน
1.3 เมล็ดแตงโมมีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตได เชน
แ ต ชั ก ช ว น นั ก เ รี ย น ไ ป ห า
เมล็ดเห็นเปนวงรีเล็ก ๆ สีดํา)
คํ า ตอบที่ ถู ก ต อ งจากกิ จ กรรม
1.4 เมล็ดแตงโมมีประโยชนอยางไรบาง (นักเรียนตอบตามประสบการณ
ตาง ๆ ในบทเรียนนี้
เดิม เชน กิน เอาไปปลูกได)
1.5 ถานําเมล็ดแตงโมไปปลูก เมล็ดจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร (เมล็ดจะ
งอกและเจริญเติบโตเปนตนกลา) ในกรณีที่นักเรียนยังไมเขาใจคําวา
ตนกลา ใหครูนําอภิปรายเพิ่มเติมโดยอาจเชื่อมโยงไปยังเรื่องชีวิตของ
พืช เมล็ดที่งอกแลวจะเจริญเติบโตเปนตนกลาหรือตนพืชขนาดเล็กที่
เพิ่งงอกจากเมล็ด
1.6 ตนกลาจะมีการเปลี่ย นแปลงอีกหรื อไม อยางไร (นักเรียนตอบตาม
ความเข า ใจของตนเอง ซึ่ ง ครู อ าจจดคํ า ตอบของนั ก เรี ย นไว บ น
กระดาน)
2. ครูเชื่ อมโยงความรูเ ดิมของนั กเรี ยนไปสูกิจ กรรมที่ 2.2 โดยใชคําถามวา
แตงโมและพืชชนิดอื่น ๆ มีการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตอยางไรบาง
3. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และ ทําเปนคิดเปน จากนั้นรวมกันอภิปรายเพื่อ
ตรวจสอบความเขาใจจุดประสงคในการทํากิจกรรม โดยใชคําถามดังนี้
3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเรื่องอะไร (วัฏจักรชีวิตของพืชดอก)
3.2 นั กเรี ย นจะได เ รีย นรูเ รื่องนี้ดวยวิธีใด (ปลู กและดูแลพืช สังเกตการ
เปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืช และสรางแบบจําลอง)
3.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (บรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก
ได)
4. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 44 และ อานสิ่งที่
ตองใชในการทํากิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 111
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

5. นักเรียนอาน ทําอยางไร ขอ 1-5 แลวรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปลําดับขั้นตอน


การทํากิจกรรมตามความเขาใจของนักเรียน ครูตรวจสอบความเขาใจของ ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักเรียนโดยใชคําถามดังตอไปนี้
5.1 นั ก เรี ย นต อ งทํ า อะไรเป น อั น ดั บ แรก (เลื อ กเมล็ ด ของพื ช ที่ จ ะปลู ก ครู ส ามารถให นั ก เรี ย นปลู ก พื ช
1 ชนิด เชน ทานตะวัน หรือพริก จากนั้นสืบคนขอมูลวิธีการปลูกและ ชนิดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่แนะนําไว
การดูแลพืชใหเจริญเติบโต) ในกิจกรรม โดยพืชที่เลือกปลูกควรมี
5.2 นักเรียนสืบคน ข อมูลจากแหล งข อมูล ใดได บาง (สอบถามผูป กครอง ช ว งเวลาการปลู ก ตั้ ง แต เ พาะเมล็ ด
หนังสือ เอกสาร อินเทอรเน็ต) จนถึงมีดอกใชเวลาสั้น ๆ ประมาณ
5.3 เมื่อเลือกพืชและรูวิธีการปลูกและการดูแลรักษาแลว นักเรียนตองทํา 1-2 เดือน เชน กวางตุง มะเขือ
อะไรตอไป (ปลูกพืชที่เลือก)
5.4 นักเรียนใชสวนใดของพืชในการปลูกพืช (เมล็ด)
5.5 เมื่อปลูกพืชแลวตองทําอะไรบาง (ดูแลพืชตามวิธีการที่สืบคนมา และ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพืชทุกสัปดาห)
5.6 สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพืชตั้งแตเริ่มระยะเมล็ดจนถึงระยะใดของ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
พืช (ระยะที่พืชมีดอกและมีการสืบพันธุแลวเกิดเมล็ด) ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
5.7 นั กเรี ย นจะบั น ทึ กผลการเปลี่ย นแปลงของพืช อย างไร (ถายรู ป หรื อ ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
วาดรูปพรอมบรรยาย) C6 สืบคนขอมูลการปลูกและดูแล
5.8 เมื่ อ พื ช ที่ ป ลู ก มี ด อก มี ผ ลและเมล็ ด นั ก เรี ย นจะต อ งทํ า อะไรต อ ไป รักษาพืช
(นําเมล็ดไปปลูกอีกครั้ง) C5 ร ว มกั น ปลู ก และดู แ ลพื ช การ
5.9 นั ก เรี ย นนํ า รู ป ที่ บั น ทึ ก ไว ม าทํ า อะไร (นํ า รู ป ที่ บั น ทึ ก ไว ม าสร า ง สรางแบบจําลอง
แบบจําลองการเปลี่ยนแปลงของพืชขณะเจริญเติบโต และนําเสนอ) S1, S6 สั ง เ ก ต แ ล ะ บั น ทึ ก ก า ร
5.10 นั ก เรี ย นนํ า เสนอแล ว ต อ งทํ า อะไรต อ ไป (อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ เปลี่ยนแปลงของพืช
การเปลี่ยนแปลงของพืชวา ถ าต องดู แลพืชตอไป การเปลี่ยนแปลงที่ S8 อภิ ป รายแล ะล งคว ามเห็ น
เกิดขึ้นจะซ้ําเดิมตอไปเรื่อย ๆ หรือไม) เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขณะ
6. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไร ขอ 1-5 แลว ใหนักเรียน เจริญเติบโตของพืช
เริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน คือ เริ่มปลูกพืช ดูแลพืช และสังเกตการเจริญเติบโต S14, C4 สร า งแบบจํ าลองวั ฏ จั กร
ของพื ช จนกระทั่ ง พื ช มี ผ ลและเมล็ ด สํ า หรั บ การทํ า กิ จ กรรมนี้ ค รู ค วร ชีวิตของพืชดอก อภิปราย
มอบหมายให นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมในช ว งเป ด ภาคเรี ย นใหม เนื่ อ งจาก และนําเสนอ
ระยะเวลาที่ใชในการปลูกพืชแตละชนิดตั้งแตเริ่มตนจนกระทั่งพืชมีดอกและ
มี ผ ลอาจใช เ วลาไม เ ท า กั น หากนั ก เรี ย นเริ่ ม ปลู ก พื ช ในช ว งเป ด
ภาคเรียน จะทําใหครูสามารถติดตามและกระตุนใหนักเรียนดูแลและสังเกต
การเปลี่ ย นแปลงของพื ช และบั น ทึ ก ผลอย า งสม่ํ า เสมอ เมื่ อ ได ข อ มู ล ที่
ครบถวนแลวจึงนํามาอภิปรายรวมกันในหองเรียน

112 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

7. หลั ง จากทํ า กิ จ กรรมแล ว นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า กิ จ กรรม


ตามแนวคําถามดังนี้
7.1 นั กเรี ย นมี วิ ธีการปลูกพื ช อยางไร (นั กเรี ย นตอบตามขอมูลจริง เชน
เตรียมวัสดุสําหรับปลูกพืช ไดแก กระถางและดิน จากนั้นเพาะเมล็ดใน
กระถาง แลวนําไปวางในบริเวณที่มีแสงสองถึงจนเมล็ดงอกเปนตนกลา ถ านักเรีย นไมส ามารถตอบ
แลวแยกตนกลาที่แข็งแรงมาปลูกในกระถางใบใหญขึ้น และนําไปวาง คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
กลางแจง หรือนําไปปลูกในแปลงกลางแจง) คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน
7.2 นักเรียนมีวิธีการดูแลพืชที่ปลูกอยางไร (นักเรียนตอบตามขอมูลจริง คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
เชน รดน้ําทุกวัน ถาปลูกในกระถางจะวางกระถางบริเวณที่มีแสงแดด อดทน และรับฟงแนวความคิด
และอาจใสปุย) ของนักเรียน
7.3 ในแตละสัปดาห พืชมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง (นักเรียนตอบตาม
ขอมูลที่บันทึกไดในแบบบันทึกกิจกรรม ซึ่งระยะเวลาที่นักเรียนใชใน
การปลูกพืชอาจแตกต างไปจากตัว อยางเฉลยในกิจ กรรม ขึ้นอยูกับ
ชนิดและพันธุของพืชที่นักเรียนเลือกปลูก)
7.4 เมื่อเมล็ดพืชงอกเปนตนกลาแลว พืชจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
ในขณะที่เจริญเติบโต (ตนกลาเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีขนาด
ลํ า ต น ใหญ ขึ้น มี จํ า นวนใบมากขึ้ น และเจริ ญเติบ โตจนเปนต นพืชที่ ค รู ส า ม า ร ถ ใ ห นั ก เ รี ย น ช ม
เจริญเติบโตเต็มที่และออกดอก ดอกมีการสืบพันธุและเจริญเติบโตไป วีดิทัศน เรื่อง การเจริญเติบโต
เปนผล ซึ่งในผลมีเมล็ด ผลของพืชบางชนิดเมื่อแกจัดจะรวงจากตน ของทานตะวั น ได จ ากการเข า
พืชบางชนิดผลจะแหงและเหี่ยวไปพรอมกับตน) เว็บไซต http://ipst.me/8982
7.5 กลุมที่ปลูกพืชชนิดเดียวกัน พืชของแตละกลุมมีการเปลี่ยนแปลงขณะ หรือการสแกน QR code
เจริญเติบโตเหมือนกันหรือไม อยางไร (เหมือนกัน คือ เมล็ดจะงอก
เปนตนกลา ตนกลาเจริญเติบโตเปนตนพืชที่เจริญเติบโตเต็มที่ จากนั้น
ตนพืชจะออกดอก เมื่อดอกมีการสืบพันธุจะเจริญเติบโตไปเปนผล ซึ่ง
ในผลมีเมล็ด)
7.6 จากการปลูกพืชของนักเรียนมีระยะใดที่ซ้ํากันบาง อยางไร (มีระยะ
เมล็ ด ที่ ซ้ํ า กั น เพราะเริ่ ม ปลู ก จากเมล็ ด และดู แ ลไปเรื่ อ ยๆ พื ช จะ
เจริญเติบโตมีผลและในผลมีเมล็ดอีกครั้ง)
7.7 นั ก เรี ย นสร า งแบบจํ า ลองเพื่ อ อธิ บ ายลํ า ดั บ การเปลี่ ย นแปลงขณะ
เจริญเติบโตของพืช ไดอยางไร (นักเรียนอาจเขียนไดหลายแบบ เชน
วาดรูป ใชภาพถาย ปนดินน้ํามัน หรือกราฟกอยางงาย ซึ่งครูควรให
นั กเรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อเลื อกรู ป แบบที่เหมาะสมในการแสดง
ลําดับการเปลี่ยนแปลงของพืชไดอยางถูกตอง ดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 113
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

เมล็ด  เมล็ดงอก  ตนกลา ตนพืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แตยัง


ไมมีดอก  ตนพืชที่ออกดอก  ดอกเปลี่ยนเปนผล ในผลมีเมล็ด)
7.8 จากแผนภาพในข อ 7.7 สามารถนํ า มาเขี ย นเชื่ อ มต อ กั น เป น วงได
หรือไม อยางไร (ได โดยเขียนลูกศรชี้จากเมล็ดที่อยูในผลไปยังเมล็ด
ถ านักเรีย นไมส ามารถตอบ
ตอนเริ่มเพาะ ดังรูป)
คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน
คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
อดทน และรับฟงแนวความคิด
ของนักเรียน
7.9 การเปลี่ ย นแปลงขณะเจริ ญ เติ บ โตของพื ช สามารถสลับ ขั้น ตอนได
หรือไม (ไมได)
7.10 จากแผนภาพการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืช แสดงวามี ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นซ้ําเดิมหรือไม (เกิดขึ้นซ้ําเดิม)
ครูสามารถดาวนโหลดบัตรภาพ
7.11 การเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืชที่เกิดขึ้นซ้ําเดิมนี้เรีย กวา
ของพืชทั้ง 4 ชนิด ไดโดย สแกน
อะไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง ครูสามารถใหคําวา
QR code ในหนังสือเรียน หนา
วัฏจักรชีวิต ไดที่ขั้นตอนนี้ และเขียนวัฏจักรชีวิตของพืชที่นักเรียน
33 และนํามาตัดเปน บัตรภาพ
ปลูกบนกระดาน)
เพื่ อ ให นั ก เรี ย นนํ า มาเรี ย ง
8. ครูเชื่อมโยงขอมูลที่ไดจากการทํากิจกรรมชวงนี้ไปสูการสังเกตวัฏจักรชีวิต
เปนวัฏจักร
ของพืชดอกชนิดอื่น ๆ โดยถามวานอกจากตนทานตะวันและตนพริ กแลว
นักเรียนคิดวาพืชดอกชนิดอื่นมีแบบรูปการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโต
เปนอยางไร
9. นักเรียนอาน ทําอยางไร ขอ 6 แลวรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปลําดับขั้นตอน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ในการทํากิจกรรม ตามแนวคําถามดังนี้ และทักษะแหงศตวรรษที่ 21
9.1 นั ก เรี ย นต อ งทํ า สิ่ ง ใดบ า ง (เรี ย งบั ต รภาพการเปลี่ ย นแปลงขณะ ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
เจริญเติบโตของพืช)
9.2 นั ก เรี ย นต อ งเรี ย งบั ต รภาพของพื ช ชนิ ด ใดบ า ง (มะม ว ง มะพร า ว S6 เรียงบัตรภาพการเปลี่ยนแปลง
แตงกวา ขาวโพด) ขณะเจริญเติบโตของพืช
9.3 เรียงบัตรภาพแลวตองทําอะไรตอไป (รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับวัฏจักร S8, C4, C5 อภิปรายวัฏจักรชีวิต
ชีวิตของพืชดอก) ของพืชดอก นําเสนอ
9.4 เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไร ขอ 6 แลว ครูแจก
บัตรภาพและใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน

114 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

10. หลังจากทํากิจกรรมแลว นักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม ตาม


แนวคําถามดังนี้
10.1 พื ช แต ล ะชนิ ด มี ก ารเปลี่ ย นแปลงขณะเจริ ญ เติ บ โตเหมื อ นหรื อ ถ านักเรีย นไมส ามารถตอบ
แตกตางกัน อยางไร (เหมือนกัน คือ มีการเปลี่ยนแปลงจากเมล็ด คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
โดยเมล็ ด งอกเป น ต น กล า ต น กล า เจริ ญ เติ บ โตเป น ต น พื ช ที่ คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียน
เจริญเติบโตเต็มที่ ตนพืชออกดอก ดอกมีการสืบพันธุและเจริญเติบโต คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
ไปเปนผล ซึ่งภายในผลมีเมล็ด) อดทน และรับฟงแนวความคิด
10.2 เพราะเหตุใด การเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืชดอกจึงเปน ของนักเรียน
วัฏจักร (เพราะเปนการเปลี่ยนแปลงที่มีการหมุนเวียนเปนแบบรูป
คงที่ซ้ําเดิมอยางตอเนื่อง)
10.3 วั ฏ จั ก รชี วิ ต ของพื ช ดอกมี จุ ด เริ่ ม ต น ที่ ร ะยะใด (วั ฏ จั ก รชี วิ ต ของ
พืชดอกเริ่มตนที่ระยะใดของการเจริญเติบโตก็ได ซึ่งไมวาจะเริ่มที่
ระยะใด การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช ดอกนั้ น จะมี ก ารเปลี่ ย นแปลง
ตามลําดับเปนแบบรูปซ้ําเดิมตอเนื่องกันไป)
11. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
วัฏ จั กรชี วิ ต ของพื ช ดอก จากนั้ น ร ว มกั น อภิ ป รายและลงขอสรุป วาการ
เปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของพืชดอกเปนวัฏจักร มีการเปลี่ยนแปลง
ของเมล็ ด ขณะงอกเป น ต น กล า ต น กล า เจริ ญ เติบ โตตอไปจนเปน พื ช ที่
เจริญเติบโตเต็มที่และสรางดอกเพื่อสืบพันธุ หลังจากสืบพันธุจะเกิ ดผล
ภายในผลมีเมล็ด เมล็ดจะงอกและเจริญเติบโตตอไป การเปลี่ยนแปลง
ดังกลาวมีการหมุนเวียนเปนแบบรูปคงทีซ่ ้ําเดิมอยางตอเนื่อง (S13)
12. นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ ตอบคํ าถามใน ฉั น รู อ ะไร โดยครู อาจใช
คําถามเพิ่มเติมในการอภิปรายเพื่อใหไดแนวคําตอบที่ถูกตอง
13. นักเรียนอาน สิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปของตนเอง
14. ครูชักชวนนักเรียนรวมกันอภิปรายคําถามชวนคิด ในหนังสือเรียนหนา 35
โดยมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลเพื่อหาคําตอบ
15. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรูเพิ่มเติม
ใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของ
ตนเองหนาชั้นเรี ยน จากนั้นนักเรียนรวมกัน อภิปรายเกี่ยวกับ คํ าถามที่
นําเสนอ
16. ครู นํ า อภิ ป รายเพื่ อให นั กเรี ย นทบทวนว า ได ฝ กทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อะไรบางในขั้นตอนใด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 115
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

17. หลังจากทํากิจกรรมครูสามารถใหนักเรียนสังเกตวัฏจักรชีวิตของพืชดอก
เพิ่มเติมไดจากวีดิทัศนหรือภาพถายจากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ
18. นั ก เรี ย นร ว มกั น อ า นรู อ ะไรในเรื่ อ งนี้ ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 36 ครู นํ า
อภิ ป รายเพื่ อนํ าไปสูขอสรุป เกี่ ย วกั บ สิ่งที่ ได เรี ยนรูในเรื่องนี้ จากนั้นครู
กระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเนื้อเรื่อง โดยใหนักเรียน การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
รวมกันอภิปรายแนวทางการตอบคํ าถามทีล ะคําถาม ซึ่งครูควรเน น ให
นักเรียนตอบคําถามพรอมอธิบายเหตุผลประกอบ ดังนี้
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
18.1 ถาเรานําเมล็ดพืชมาเก็บไวโดยไมนําไปปลูกตอ จะมีผลตอวัฏจักร ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได เ รี ย น
ชีวิตของพืชนั้นหรือไม อยางไร (ถาไมนําเมล็ดไปปลูกตอจะมีผ ล หนวยที่ 4 ดิน บทที่ 1 รูจักดิน ครูควร
ตอวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เพราะเปนการหยุดการเปลี่ยนแปลงใน เตรียมรูป หรือ ตัวอยาง หิน ดิน ทราย
วัฏจักรชีวิตของพืชดอกไวที่ระยะเมล็ด พืชนั้นจะไมมีโอกาสงอก ผงฝุน ใหนักเรียนสังเกตเพื่อตรวจสอบ
เปนตนใหม เพื่อสืบพันธุใหกําเนิดพืชรุนตอไปได) ความรูเดิม
18.2 นอกจากพืชจะไดรับธาตุอาหารจากดินแลว ดินยังมีประโยชนอื่น ๆ
อีก นักเรียนอยากรูหรือไมวาดินมีกี่ชนิด และแตละชนิดมีลักษณะ
อยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน ดินมี 3 ชนิด
แตละชนิดจะใชประโยชนไดแตกตางกัน)

116 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

ปลูกและดูแลพืชใหไดรับน้ําและแสงที่เหมาะสมเพื่อใหพืชเจริญเติบโต

สรางแบบจําลองเพื่อบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก

ทานตะวัน/พริก (ขึ้นอยูกับการเลือกของนักเรียน)

กระถาง
หลังอาคารเรียน

 เชา
การบันทึกขึ้นอยูกับการดูแลรักษาพืชของนักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 117
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ชนิด พืชขึ้น อยูกับการเลือกของนัก เรี ย น


เชน ทานตะวัน

เมล็ดงอก เปนตนกลา มีใบเลี้ยง 2 ใบ

ตนกลาเจริญเติบโตสูงขึ้น มีใบเลี้ยง 2 ใบ มีใบแท 2 ใบ

ลําตนเจริญเติบโตสูงขึ้น ใบแทมีขนาดใหญขึ้น มีใบ 2-4 ใบ

ลําตนสูงขึ้น ใบเลี้ยงเริ่มเหี่ยว ใบแทใหญขึ้น จํานวนใบเพิ่มขึ้น

118 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทานตะวัน

ลําตนสูงและอวบขึ้น ใบเลี้ยงเหี่ยว ใบแทใหญขึ้น จํานวนใบเพิ่มขึ้น

ลําตนสูงและอวบขึ้น ใบเลี้ยงเหี่ยว ใบแทใหญขึ้น จํานวนใบเพิ่มขึ้น

ลําตนสูงและอวบขึ้น ใบเลี้ยงหลุดรวงไป ใบแทใหญขึ้น จํานวนใบเพิ่มขึ้น

ลําตนสูงและอวบขึ้น จํานวนใบเพิ่มขึ้น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 119
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทานตะวัน

ลํ า ต น สู ง และอวบขึ้ น ใบแท ใ หญ ขึ้ น จํ า นวนใบ


เพิ่มขึ้น ที่ปลายยอดเริ่มเห็นชอดอก

ที่ ป ลายยอดเห็ น ช อ ดอกชั ด เจน


ลักษณะคลายใบขนาดเล็กซอนกัน
แนน

ใบใหญขึ้น ชอดอกขยายใหญขึ้น

ใบใหญขึ้น ชอดอกขยายใหญขึ้น

120 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทานตะวัน

ชอดอกขยายใหญขึ้น กลีบดอกเริ่มบานมีสีเหลืองอมเขียว และบาน


เต็มที่สีเหลือง กลางชอดอกมีดอกขนาดเล็กไมมีกลีบเรียงกันแนน

ชอดอกเจริญเติบโตเต็มที่ กลีบดอกเริ่มเหี่ยว

กลีบดอกเหี่ยวมากขึ้น มีผลสีเทาอยูตรงกลางชอดอก

ผลเปนสีเทาเขมขึ้น ในผลมีเมล็ด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 121
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทานตะวัน

122 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

รดน้ํา
มีแสง

เมล็ด
ตนกลา
ดอก ผล
เมล็ด
เมล็ด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 123
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

เปนการเปลี่ยนแปลงที่มีการหมุนเวียนเปนแบบรูปคงที่ซ้ําเดิม
และดําเนินตอเนื่อง

ทานตะวัน
คงทีซ่ ้ําเดิม
วัฏจักร

เมล็ ด งอกเป น ต น กล า ตน กลา เจริญเติบโตเปน ตน พืชที่เ จริญเติบโตเต็ม ที่
ตนพืชเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะออกดอก เมื่อดอกมีการสืบพันธุจะเจริญเติบโต
เปนผล ซึ่งในผลมีเมล็ด เมล็ดจะงอกและเจริญเติบโตตอไปเปนวัฏจักร

วัฏจักรชีวิต
ของพืชดอก

124 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

วัฏจักรชีวิตของพืชดอกไมจําเปนตองเริ่มจากเมล็ด เพราะไมวาจะเริ่มที่
ระยะใดของการเจริญเติบโตจะมีการเปลี่ยนแปลงตามลําดับตอเนื่องกันไป
และวนกลับมาที่จุดเดิม เชน เริ่มปลูกตั้งแตระยะตนกลา จากนั้นตนกลา
จะเจริญเติบโตมีดอก มีผล และภายในผลมีเมล็ด ถานําเมล็ดมาปลูกก็จะ
เจริญเติบโตเปนตนกลาไดอีก

คําถามของนักเรียนที่ตั้งตามความอยากรูของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 125
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกเปนอยางไร


ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับ


คะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
S14 การสรางแบบจําลอง
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รวมคะแนน

126 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท สามารถใชประสาท
รายละเอียดขอมูล สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด
การเปลี่ยนแปลง ขอมูลการเปลี่ยนแปลง ขอมูลการเปลี่ยนแปลง ขอมูลการเปลี่ยนแปลง
ขณะเจริญเติบโตของ ขณะเจริญเติบโตของ ขณะเจริญเติบโตของ ขณะเจริญเติบโตของ
พืชดอก พืชดอกไดดวยตนเอง พืชดอกได จากการ พืชดอกไดเพียง
โดยไมเพิ่มเติมความ ชี้แนะของครูหรือผูอื่น บางสวน แมวาจะได
คิดเห็น หรือมีการเพิ่มเติม รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ความคิดเห็น ผูอื่น
S6 การจัดกระทํา การนําขอมูลที่ไดจาก สามารถนําเสนอขอมูลที่ สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล
และสื่อความหมาย การสังเกตการ ไดจากการสังเกตการ ที่ไดจากการสังเกตการ ที่ไดจากการสังเกตการ
ขอมูล เปลี่ยนแปลงขณะ เปลี่ยนแปลงขณะ เปลี่ยนแปลงขณะ เปลี่ยนแปลงขณะ
เจริญเติบโตของพืชดอก เจริญเติบโตของพืช เจริญเติบโตของ
เจริญเติบโตของ
มาจัดกระทําโดยสราง ดอก มาจัดกระทําโดย พืชดอก มาจัดกระทํา
พืชดอก มาจัดกระทํา
เปนแบบจําลองไดอยาง สรางเปนแบบจําลอง โดยสรางเปน
โดยสรางเปน ถูกตองและสื่อใหผูอื่น ไดอยางถูกตองและสื่อ แบบจําลองไดอยาง
แบบจําลอง และสื่อ เขาใจวัฏจักรชีวิตของ ใหผูอื่นเขาใจวัฏจักร ถูกตอง แตไมสามารถ
ใหผูอื่นเขาใจวัฏจักร พืชดอกไดชัดเจน ชีวิตของพืชดอก สื่อใหผูอื่นเขาใจวัฏจักร
ชีวิตของพืชดอก ดวยตนเอง ไดชัดเจน จากการ ชีวิตของพืชดอกได
ชี้แนะของครูหรือผูอื่น

S8 การลงความเห็น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น


จากขอมูล ขอมูลไดวา พืชดอกที่ จากขอมูลไดอยาง จากขอมูลไดอยาง จากขอมูลได แตไม
ปลูกมีการ ถูกตองดวยตนเองวา ถูกตอง จากการชี้แนะ ครบถวนสมบูรณแมวา
เปลี่ยนแปลงขณะ พืชดอกที่ปลูกมีการ ของครูหรือผูอื่นวา จะไดรับคําชี้แนะจาก
เจริญเติบโต โดยมี เปลี่ยนแปลงขณะ พืชดอกที่ปลูกมีการ ครูหรือผูอื่นวา พืชดอก
การเปลี่ยนแปลงของ เจริญเติบโต โดยมีการ เปลี่ยนแปลงขณะ ที่ปลูกมีการ
เมล็ดขณะงอก มีการ เปลี่ยนแปลงของเมล็ด เจริญเติบโต โดยมีการ เปลี่ยนแปลงขณะ
เจริญเติบโตเปน ขณะงอก มีการ เปลี่ยนแปลงของเมล็ด เจริญเติบโต โดยมีการ
ตนกลา ตนกลาจะ เจริญเติบโตเปนตนกลา ขณะงอก มีการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 127
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
เจริญเติบโตไปเปน ตนกลาจะเจริญเติบโต เจริญเติบโตเปน เปลี่ยนแปลงในระยะ
ตนพืชที่เจริญเติบโต ไปเปนตนพืชที่ ตนกลา ตนกลาจะ ตาง ๆ
เต็มที่ มีการสราง เจริญเติบโตเต็มที่ มีการ เจริญเติบโตไปเปน
ดอก ดอก สรางดอก ดอกมีการ ตนพืชที่เจริญเติบโต
เจริญเติบโตไปเปน สืบพันธุและเจริญเติบโต เต็มที่ มีการสรางดอก
ผล ในผลมีเมล็ด และ ไปเปนผล ในผลมีเมล็ด ดอกมีการสืบพันธุและ
เมล็ดจะงอกได และเมล็ดจะงอกได เจริญเติบโตไปเปนผล
ในผลมีเมล็ด และเมล็ด
จะงอกได
S13 การ การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
ตีความหมายขอมูล ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลจากการสังเกต
ขอมูลจากการสังเกต
และลงขอสรุป และการเรียง และการเรียงบัตรภาพ และการเรียงบัตรภาพ และการเรียงบัตรภาพ
บัตรภาพเกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงขณะ เปลี่ยนแปลงขณะ เปลี่ยนแปลงขณะ เปลี่ยนแปลงขณะ
เจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของพืชดอก เจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของ
พืชดอก และลง และลงขอสรุปไดดวย พืชดอก และลงขอสรุป
พืชดอก และลงขอสรุป
ขอสรุปไดวา พืชดอก ตนเองวาพืชดอกมีการ ไดโดยอาศัยการชี้แนะ ไดไมครบถวนสมบูรณ
มีการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงขณะ ของครูหรือผูอื่นวา
วาพืชดอกมีการ
ขณะเจริญเติบโตเปน เจริญเติบโตเปนวัฏจักร พืชดอกมีการ เปลี่ยนแปลงขณะ
วัฏจักร เปลี่ยนแปลงขณะ เจริญเติบโตเปนวัฏจักร
เจริญเติบโตเปนวัฏจักร
แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น
S14 การสราง การสรางแบบจําลอง สามารถสราง สามารถสราง สามารถสราง
แบบจําลอง บรรยายวัฏจักรชีวติ แบบจําลองบรรยาย แบบจําลองบรรยาย แบบจําลองบรรยาย
ของพืชดอก ที่ วัฏจักรชีวิตของพืชดอก วัฏจักรชีวิตของ วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
ประกอบดวยการ ที่ประกอบดวยการ พืชดอกที่ประกอบดวย ที่ประกอบดวย
เปลี่ยนแปลงในระยะ เปลี่ยนแปลงในระยะ การเปลี่ยนแปลงใน การเปลี่ยนแปลงใน
ตาง ๆ ขณะ ตาง ๆ ขณะ ระยะตาง ๆ ขณะ ระยะตาง ๆ ขณะ
เจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของ เจริญ เติบโตของ
พืชดอก และระบุ พืชดอก และระบุ พืชดอก และระบุ พืชดอก แตไมสามารถ

128 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
ระยะเวลาในการ ระยะเวลาในการ ระยะเวลาในการ ระบุระยะเวลาในการ
เปลี่ยนแปลงจาก เปลี่ยนแปลงจากระยะ เปลี่ยนแปลงจากระยะ เปลี่ยนแปลงจากระยะ
ระยะหนึ่งไปอีกระยะ หนึ่งไปอีกระยะหนึ่ง ได หนึ่งไปอีกระยะหนึ่งได หนึ่งไปอีกระยะหนึ่งได
หนึ่ง ถูกตองดวยตนเอง ถูกตอง จากการชี้แนะ แมวาจะไดรับการ
จากครูหรือผูอื่น ชี้แนะจากครูหรือผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 129
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C4 การสื่อสาร การนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล
จากการสังเกต จากการสังเกต และการ การสังเกต และการอภิปราย จากการสังเกต และการ
และการอภิปราย อภิปรายเกี่ยวกับวัฏจักร เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของ อภิปรายเกี่ยวกับวัฏจักร
เกี่ยวกับวัฏจักร ชีวิตของพืชดอก โดยใช พืชดอก โดยใชแบบจําลอง ชีวิตของพืชดอก โดยใช
ชีวิตของพืชดอก แบบจําลอง ใหผูอื่นเขาใจ ใหผูอื่นเขาใจไดอยางถูกตอง
แบบจําลอง ใหผูอื่น
โดยใชแบบจําลอง ไดอยางถูกตอง ดวย จากการชี้แนะของครูหรือ เขาใจไดเพียงบางสวน
ใหผูอื่นเขาใจ ตนเอง ผูอื่น แมวาจะไดรับการชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น
C5 ความ การทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ
รวมมือ ผูอื่นในการปลูก ผูอื่นในการปลูก การดูแล ในการปลูก การดูแลพืช และ ผูอื่นในการปลูก การ
การดูแลพืช และ พืช และการสราง การสรางแบบจําลองวัฏจักร ดูแลพืช และการสราง
การสราง แบบจําลองวัฏจักรชีวิต ชีวิตของพืชดอก รวมทั้ง แบบจําลองวัฏจักรชีวิต
แบบจําลอง ของพืชดอก รวมทั้ง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น ของพืชดอก รวมทั้ง
วัฏจักรชีวิตของ ยอมรับความคิดเห็นของ ในบางชวงเวลาที่ทํากิจกรรม ยอมรับความคิดเห็นของ
พืชดอก รวมทั้ง ผูอื่นตั้งแตเริ่มตนจน ผูอื่นบางชวงเวลาที่ทํา
ยอมรับความ สําเร็จ กิจกรรม ทั้งนี้ตองอาศัย
คิดเห็นของผูอื่น การกระตุนจากครูหรือ
ผูอื่น
C6 การใช การสืบคนขอมูล สามารถสืบคนขอมูลทาง สามารถสืบคนขอมูลทาง สามารถสืบคนขอมูลทาง
เทคโนโลยี ทางอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตเกี่ยวกับ อินเทอรเน็ตเกี่ยวกับวิธีการ อินเทอรเน็ตเกี่ยวกับ
สารสนเทศและ เกี่ยวกับวิธีการ วิธีการปลูกและดูแลรักษา ปลูกและดูแลรักษาพืชจาก วิธีการปลูกและดูแล
การสื่อสาร ปลูกและดูแลรักษา พืชจากแหลงขอมูลที่ แหลงขอมูลที่นาเชื่อถือได รักษาพืชจาก
พืชจากแหลงขอมูล นาเชื่อถือได ดวยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ แหลงขอมูลได แตไม
ที่นาเชื่อถือ ผูอื่น สามารถบอกไดวา
แหลงขอมูลนาเชื่อถือ
หรือไม แมวาจะไดรับ
คําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น

130 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

กิจกรรมทายบทที่ 2 สิ่งมีชีวิต (2 ชั่วโมง)


1. ครูใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทนี้ ในแบบบันทึก
กิจกรรม หนา 53
2. นักเรี ย นตรวจสอบการสรุป สิ่งที่ ได เ รียนรูของตนเองโดยเปรีย บเทียบกับ
แผนภาพในหัวขอ รูอะไรในบทนี้ ในหนังสือเรียน หนา 37
3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอนเรียน ใน
แบบบันทึกกิจกรรม หนา 24-27 อีกครั้ง ถาคําตอบของนักเรียนไมถูกตอง
ใหขีดเสนทับขอความเหลานั้น แลวแกไขใหถูกตอง นอกจากนี้ครูอาจนํา
คําถามในรูปนําบทในหนังสือเรียน หนา 18 มารวมกันอภิปรายคําตอบอีก
ครั้ง ดังนี้
“หุนยนตเปนสิ่งมีชีวิตหรือไม เพราะเหตุใด และรอบตัวเรามีอะไรบาง
เป น สิ่ ง มี ชี วิ ต และอะไรบ า งเป น สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต และสิ่ ง ต า ง ๆ ที่ เ ราพบใน
โรงพยาบาลสิ่งใดเปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งใดเปนสิ่งไมมีชีวิต” ครูและนักเรียน
ร ว มกั น อภิ ป รายแนวทางการตอบคํ า ถาม เช น หุ น ยนต เ ป น สิ่ ง ไมมีชีวิต
เพราะไมสามารถเจริญเติบโต พูด กิน หายใจ สืบพันธุ ขับถาย ตอบสนอง
ตอสิ่งตาง ๆ และเคลื่อนไหวไดดวยตนเอง รอบตัวเรามีหลายอยางที่เปน
สิ่งมีชีวิต เชน ครู นักเรียน พืช สุนัข แมว ปลา ยุง จิ้งจก กระตาย และมี
หลายอยางที่เปนสิ่งไมมีชีวิต เชน โตะ เกาอี้ หนังสือ สมุด ดินสอ รองเทา
กระเปา
4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทที่ 2 สิ่งมีชีวิต ในแบบบันทึกกิจกรรมหนา
54-55 จากนั้ น นํ า เสนอคํ า ตอบหน า ชั้ น เรี ย น ถ า คํ า ตอบยั ง มี ค วาม
คลาดเคลื่อนไมถูกตองครูควรนําอภิปรายหรือใหสถานการณเพิ่มเติ มเพื่อ
แกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนใหถูกตอง
5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรม รวมคิด รวมทํา โดยรวมกันคิดหาวิธีปลูกผักที่
ตนเองชอบ โดยใชพื้นที่จํากัดและใชวัสดุเหลือใชที่สามารถหาไดจากบาน
หรือโรงเรียน
6. นักเรียนอานและอภิปรายเนื้อเรื่องในหัวข อวิทยใ กลตั ว ในหนังสือเรีย น
หนา 39 โดยครูกระตุนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของความรูจากสิ่ งที่ ได
เรียนรูในหนวยนี้ วาสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร
บาง
7. นักเรียนรวมกันตอบคําถามสําคัญประจําหนวยอีกครั้ง ดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 131
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

- เรามองเห็นสิ่งตาง ๆ ไดอยางไร (เรามองเห็นสิ่งที่เปนแหลงกําเนิดแสง


ได เ พราะมี แ สงจากแหล ง กํ า เนิ ด แสงเข า สู ต าเราโดยตรง และ
มองเห็นสิ่งตาง ๆ ที่ไมเปนแหลงกําเนิดแสงได เพราะมีแสงจาก
แหลงกําเนิดแสงมากระทบกับสิ่งนั้นแลวสะทอนเขาสูตา)
- บอกได อ ย า งไรว า สิ่ ง ใดเป น สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง ใดเป น สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต
(สิ่งมีชีวิตตองการอาหาร หายใจ เจริญเติบโต ขับถาย เคลื่อนไหว
ไดดวยตนเอง ตอบสนองตอสิ่งเรา และสืบพันธุได สวนสิ่งไมมีชีวิต
ไมมีลักษณะเหลานี้)
- การดูแลพืชดอกใหเจริญเติบโตจนครบวัฏจักรชีวิตทําไดอยางไร
(ตองดูแลใหพืชไดรับแสง น้ํา อากาศ และธาตุอาหารที่เหมาะสม)
ถ า คํ า ตอบยั ง ไม ถู ก ต อ ง ให นั ก เรี ย นร ว มกั นอภิ ป รายเพื่ อ ให ได
คําตอบที่ถูกตอง

132 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

สรุปผลการเรียนรูของตนเอง

รูปหรือขอความสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทนี้ตามความเขาใจของนักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 133
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท

มนุษย หญา นก
ลูกบอล เมฆ ดวงอาทิตย หมวก เสื้อผา รองเทา

เจริญเติบโต กินอาหาร หายใจ


สืบพันธุ ขับถาย เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง
ตอบสนองตอสิ่งเราตาง ๆ

การสังเกตพืชมีลําตนสูงและใหญขึ้น
จํานวนใบเพิ่มขึ้น ขนาดใบใหญขึ้น มีการแตกกิ่ง

134 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

น้ํา
เหี่ยวและตาย
แสง
ใบซีด ลําตนยืดยาว และตาย
อากาศ
แหง เหี่ยว และตาย
ธาตุอาหาร
เปนโรค และตาย

ตนกลามะละกอจะเจริญเติบโต
อยางตอเนื่องจนเจริญเติบโตเต็มที่และมีดอก เมื่อดอกสืบพันธุ จะเจริญเติบโตไปเปนผล ในผลมีเมล็ด
เมล็ดจะงอกและเจริญเติบโตเปนตนกลาอีกครั้ง และตนกลาจะเจริญเติบโตตอไป

มีการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตที่มีการหมุนเวียนเปนแบบรูปที่
คงที่ซ้ําเดิม และดําเนินตอเนื่อง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 135
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

136 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวิต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 137
138 คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

บท เรื่อง กิจกรรม ลําดับแนวคิดตอเนื่อง ตัวชี้วัด


บทที่ 1 รูจักดิน เรื่องที่ 1 ดินในทองถิ่น กิจกรรมที่ 1.1 ดินมี • ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติ ว 3.2
สวนประกอบอะไรบาง ที่พบไดทั่วไป ป.2/1 ระบุสวนประกอบของ
• นักวิทยาศาสตรจําแนกดิน ดิน และจําแนกชนิด
ออกเปนดินเหนียว ดินรวน ข อ ง ดิ น โ ด ย ใ ช
และดินทราย ลั ก ษณะเนื้ อ ดิ น และ
• ดิ น ใ น แ ต ล ะ ท อ ง ถิ่ น มี การจับตัวเปนเกณฑ
ส ว นประกอบเหมื อ นกั น
แตสัดสวนของสวนประกอบ
ไมเทากัน
กิจกรรมที่ 1.2 ดินในทองถิ่น • ดิ น อาจมี ลั ก ษณะเนื้ อ ดิ น
มีลักษณะและสมบัติอยางไร สมบั ติ ก ารจั บ ตั ว และการ
อุมน้ําแตกตางกัน
• เราสามารถระบุชนิดดินวา
เป น ดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น
หรื อ ดิ น ทราย จากการ
ตรวจสอบลักษณะเนื้อดิน
สมบั ติ ก ารจั บ ตั ว และการ
อุมน้ําของดิน
เรื่ อ งที่ 2 ประโยชน กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชน • ดิ น แ ต ล ะ ช นิ ด นํ า ไ ป ใช ป.2/2 อธิบายการใชประโยชน
ของดิน อยางไร ประโยชน ไ ด แ ตกต า งกั น จากดิ น จากข อมู ลที่
ตามลักษณะและสมบัติบาง รวบรวมได
ประการของดิน

รวมคิด รวมทํา
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 139
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

บทที่ 1 รูจักดิน
จุดประสงคการเรียนรูประจําบท
เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ
1. ระบุสวนประกอบของดิน
2. จําแนกชนิดของดินโดยใชลักษณะเนื้อดิน สมบัติการ
จับตัว และการอุมน้ําของดินเปนเกณฑ
3. อธิบายการใชประโยชนจากดิน

เวลา 13 ชั่วโมง

แนวคิดสําคัญ
ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่พบไดทั่วไป ดินตามที่
ตาง ๆ จะมีสวนประกอบเหมือนกัน แตอาจมีลักษณะและ
สมบัติแตกตางกัน เมื่อใชลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัว
และการอุมน้ําของดินเปนเกณฑสามารถจําแนกดินไดเปน บทนี้มีอะไร
3 ช นิ ด ได แ ก ดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น แล ะดิ น ทร า ย เรื่องที่ 1 ดินในทองถิ่น
ซึ่งดินแตละชนิดสามารถนําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสวนประกอบอะไรบาง
ตามลักษณะ สมบัติและชนิดของดิน กิจกรรมที่ 1.2 ดิ น ในท อ งถิ่ น มี ลั ก ษณะและสมบั ติ
อยางไร
เรื่องที่ 2 ประโยชนของดิน
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชนอยางไร
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 40-63
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 59-85

140 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21
กิจกรรมที่
รหัส ทักษะ
1.1 1.2 2
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต • •
S2 การวัด
S3 การใชจํานวน
S4 การจําแนกประเภท •
S5 การหาความสัมพันธระหวาง
 สเปซกับสเปซ
 สเปซกับเวลา
S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
S7 การพยากรณ
S8 การลงความเห็นจากขอมูล • • •
S9 การตั้งสมมติฐาน
S10 การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
S11 การกําหนดและควบคุมตัวแปร
S12 การทดลอง
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป • • •
S14 การสรางแบบจําลอง
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C1 การสรางสรรค
C2 การคิดอยางมีวิจารณญาณ •
C3 การแกปญหา
C4 การสื่อสาร • • •
C5 ความรวมมือ • • •
C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หมายเหตุ : รหัสทักษะที่ปรากฏนี้ ใชเฉพาะหนังสือคูมือครูเลมนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 141
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
แนวคิดคลาดเคลื่อน
แนวคิดคลาดเคลื่อนที่อาจพบและแนวคิดที่ถูกตองในบทที่ 1 รูจักดิน มีดังตอไปนี้

แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกตอง
ดินในที่ตาง ๆ ลวนมีลักษณะเหมือนกัน (Kusnick, 2002) ดิ น ในที่ ต า ง ๆ อาจมี ลั ก ษณะแตกต า งกั น ขึ้ น อยู กั บ
สภาพแวดลอม (Kusnick, 2002)
สัตวที่อยูในดินเปนสวนประกอบของดิน (Kusnick, 2002) สั ต ว ที่ ยั ง มี ชี วิ ต ไม ใ ช ส ว นประกอบของดิ น โดยดิ น
ประกอบดวยเศษหิน ซากพืช ซากสัตว น้ํา และอากาศ
(Kusnick, 2002)
ดินสกปรกและไมมีประโยชน (Melanie, 2010) ดิ น มี ป ระโ ยช น ม าก เช น การนํ า ดิ น ไปปลู ก พื ช
ทําเครื่องปนดินเผา หรือการกอสราง (Melanie, 2010)
ดินเปนของแข็ง (Melanie, 2010) ดินไมไดเปนเพีย งของแข็ งเทานั้น แตดินประกอบด ว ย
เศษหิ น ที่ เ ป น ของแข็ ง และพื้ น ที่ ว า งที่ ไ ม ใ ช ข องแข็ ง
ซึ่งชองวางระหวางเม็ดดิ น คื อที่ว างสําหรับ น้ํา อากาศ
ซึ่งเปนสวนประกอบหนึ่งของดิน (Melanie, 2010)
ถาครูพบวามีแนวคิดคลาดเคลื่อนใดที่ยังไมไดแกไขจากการทํากิจกรรมการเรียนรู ครูควรจัดการเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อแกไข
ตอไป

142 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
บทนี้เริ่มตนอยางไร (1 ชัว่ โมง)
1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับดิน โดยนํารูปหรือตัวอยาง
หิ น ดิ น ทราย และฝุ น ตามลํ าดั บ ดั งรู ป มาให นั กเรี ยนสั งเกตและ
ใชคําถามดังตอไปนี้
ในการตรวจสอบความรูเดิมครู
รับฟงเหตุผลของนักเรียนเปนสําคัญ
ครูยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน
ใหหาคําตอบที่ถูกต องจากกิจกรรม
ตาง ๆ ในบทเรียนนี้

1.1 วัสดุใดคือดิน เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเขาใจของ


ตนเอง)
1.2 ดินมีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง
เชน ดินมีลักษณะเปนเม็ดเล็ก ๆ แข็ง ๆ มีเศษหินเล็ก ๆ มีสีดํา
น้ําตาล แดง และมีเศษหญา ซากมดปนอยู)
1.3 ดินมีประโยชนหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจ
ของตนเอง เชน ดินมีประโยชนมาก ซึ่งเราใชประโยชนจากดิน
ทั้งในการเกษตรกรรม การกอสราง และอื่น ๆ)
2. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องดินรอบตัวเรา โดยใหอานชื่อหน วย
และอานคําถามสําคัญประจําหนวยที่ 4 คือ “การใชประโยชนจาก
ดินตองพิจารณาอะไรบาง” นักเรียนตอบคําถาม โดยครูยังไมตอง
เฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตอบอีกครั้งหลังจากเรียน
จบหนวยนี้แลว
3. ครูใหนักเรียนอาน ชื่อบท และจุดประสงคการเรี ยนรู ประจํ า บท
ในหนังสือเรียน หนา 41 จากนั้นครูใชคําถาม ดังนี้
3.1 บทนี้จะไดเรียนเรื่องอะไร (เรื่องสวนประกอบของดิน ลักษณะ
และสมบัติของดิน ประโยชนของดิน)
3.2 จากจุดประสงคการเรียนรูเมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ
ทําอะไรไดบาง (สามารถระบุสวนประกอบของดิน จําแนกชนิด
ของดินโดยใชลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุมน้ํา
ของดินเปนเกณฑ และอธิบายการใชประโยชนจากดิน)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 143
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
4. นักเรียนอานชื่อบท และแนวคิดสําคัญ ในหนังสือเรียน หนา 42
จากนั้นครูใชคําถามวา จากการอานแนวคิดสําคัญ นักเรียนคิดวา
จะได เ รี ย นเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งอะไรบ า ง (จะได เ รี ย นเกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง
ส ว นประกอบของดิ น การจํ าแนกประเภทของดิ น โดยใช ลั กษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุมน้ําของดินเปนเกณฑ และการใช
ประโยชนจากดิน)
5. ครูชักชวนใหนักเรียนสังเกตรูป และอานเนื้อเรื่องในหนา 42 โดยครู
ฝกทักษะการอานตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน ครูตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดยใชคําถามดังนี้
5.1 จากรูป นักเรียนคิดวาจะพบดินบริเวณใดบาง (นักเรียนอาจชี้ไป
ที่ภาพบริเวณที่มีหินหรือตะกอนกระจัดกระจายอยูเทานั้น แต
จริง ๆ แลว ดินจะพบไดตั้งแตบริเวณที่มีการผุพังของภูเขาหิน
ไปจนถึงบริเวณทางน้ํา)
5.2 บริเวณที่เขียนวาภูเขาหินพบดินไดหรือไม (นักเรียนตอบไดตาม
ความเขาใจของตนเอง เชน พบดินได พบดินไมได)
5.3 จากรู ป ลั ก ษณะของวั ต ถุ ที่ ป กคลุ ม ผิ ว โลกบริ เ วณภู เ ขาหิ น
ดานบนและดานลางแตกตางกันหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบ ถานักเรียนไมสามารถตอบ
ได ต ามความเข า ใจของตนเอง เช น แตกตางกัน โดยบริเวณ คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว
ภู เ ขาหิ น จะพบเศษหิ น และเม็ ด ดิ น ขนาดใหญ และบริ เ วณ คําตอบ ครูควรใหเวลานั กเรียน
ที่ ต่ํ าลงมา ขนาดของเศษหิ น และเม็ ดดิ น มักจะมีขนาดเล็กลง คิดอยางเหมาะสม รอคอยอยาง
เนื่องจากการผุพังของหินหรือตะกอน) อดทน และรั บฟ งแนวความคิ ด
6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับดิน ในสํารวจความรูกอนเรียน ของนักเรียน
7. นักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา
60-61 โดยนักเรียนอานคําถามแตละขอ ครูตรวจสอบความเข าใจ
ของนั กเรี ย น จนแน ใจวานักเรีย นสามารถทําไดดวยตนเอง จึงให
นักเรียนตอบคําถาม โดยคําตอบของแตละคนอาจแตกตางกันและ
อาจตอบถูกหรือผิดก็ได
8. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรี ย นมี
แนวคิดเกี่ยวกับดินอยางไร โดยอาจสุมใหนักเรียน 2-3 คน นําเสนอ
คํ า ตอบของตนเอง ครู ยั ง ไม ต อ งเฉลยคํ า ตอบ แต จ ะให นั ก เรี ย น
ยอนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังจากเรียนจบบทนี้แลว ทั้งนี้ครูควร
บันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน แลว

144 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
นํ า มาใช ใ นการออกแบบการจั ด การเรี ย นรู เ พื่ อ แก ไ ขแนวคิ ด
คลาดเคลื่อนใหถูกตอง และตอยอดแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
เพื่อจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป
ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได
เรี ย นเรื่ อ งที่ 1 ดิ น ในท อ งถิ่ น ซึ่ ง
เกี่ ย วข อ งกั บ ดิ น ที่ อ าจพบในท อ งถิ่ น
ต า ง ๆ ครู อ าจเตรี ย มดิ น ที่ พ บตาม
สถานที่ตาง ๆ หรือรูปดินกับสถานที่ที่
พบดินนั้น ๆ มาเพื่อใหนักเรียนเลนเกม
ดิ น นี้ ค วรอยู ที่ ใ ด ในขั้ น ตรวจสอบ
ความรูเดิมของนักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 145
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม
การสํารวจความรูกอนเรียน นักเรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผิดก็ไดขึ้นอยูกับความรูเดิมของนักเรียน
แตเมื่อเรียนจบบทเรียนแลว ใหนักเรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกครั้งและแกไขใหถูกตอง ดังตัวอยาง

  

 

146 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 147
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

เรื่องที่ 1 ดินในทองถิ่น
ในเรื่องนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับสวนประกอบ
และลักษณะของดินตามสภาพแวดลอมในแตละทองถิ่น

จุดประสงคการเรียนรู
1. สังเกตและระบุสวนประกอบของดินจากแหลงตาง ๆ
2. สังเกตและเปรียบเทียบลักษณะเนื้อดินของดินเหนียว
ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่น
3. สังเกตและเปรียบเทียบการจับตัวและการอุมน้ําของ
ดินเหนียว ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่น
4. ระบุ ช นิ ด ของดิ น ในท อ งถิ่ น โดยเปรี ย บเที ย บกั บ
ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุมน้ําของ
ดินเหนียว ดินรวน และดินทราย

เวลา 7 ชั่วโมง

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
จานกระดาษหรือภาชนะใสดิน แกวพลาสติกใส
ไมหรือตะเกียบไมสําหรับเขี่ยดิน แวนขยาย ชอนพลาสติก 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 44-54
ถุงพลาสติกใส ยางรัดของ น้ํา ชุดทดลองการอุมน้ําของดิน 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 62-77
ชอนสําหรับตักดิน ชอนโตะ ปากกาเคมี ตัวอยางดินจาก
แหลงตาง ๆ ในทองถิ่น ตัวอยางดินเหนียว ดินรวน และ
ดินทราย สีเมจิกหรือปากกาเคมี

148 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
แนวการจัดการเรียนรู (60 นาที)
ขั้นตรวจสอบความรู (10 นาที)

1. ครู ตรวจสอบความรู เดิ มของนั กเรี ยนเกี่ ยวกั บดิ น โดยใช คํ าถามว า ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
เคยสั งเกตดิ นตามที่ ต าง ๆ หรื อไม ดิ นตามที่ ต าง ๆ ที่ เคยสั งเกตมี ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
ลักษณะเหมื อนหรื อแตกต างกั น (นั กเรี ยนตอบตามความเข าใจของ และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
ตนเอง แตควรมีเหตุผลประกอบ) ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
2. ครูเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนสูการเรียนเรื่อง ดินในทองถิ่น โดย ตนเองจากการอานเนื้อเรื่อง
ใชคําถามวา รูหรือไมวาดินตามที่ตาง ๆ มีลักษณะอยางไรบาง จากนั้น
ครูชักชวนนักเรียนหาคําตอบจากการอานเรื่องดินในทองถิ่น

ขั้นฝกทักษะจากการอาน (35 นาที)

2. นักเรี ย นอ านชื่ อเรื่ อง และคํ า ถามในคิ ด ก อนอา น ในหนังสือเรียน


หนา 44 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพื่อหาแนวคําตอบและนําเสนอ
ครู บั นทึ กคํ าตอบของนั กเรี ย นบนกระดานเพื่ อใช เ ปรี ยบเที ย บกั บ
คําตอบภายหลังการอานเนื้อเรื่อง
3. นักเรียนอานคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน
อานไมได ครูควรสอนอานใหถูกตอง) จากนั้นครูชักชวนใหนักเรียน
อธิบายความหมายของคําสําคัญตามความเขาใจของตนเอง
4. นักเรียนอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หนา 44-45 โดยครูฝกทักษะ
การอานตามวิ ธี การอา นที่เ หมาะสมกั บ ความสามารถของนัก เรี ย น
ครูใชคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดยใชคําถามดังนี้
ยอหนาที่ 1
4.1 ดินคืออะไร (วัตถุที่ปกคลุมผิวโลก)
4.2 หิ น ต น กํ า เนิ ดคื ออะไร (หิ น ที่ จ ะผุ พังแล ว ทําใหเกิดตะกอนดิ น ถ า นั ก เรี ย นไม ส า มา ร ถ ต อ บ
ลักษณะตาง ๆ) คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
4.3 นักวิทยาศาสตรจําแนกดินออกเปนกี่ชนิด อะไรบาง (3 ชนิด คือ
คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรี ย นคิ ด
ดินเหนียว ดินรวน และดินทราย)
อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
4.4 ดินแตละชนิดแตกตางกันเพราะอะไร (ดินแตละชนิดแตกตางกัน
เพราะเกิดจากหิน ตน กํา เนิด ที่แตกตางกันและสภาพแวดล อม และรับฟงแนวความคิดของนักเรียน
ในอดีตและปจจุบันของแตละทองถิ่นแตกตางกัน)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 149
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
ยอหนาที่ 2
4.5 บริเวณปาชายเลนมีลักษณะเปนอยางไร และสวนใหญพบดินชนิดใด
(บริเวณปาชายเลนมีลักษณะเปนพื้นที่ที่น้ําทะเลทวมถึง มักพบดินที่ ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
มีความเค็มสูง สวนใหญเปนดินเหนียว)
ยอหนาที่ 3 เมื่ อ หิ น มี ก ารผุ พั ง ทั้ ง ทางกายภาพ
4.6 บริเ วณพื้น ที่ล าดเชิงเขามีลั ก ษณะเปน อย า งไร และสวนใหญพ บ และทางเคมี จ ะทํ า ให เ กิ ด ตะกอนขนาด
ดิน ชนิด ใด (บริเ วณพื้น ที่ ล าดเชิ งเขามีลั ก ษณะเปน พื้ น ที่ล าดที่ มี ตาง ๆ ซึ่งตะกอนเหลานั้นก็คือแรตาง ๆ ที่
การชะลางพังทลายไดงาย ดินบริเวณนี้จึงขาดความอุดมสมบูรณ ซึ่ง อยูในหินตนกําเนิด โดยตัวอยางแรที่อยูใน
บริเวณเชิ งเขาจะพบดิ นชนิ ดใดก็ ได ขึ้นอยูกับ หินตน กําเนิด เชน หินตนกําเนิดและผลจากการผุพัง แสดง
ถาเปนหินทราย ดินบริเวณนี้มักจะเปน ดิน ทราย) ดังตาราง
4.7 นักเรียนคิดวา เพราะเหตุใดดินบริเวณที่ลาดเชิงเขาสวนใหญถึงมัก
แร ผลจากการผุพัง
ขาดความอุดมสมบูรณ (เพราะดินบริเวณนี้มีการชะลางพังทลาย
แรเฟลดสปาร แรดิน
ไดงาย)
แรควอตซ ทราย
ยอหนาที่ 4
การผุ พั ง ของหิ น ให เ ป น ตะกอนจะ
4.8 ดิ นที่ พบบริ เวณที่ ราบมี ลั กษณะเป นอย างไร และส ว นใหญ พบดิ น
เกิดขึ้นพรอมกับการยอยสลายของซากพืช
ชนิ ด ใด (บริ เ วณที่ ร าบเป น แอ ง สะสมตะกอนซากพื ช ซากสั ต ว
ซากสั ต ว ซึ่ ง เป น อิ น ทรี ย วั ต ถุ ผ ส ม
ดินบริเวณนี้จึงเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณ โดยดินบริเวณนี้จะพบดิน
คลุกเคลากันกับตะกอนที่ผุ พังมาจากหิ น
ชนิดใดก็ไดขึ้นอยูกับหินตนกําเนิด เชน ถาเปนทรายแปง บริเวณนี้จะ
จนเกิดเปนดิน ซึ่งกระบวนการเกิดดินตอง
เปนดินรวน)
อาศัยระยะเวลา
4.9 นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดดินบริเวณที่ราบหรือแองสะสมตะกอน
ดิ น ส ว นใหญ จึ ง มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ (เพราะเป น บริ เ วณที่ มี
การสะสมตัวของซากพืช ซากสัตว)
ยอหนาที่ 1-4
4.10 เราสามารถพบดิ น เหนี ย ว ดิ น ทราย หรื อ ดิ น ร ว นที่ บ ริ เ วณอื่ น
นอกจากที่ กลาวมาแลว ไดหรื อไม เพราะเหตุ ใด (เราสามารถพบ
ดิ น เหนี ย ว ดิ น ทราย และดิ น ร ว นในบริ เ วณอื่ น ได เนื่ อ งจาก
การจะบอกว า เป น ดิ น ชนิ ด ใด ขึ้ น อยู กั บ หิ น ต น กํ า เนิ ด และ
สภาพแวดลอมในอดีตและปจจุบัน)

150 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
ขั้นสรุปจากการอาน (15 นาที)
การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
5. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องที่อานซึ่งควรสรุปไดวา นักวิทยาศาสตร เพื่อจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป
จําแนกดินออกเปนดินเหนียว ดินรวน และดินทราย ซึ่งแตละบริเวณ
ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า
อาจพบดิ น ที่ เ หมื อ นหรื อ แตกต า งกั น ขึ้ น อยู กั บ ลั ก ษณะของ
กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสวนประกอบอะไรบาง
หินตนกําเนิดและสภาพแวดลอมทั้งในอดีตและปจจุบัน
ครูใหนักเรียนแตละกลุมเตรียมยางรัดของ
6. นักเรียนตอบคําถามในรูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 62
ถุ ง พลาสติ ก และดิ น ในท อ งถิ่ น ครู ใ ห
7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน นักเรีย นระบุแหลงที่เก็บ ตัวอยางดิน โดย
ในรู ห รื อ ยั ง กั บ คํ า ตอบที่ เ คยตอบและบั น ทึ ก ไว ใ นคิ ด ก อ นอ า น ดิ น ที่ นํ า มาจะต อ งไม เ ป น ดิ น ที่ ใ ส ถุ ง ขาย
จากนั้นใหนักเรียนฝกเขียนคําวา ดิน ในเขียนเปน ในแบบบัน ทึก และครูบอกวิธีเก็บตัวอยางดิน โดยตองขุด
กิจกรรม หนา 62 ดิ น ลึ ก ลงไปประมาณ 10-15 เซนติ เ มตร
8. ครูใหนักเรียนอานคําถามในยอหนาสุดทายของเรื่องที่อาน และให จากนั้นจึงเก็บดินที่กนหลุมขึ้นมาประมาณ
นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ ตอบคํ า ถาม ดั ง นี้ ดิ น แต ล ะชนิ ด ที่ 25 กํามือ แบงดิน เปน สองสว น สว นแรก
นั ก วิ ท ยาศาสตร จํ า แนกไว มี ส ว นประกอบ ลั ก ษณะ และสมบั ติ 10 กํ า มื อ เพื่ อ ใช ใ นกิ จ กรรมที่ 1.1 และ
เหมื อ นหรื อ แตกต า งกั น จะจํ า แนกชนิ ด ดิ น ที่ พ บในท อ งถิ่ น แบบ สวนที่สอง 15 กํามือ เพื่อใชในกิจกรรมที่
นักวิทยาศาสตรไดอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง) 1.2 ซึ่ ง นั ก เรี ย นต อ งนํ า ดิ น ส ว นที่ 2 ไป
ครูยังไมเฉลยคําตอบ แตชักชวนใหนักเรียนหาคําตอบจากการทํ า ตากแดดให แ ห ง และทุ บ ให ล ะเอี ย ด แล ว
กิจกรรม รอนดวยมุงไนลอน (ผาตาขายสีฟาที่ ใช ใน
งานกอสราง) กอนที่จะนํามาใชในการทํา
กิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 151
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา
แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

3 ดินเหนียว
ดินรวน และดินทราย

ดินที่พบในบริเวณตาง ๆ อาจจะเปนดินตางชนิดกัน ซึ่งขึ้นอยูกับ


หินตนกําเนิด สภาพแวดลอมในอดีตและปจจุบันของทองถิ่นนั้น ๆ

ดิน

ดิน

152 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสวนประกอบอะไรบาง


กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตสวนประกอบของดิน
ในทองถิ่นของตนเอง โดยสังเกตดวยตาเปลา การสัมผัส
และการใชแวนขยาย เพื่อระบุสวนประกอบของดิน จาก
แหลงตาง ๆ
เวลา 2 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
สังเกตและระบุสวนประกอบของดินจากแหลงตาง ๆ
วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
สิ่งที่ครูตองเตรียม/กลุม
1. ไมหรือตะเกียบสําหรับเขี่ยดิน ตามจํานวนนักเรียน
2. แวนขยาย 2-3 อัน
3. น้ํา ½ แกว
สิ่งที่นักเรียนตองเตรียม/กลุม
1. ตัวอยางดินในทองถิ่น ประมาณ 100 กรัม
2. ถุงพลาสติกใส 1 ใบ
3. ยางรัดของ 1 วง สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
4. ชอนพลาสติก 1 คัน 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 46-48
5. จานกระดาษหรือภาชนะใสดิน ตามจํานวนนักเรียน 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 63-67
6. แกวพลาสติกใส 1 ใบ 3. วีดิทัศนตวั อยางการปฏิบัติการวิทยาศาสตรสําหรับครู
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เรื่อง ดินมีอะไรเปนสวนประกอบบาง
S1 การสังเกต http://ipst.me/9446
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 153
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับสวนประกอบของดิน โดยใชคําถาม
วา ดินแตละชนิดมีสวนประกอบเหมือนหรื อแตกตางกัน อยางไร
(นั ก เรี ย นตอบตามความเข า ใจของตนเอง เช น ดิ น ทุ ก ชนิ ด มี
สวนประกอบเหมือนกัน ประกอบดวย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว น้ํา ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
และอากาศ แตจะมีปริมาณเศษหิน ซากพืช ซากสัตว น้ําและอากาศ ครูเพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียน
แตกตางกันไปในดินแตละชนิดและในแตละบริเวณ)
และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
2. ครู เ ชื่ อ มโยงความรู เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเข า สู กิ จ กรรมที่ 1.1 โดยใช
คําถามดังนี้ ดินตามที่ตาง ๆ ในทองถิ่นมีสวนประกอบอะไรบาง เรา ชั ก ชวนให นั ก เรี ย นไปหาคํ า ตอบ
จะเรียนรูใ นกิจกรรมที่ 1.1 ดวยตนเองจากการทํากิจกรรม
3. นั ก เรี ย นอ า นชื่ อ กิ จ กรรม และทํ า เป น คิ ด เป น ในหนั ง สื อ เรี ย น
จากนั้ น ร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจเกี่ ย วกั บ
จุดประสงคในการทํากิจกรรม โดยใชคําถามดังนี้
3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องอะไร (สวนประกอบ
ของดินจากแหลงตาง ๆ)
3.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องนี้ดวยวิธีใด (การสังเกต)
3.3 เมื่อเรียนรูแลวนักเรียนจะทําอะไรได (ระบุสวนประกอบของดิน
ได)
4. นักเรียนบันทึ กจุ ดประสงคลงในแบบบั นทึ กกิจกรรม หนา 63 และ
อานสิ่งที่ตองใชในการทํากิจกรรม
5. นักเรี ย นอ านทํ า อย า งไรทีล ะข อ และครู ถามนั กเรีย นวามีคําศัพท
ใดบางที่ไมเขาใจเพื่อครูจะไดชวยอธิบาย จากนั้นรวมกันอภิปราย
เพื่อตรวจสอบความเข า ใจว า จะทํ า กิ จ กรรมอย า งไร จนนักเรี ย น
เขาใจลําดับการทํากิจกรรม โดยอาจใชคําถามดังนี้
ทําอยางไร ขอที่ 1
5.1 นั ก เรี ย นเก็ บ ตั ว อย า งดิ น มาจากที่ ใ ดบ า ง (คํ า ตอบขึ้ น อยู กั บ
แหลงดินที่เก็บตัวอยางดินมาทํากิจกรรม เชน สวนหลังบาน
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
สวนสาธารณะ แปลงผักในโรงเรียน)
5.2 นักเรียนเก็บตัวอยางดินมาอยางไร (คําตอบขึ้นอยูกับวิธีการที่ ครูสามารถวางแผนในการแบงเวลาการ
นั ก เรี ย นใช ใ นการเก็ บ ตั ว อย า งดิ น ซึ่ ง นั ก เรี ย นควรตอบ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของตนเองได
คล ายคลึ งกั บ วิ ธี เ ก็ บ ตั วอย า งดิ นที่ แนะนํ า ไวในการเตรียมตัว
ลวงหนาสําหรับครูในเรื่องที่ 1 เชน ขุดดินจากสวนหลังบาน

154 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

โดยขุดดินลึกลงไปประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร แลวเก็บดิน


มาประมาณ 25 กํามือ) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
5.3 ในขั้ น ตอนแรกนั กเรี ย นต องทํ า อะไร (ตั กดิ น ใสภ าชนะ และ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
สังเกตลักษณะของดินอยางละเอียด) ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
5.4 วิธีการสังเกตดินอยางละเอียดทําอยางไร (ใชตาเปลาสังเกต S1 สังเกตสวนประกอบของดิน
กอน จากนั้นใชมือบี้ดิน) S8, C4, C5 นํ า เสนอผลการสั ง เกตและ
5.5 การสัมผัสดินโดยใชมือบี้ดินจะพบอะไรบาง (ความหยาบหรื อ อภิปรายสวนประกอบของดิน
ความละเอียดของดิน ดินแหงหรือชื้น และสิ่งตาง ๆ ที่อยูในดิน)
5.6 นักเรียนตองใชแวนขยายในขั้นตอนใด (ใชในการสังเกตเนื้อดิน
หลังจากที่สังเกตดินดวยตาเปลาแลว)
ครูแนะนําวิธีการใชแวนขยายที่ถูกตองใหกับนักเรียน และบอก
กับนักเรียนวาจะใหแวนขยายกับนักเรียน หลังจากที่นักเรียนบันทึกผล
การสังเกตดินดวยตาเปลาแลวกอนอภิปรายขอตอไป
ทําอยางไร ขอที่ 2-6
5.7 นักเรียนตองแบงดินในภาชนะออกเปนกี่สวน (สองสวน)
5.8 ดินสวนที่หนึ่งตองนําไปทําอะไร (นําไปใสในถุงพลาสติกและ
รัดปากถุงใหแนน)
5.9 กอนจะนําถุงพลาสติกที่ใสดินไปวางกลางแดดนักเรียนตองทํา
อะไร (บันทึกผลการสังเกตวาพบอะไรบางภายในถุงพลาสติก
ที่ใสดิน)
5.10 เมื่อนําถุงพลาสติกวางกลางแดดครบ 10 นาที นักเรียนตอง
สั ง เกตอะไร (สั ง เกตการเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายใน
ถุงพลาสติกที่ใสดินอีกครั้ง)
5.11 ดินในสวนที่สองตองนําไปทําอะไร (ตักดินที่เปนกอนจากดิน ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
สวนที่สองใสลงในแกวพลาสติกใสที่มีน้ําอยูครึ่งแกว)
5.12 เมื่อตักกอนดินใสในแกวน้ํา นักเรียนตองสังเกตภายในแกวน้ํา ในขั้ น ตอนการตั ก ดิ น ลงในน้ํ า ของ
ทันทีหรือไม อยางไร (ตองสังเกตทันทีและสังเกตกอนดินทีใ่ ส กิจกรรมที่ 1.1 ครูย้ําใหนักเรียนตั ก ก อน
ลงไปในน้ํ า อย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ดู ว า ภายในแก ว น้ํ า มี ก าร ดินลงในน้ําอยางชา ๆ สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น
เปลี่ยนแปลงอยางไรบาง) อยางละเอียด จากนั้นจึงเติมดินเพิ่มอีก 1
5.13 หลังจากใสดินเพิ่มอีก 1 ชอน นักเรียนทําอยางไรตอไป (ใชไมคน ชอน แลวใชชอนคนดินใหเขากับน้ํา
ดินใหเขากับน้ํา จากนั้นวางไวสักครู แลวสังเกตสิ่งที่พบตั้ งแต
ผิวน้ําลงไปจนถึงกนแกว)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 155
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

6. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว ครูแจกวัสดุ
อุปกรณ และใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนที่กลาวมา แตยกเวน
แวนขยายที่ครูจะแจกใหเมื่อนักเรียนสังเกตเนื้อดินดวยตาเปลาและ
บี้ดิน พรอมบันทึกผลเรียบรอยแลว
7. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใช
คําถามดังนี้
7.1 เมื่ อ สั ง เกตดิ น ของตนเองในจานกระดาษโดยใช ไ ม เ ขี่ ย ดิ น
พบอะไรบาง (คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม เชน การ ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
สั งเกตดิ น โดยการใช ไม เ ขี่ ย ดิ น ในจานกระดาษ จะพบกรวด คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
ทราย เศษหิ น ซากพื ช ซากสั ต ว นั ก เรี ย นบางกลุ ม อาจพบ คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
สิ่งมีชีวิต เศษกระดาษ และเศษพลาสติก หรืออื่น ๆ การบี้ดิน อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
ทําใหพบวา ดินมีเนื้อหยาบหรือละเอียด และดินชื้นหรือแหง)
และรับฟงแนวความคิดของนักเรียน
7.2 เมื่อนําดินที่ใสถุงพลาสติกไปวางไวกลางแดด แลวสังเกตภายใน
ถุ ง นอกจากมี ดิ น แลว ยั งพบอะไรอี กบาง (จะเห็ น ละอองน้ํ า
จั บ อยู ภ ายในถุ งพลาสติ กเป น ฝ า ขาว ๆ และเมื่อเปดถุงออก
แลวสัมผัสภายในถุงจะรูสึกเปยก ชื้นมือ เพราะมีละอองน้ําจับ
อยูภายในถุงพลาสติก)
7.3 เมื่ อ ใส ก อ นดิ น ลงในน้ํ า แล ว สั ง เกตทั น ที นั ก เรี ย นจะพบ
อะไรบาง (พบฟองแกสลอยขึ้นสูผิวน้ําและบางสวนเกาะอยูที่
กอนดิน)
7.4 จากสิ่งที่สังเกตไดเ มื่ อใส กอนดินลงในน้ํา นักเรียนคิดว าเป น
ส ว นประกอบใดของดิ น เพราะเหตุ ใด (นั กเรีย นอาจตอบวา
สิ่งที่สังเกตไดเปนฟองแกส คิดวาเปนอากาศ เพราะเมื่อเวลา
ผานไปไมนานฟองแกสบางสวนจะแตกและหายไปในอากาศ)
ถานักเรียนไมสามารถตอบได ครูอาจใหนักเรียนลองแตะที่ฟอง
แกสนั้นแลวสังเกตการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะเห็นวาฟองแกสนั้น ๆ
จะแตกและหายไป ซึ่ ง เมื่ อ แก ส หายไปแล ว ครู อ าจเว น ช ว งให
นักเรี ย นลองคิ ด ว า ทํ า ไมแก ส ที่ เ คยกองอยู กับ ก อนดิ น จึงหายไป
ทําไมเราถึงมองไมเห็น ซึ่งนักเรียนอาจตอบไดวาแกสที่หายไปใน
อากาศก็คืออากาศ เราจึงมองไมเห็น
7.5 เมื่อใชไมคนดินใหเขากับน้ํา วางไวสักครู จะพบอะไรบาง (จะ
เห็นเศษใบไม เศษหญา ซากสัตว เชน ซากมด ลอยขึ้นมา และ

156 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

อาจเห็นเศษหิน กรวด ทรายจมอยูกนภาชนะ และดินบางสวน


กระจายอยูในน้ํา)
7.6 พบอะไรในดินบาง (นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตได เชน กรวด
ทราย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว ตนไมขนาดเล็ก ไสเดือนดิน
มด แมลง น้ํา เศษกระดาษ และอากาศ)
7.7 เมื่อสังเกตตัวอยางดินของนักเรียนเปรียบเทียบกับตัวอยางดิน
ของกลุ มอื่ น นั กเรี ย นคิ ดว า ดิ น ตามที่ ตา ง ๆ มีสว นประกอบ
อะไรที่เหมือนกันบาง และรูไดอยางไร (นักเรียนตอบตามผล
การสังเกต เชน เหมือนกัน จากการเปรียบเทียบผลการสังเกต
ส วนประกอบของดิ นของกลุ มต าง ๆ มี ซากพื ช ซากสั ตว เศษหิ น
กรวด ทราย น้ํา และอากาศ แตสวนประกอบของดินบางกลุม
แตกตางกับเพื่อนไดบาง เชน อาจไมพบซากสัตว หรือบางกลุม
มีปริมาณซากพืช ซากสัตวที่นอยหรือมากกวากลุมอื่น ๆ)
8. ครู เป ดโอกาสให นั กเรี ย นตอบหรื อซั กถามในสิ่ งที่ อยากรู เ พิ่ ม เติ ม
เกี่ยวกับสวนประกอบของดิน จากนั้นรวมกันอภิปรายและลงขอสรุป
ว าดิ นแต ละแหล งประกอบด วยเศษหิ น ซากพื ช ซากสัตว น้ํ า และ
อากาศ ซึ่ งดิ นแต ละแหล งอาจมี ส วนประกอบของดิ น แต ล ะอย าง
ในปริมาณที่แตกตางกัน (S13)
ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียนวา ดินเกิดจากการผุพัง
ของหินตามธรรมชาติ ผสมคลุกเคลากับอิน ทรียวัตถุ ที่ไดจ ากการ
ยอยสลายของซากพืช ซากสัตว โดยมีน้ําและอากาศแทรกอยูตาม
ชองวางของเม็ดดิน สําหรับสิ่งมีชีวิตที่อยูในดิน เชน พืชที่ปลูกบนดิน
และไสเดือนดิน ใชดินเปนที่อยูอาศัยจึงไมไดจัดเปนสวนประกอบ
ของดิ น แต เ มื่ อ ตายและถู ก ย อ ยสลายแล ว จะถื อ ว า เป น ซากพื ช
ซากสัตวในดิน สวนเศษวัสดุ เชน ขยะตาง ๆ พลาสติกที่อาจพบได
ในดินบางแหง ไมจัดเปนสวนประกอบของดินเพราะเศษวัสดุเป น
สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
9. นักเรียนตอบคําถามในฉันรูอะไร และรวมกันอภิปรายเพื่อใหได
แนวคําตอบที่ถูกตอง
10. นักเรียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากนั้นครูใหนักเรียนอาน
สิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปของตนเอง
11. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู
เพิ่ ม เติ ม ในอยากรู อี ก ว า จากนั้ น ครู อ าจสุ ม นั ก เรี ย น 2-3 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 157
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นําเสนอคํ า ถามของตนเองหน าชั้ นเรีย น และใหนักเรีย นรวมกัน การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู


อภิปรายเกี่ยวกับคําถามที่นําเสนอ
12. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการ
เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
ทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อะไรบางในขั้นตอนใด ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า กิ จ กรรมที่
1.2 ดิน ในทองถิ่น มีลักษณะและสมบัติอยา งไร
โดยครูเตรียมการจัดกิจกรรม ดังนี้
1. ครู เ ตรี ย มดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น ดิ น ทราย
โดยการหาจากท องถิ่ นหรื อซื้ อดิ น เหล านี้
จากนั้นนําดินทั้งสามชนิดไปตากแดดใหแหง
และทุบใหละเอียด แลวรอนดวยมุงไนลอน
(ผาตาขายสีฟาที่ใชในงานกอสราง)
2. ครูเตรียมชุดทดลองการอุมน้ําของดินดังนี้
2.1 เตรี ยมขวดพลาสติ กใสขนาดประมาณ
600 มิลลิลิตร 1 ขวดตอกลุม
2.2 ตัดขวดเปน 2 สวน โดยตัดแบงตรงกลาง
ขวด
2.3 หุมปากขวด (ดานที่เปนกรวยของสวน
ที่ 1) ด ว ยผ า พั น แผลที่ ท บกั น 2 ชั้ น
เพื่อไมใหดินหลนไปขางลาง
2.4 เจาะรูบริเวณดานบนของขวดพลาสติกใส
สวนลาง เพื่อระบายอากาศ

2.5 ใสดินลงในกรวยสวนที่ 1 แลวนําไปวาง


ประกอบกับอีกสวน

158 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สังเกตและระบุสวนประกอบของดินจากแหลงตาง ๆ

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน ในดินมี


เศษหิน กรวด ทราย เศษรากไม เศษใบไม

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน
ดินแตกออกเปนเม็ด ๆ มีเม็ดทรายติดนิ้ว
ดินมีเนื้อหยาบหรือละเอียด

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน มีซากมด


ขาแมลง ซากพืช

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 159
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน พบวาใน


ถุงมีแตดิน

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน ดินมีลักษณะ


เหมือนเดิม แตที่ดานในถุงมีละอองน้ํามาเกาะเปนฝาสีขาว

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน พบวามีฟองแกส


ลอยขึ้นมา บางสวนเกาะอยูที่กอนดิน

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน พบวามีรากตนไม


ซากมด ขาแมลงลอยขึ้นมา และที่กนภาชนะมีดินและทราย

160 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ เชน เศษหิน กรวด ทราย


เศษรากตนไม เศษใบไม ซากมด ขาแมลง เม็ดทรายหรือเศษหินในดิน

น้ํา ละอองน้ําเกาะอยูที่ผิวดานในของ
ถุงพลาสติก

อากาศ
ฟองแกสลอยขึ้นมาและบางสวนเกาะอยูที่กอนดิน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 161
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

รากไม ซากแมลง เศษหิน กรวด ทราย ดิน


รากไม และซากแมลง
เศษหิน กรวด ทราย ดิน

 เมื่อสังเกตดินทุกแหลงจะพบ เศษหิน ซากพืช


ซากสัตว น้ํา และอากาศ

นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตพบ
เชน ดินอาจมีเศษหิน กรวด ทราย น้ํา อากาศ เศษรากตนไม เศษใบไม
ซากมด ขาแมลง

162 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ดินทุกแหลงมีสวนประกอบเหมือนกัน คือ เศษหิน ซากพืช ซากสัตว น้ํา


และอากาศ

คําถามของนักเรียนที่ตั้งตามความอยากรูของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 163
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสว นประกอบอะไรบาง


3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน คะแนน


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
รวมคะแนน

164 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยายรายละเอียด สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาทสัมผัส
เกี่ยวกับลักษณะดิน และ เก็บรายละเอียดขอมูล เก็บรายละเอียดขอมูล เก็บรายละเอียดขอมูล
สวนประกอบของดินใน เกี่ยวกับลักษณะดินและ เกี่ยวกับลักษณะดิน และ ลักษณะดินหรือ
ทองถิ่น สวนประกอบของดินใน สวนประกอบของดินใน สวนประกอบของดินใน
ทองถิ่นไดดวยตนเอง โดย ทองถิ่นได จากการชี้แนะ ทองถิ่นไดเพียงบางสวน
ไมเพิ่มความคิดเห็น ของครูหรือผูอื่น หรือมีการ แมวาจะไดรับคําชี้แนะจาก
เพิ่มเติมความคิดเห็น ครูหรือผูอื่น
S8 การลงความเห็ น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก
จากขอมูล ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการ
สังเกตเห็นฟองที่ลอย สังเกตเห็นฟองที่ลอย สังเกตเห็นฟองที่ลอยขึ้นมา สังเกตเห็นฟองแกสได
ขึ้นมาจากดินวา ในดินมี ขึ้นมาจากดินวา ในดินมี จากดินวา ในดินมีอากาศ ถูกตองบางสวน แมวาจะ
อากาศเปนสวนประกอบ อากาศเปนสวนประกอบ เปนสวนประกอบ จากการ ไดรับคําชี้แนะจากครูหรือ
ไดดวยตนเอง ชี้แนะของครูหรือผูอื่น ผูอื่น
S13 การ การตีความหมายขอมูล สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมายขอมูล สามารถตีความหมาย
ตีความหมายขอมูล จากการสังเกต การ ขอมูลจากการสังเกต การ จากการสังเกต การอภิปราย ขอมูลจากการสังเกต การ
และลงขอสรุป อภิปราย และลงขอสรุป อภิปราย และ และลงขอสรุปไดถูกตอง อภิปราย และ
ไดวา ดินประกอบดวย ลงขอสรุปไดถูกตองดวย จากการชี้แนะของครูหรือ ลงขอสรุปไดถูกตอง
เศษหิน ซากพืช ตนเองวา ดิน ผูอื่นวา ดินประกอบดวย บางสวน แมวาจะไดรับคํา
ซากสัตว น้ํา และอากาศ ประกอบดวยเศษหิน เศษหิน ซากพืช ซากสัตว ชี้แนะจากครูหรือผูอื่น วา
ซากพืช ซากสัตว น้ํา และ น้ํา และอากาศ ดินประกอบดวยเศษหิน
อากาศ ซากพืช ซากสัตว น้ํา และ
อากาศ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 165
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะแหง ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C4 การสื่อสาร การนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูลจาก
จากการสังเกตและ การสังเกตและการ การสังเกตและการอภิปราย การสังเกตและการอภิปราย
การอภิปรายเกี่ยวกับ อภิปรายเกี่ยวกับ เกี่ยวกับสวนประกอบของดิน เกี่ยวกับสวนประกอบของดิน
สวนประกอบของดิน สวนประกอบของดิน เพื่อใหผูอื่นเขาใจไดอยาง เพื่อใหผูอื่นเขาใจไดอยาง
ใหผูอื่นเขาใจงาย เพื่อใหผูอื่นเขาใจไดอยาง ถูกตอง และรวดเร็ว จากการ ถูกตอง แตตองใชเวลา โดย
ถูกตอง และรวดเร็วดวย ชี้แนะของครูหรือผูอื่น ตองอาศัยคําชี้แนะจากครู
ตนเอง หรือผูอื่น
C5 ความ การทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับผูอื่น
รวมมือ ผูอื่น และการแสดง และการแสดงความคิดเห็น และการแสดงความคิดเห็น และการแสดงความคิดเห็นใน
ความคิดเห็นในการ ในการสังเกตและอภิปราย ในการสังเกตและอภิปราย การสังเกตและอภิปราย
สังเกตและอภิปราย เกี่ยวกับสวนประกอบของ เกี่ยวกับสวนประกอบของดิน เกี่ยวกับสวนประกอบของดิน
เกี่ยวกับ ดิน รวมทั้งยอมรับความ รวมทั้งยอมรับความคิดเห็น ไดในบางชวงของการทํา
สวนประกอบของ คิดเห็นของผูอื่น ตั้งแต ของผูอื่น บางชวงเวลาที่ทํา กิจกรรม แตไมคอยสนใจ
ดิน รวมทั้งยอมรับ เริ่มตนจนสําเร็จ กิจกรรม ความคิดเห็นของผูอื่น
ความคิดเห็นของ
ผูอื่น

166 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

กิจกรรมที่ 1.2 ดินในทองถิ่นมีลักษณะและสมบัติอยางไร


กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตลักษณะเนื้อดิน สมบัติ
การจับตัวและการอุมน้ําของดินในทองถิ่นเปรียบเทียบกับ
ดินเหนียว ดินรวน ดินทราย เพื่อระบุชนิดของดินในทองถิ่น
เวลา 4 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
1. สังเกตและเปรียบเทียบลักษณะเนื้อดินของดินเหนี ย ว
ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่น
2. สังเกตและเปรี ย บเที ย บการจั บ ตั ว และการอุ มน้ํ า ของ
ดินเหนียว ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่น
3. ระบุชนิดของดินในทองถิ่น โดยเปรียบเทียบกับลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุมน้ําของดินเหนียว
ดินรวน และดินทราย
วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
สิ่งที่ครูตองเตรียม/กลุม
1. ชุดทดลองการอุมน้ํา 4 ชุด
2. ดินเหนียว ประมาณ 200 กรัม
3. ดินรวน ประมาณ 200 กรัม
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
4. ดินทราย ประมาณ 200 กรัม
5. ตัวอยางดินในทองถิ่น ประมาณ 200 กรัม C2 การคิดอยางมีวิจารณญาณ
6. ปากกกาเคมี 1 ดาม C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
สิ่งที่นักเรียนตองเตรียม/กลุม
1. ภาชนะใสดิน 4 ใบ
2. แกวพลาสติกใส 4 ใบ
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
3. ชอนโตะ 1 คัน 1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 49-53
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 68-77
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S4 การจําแนกประเภท
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 167
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานที่ไดเรียนผานมาในกิจกรรมที่ 1.1 เกี่ยวกับ
สวนประกอบของดิน โดยใชคําถามดังตอไปนี้ ใ น ก า ร ท บ ท ว น ค ว า ม รู พื้ นฐ าน
1.1 ดินมีสวนประกอบอะไรบาง (ดินประกอบดวย เศษหิน ซากพืช ครูควรใหเวลานักเรียนคิดอยางเหมาะสม
ซากสัตว น้ํา และอากาศ) รอคอยอย า งอดทน นั ก เรี ย นต อ งตอบ
1.2 นั ก วิ ท ยาศาสตร จํ า แนกดิ น ออกเป น กี่ ช นิ ด อะไรบ า ง คําถามเหลานี้ไดถูกต อง หากตอบไม ได
(นักวิทยาศาสตรจําแนกดินออกเปน 3 ชนิด ไดแก ดินเหนียว
หรือลืมครูตองใหความรูที่ถูกตองทันที
ดินรวน และดินทราย)
2. ครูตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของดิน โดยใช
แนวคําถามดังนี้
2.1 นักเรียนเขาใจคําวา สมบัติของดิน วาอยางไร (นักเรียนตอบ
ตามความเข า ใจของตนเอง เช น สมบั ติ ข องดิ น คื อ
ในการตรวจสอบความรูเดิม ครู
ลักษณะเฉพาะของดินแตละชนิด)
หากนั ก เรี ย นยั ง ไม ส ามารถตอบได ครู อ าจยกตั ว อย า งให เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ
นักเรี ย นสั งเกตลั กษณะเฉพาะของดิ น ทรายวา มีเนื้อหยาบ เพื่อ ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน
เชื่อมโยงไปสูคําวา “สมบัติของดิน” ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง
2.2 นักเรียนคิดวาดิน มีสมบัติอะไรบ าง (นักเรียนตอบตามความ จากการทํากิจกรรม
เขาใจของตนเอง เชน การจับตัว การอุมน้ําของดิน)
2.3 ดิ น ที่ นั ก เรี ย นเคยเห็ น มี ลั ก ษณะเนื้ อ ดิ น เป น อย า งไรบ า ง
(นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน เนื้อดินหยาบ
เนื้อดินละเอียด)
3. ครู เ ชื่ อ มโยงความรู เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเข า สู กิ จ กรรมที่ 1.1 โดยใช
คําถามดังนี้ อยากรูหรือไมวา ดินทั้ง 3 ชนิด จะมีลักษณะและสมบัติ
เหมือนและแตกตางกันอยางไรบาง เราจะเรียนรูในกิจกรรม 1.2
4. นั ก เรี ย นอ า นชื่ อ กิ จ กรรม และทํ า เป น คิ ด เป น จากนั้ น ร ว มกั น
อภิปรายเพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกั บจุดประสงคในการทํ า
กิจกรรม โดยใชคําถามดังนี้
4.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเ กี่ยวกับเรื่องอะไร (ชนิดของดิน
ในทองถิ่นตามลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุมน้ํา
ของดินวาใกลเคียงกับดินชนิดใด ระหวางดินเหนียว ดินรวน
หรือดินทราย)
4.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องนี้ดวยวิธีใด (สังเกตและเปรียบเทียบ)

168 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

4.3 เมื่อเรียนรูแลวนักเรียนจะทําอะไรได (ระบุชนิดดินในทองถิ่น)


5. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 68
6. นักเรียนอานทําอยางไร ตอนที่ 1 โดยฝกอานตามความเหมาะสม
กับ ความสามารถของนั กเรี ย น จากนั้ น ร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ สรุ ป ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
ขั้นตอนการทํากิจกรรม โดยใชคําถามตอไปนี้ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
ทําอยางไร ขอที่ 1 ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
6.1 ในขั้นตอนแรกนักเรียนตองสังเกตอะไร (สังเกตลักษณะเนื้อดิน
ตอนที่ 1
ของดินเหนียว ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่น)
S1 สังเกตลักษณะเนื้อดิน
6.2 สังเกตด วยวิธี การใด (สั งเกตโดยการดู ด วยตาเปล า การสั มผั ส
S8 ลงความเห็นวาดินในทองถิ่นควร
เนื้อดิน และใชแวนขยาย ซึ่งจะทําใหทราบขนาด สี และลักษณะ
เปนดินชนิดใดจากการเปรียบเทียบ
เนื้อดิน)
กับขอมูลที่สังเกต
6.3 สังเกตอยางไร (ถานักเรียนตอบไมไดครูควรอธิบายวาเนื้ อดิน
C4, C5 นําเสนอผลการสังเกตและ
เปนลักษณะหนึ่งของดินซึ่งสัมพันธกับขนาดของสิ่งตาง ๆ ที่อยู
อภิปรายลักษณะและสมบัติ
ในดิน ทดสอบโดยใชมือบี้ เพื่อบอกความหยาบความละเอียด
ของดิน
ของดิน)
ทําอยางไร ขอที่ 2
6.4 ขั้นตอนตอไปนักเรียนตองตักดินและน้ําใสภาชนะในปริมาณ
เทาใด (ตักดิน 2 ชอนโตะ และตักน้ํา 1 ชอนโตะ)
ในการทํากิจกรรมครูอาจใหนักเรียนตวงดินและน้ําในปริมาณที่
มากหรือนอยกวาที่กําหนดใหได แตควรใชอัตราสวนของดินตอน้ํา
เปน ดิน 2 สวน น้ํา 1 สวน
6.5 ถานักเรียนนําดินมาปนนักเรียนจะสังเกตลักษณะอะไรของดิน
(การจับตัวของดิน ถานักเรียนตอบไมไดครูควรอธิบายวาการ
จั บ ตั ว ของดิ น คื อ การเกาะกั น ของเม็ ด ดิ น หรื อการที่ เ นื้อดิน
สามารถรวมตัวกันเปนกอนไดมากนอยเพียงใด)
ทําอยางไร ขอที่ 3-4
6.6 แตละกลุมตองอภิปรายเปรียบเทียบอะไรบาง (ลักษณะเนื้อดิน
และสมบัติการจับตัวของดินเหนียว ดินรวน ดินทราย และดิน
ในทองถิ่น)
6.7 บันทึกผลการอภิปรายอยางไร (บันทึกผลโดยการเรียงลําดับดิน
ที่มีเนื้อดินละเอียดที่สุดไปจนถึงเนื้อดินหยาบที่สุด และดินที่
จับตัวไดดีที่สุด ไปจนถึงดินที่จับตัวไดนอยที่สุด ตามลําดับ)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 169
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

6.8 นักเรียนสามารถลงความเห็นวาดินในทองถิ่นเปนดินชนิดใดได
อยางไร (เปรียบเทียบลักษณะและสมบัติของดินในทองถิ่นกับ
ดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น และดิ น ทราย ว า มี ลั ก ษณะและสมบั ติ
ใกลเคียงกับดินชนิดใดมากที่สุด)
7. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไร ตอนที่ 1 แลว
ครูแจกวัสดุอุปกรณ และใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน
8. หลังจากทํากิจกรรม ตอนที่ 1 แลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม
โดยใชคําถามดังนี้
8.1 ลั กษณะเนื้ อดิ น ของดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น ดิ น ทราย และดิ น ใน
ทองถิ่นที่สังเกตพบมีลักษณะอยางไร (คําตอบขึ้นอยูกับผลการ ถานักเรียนอาจไมสามารถตอบ
ทํากิจกรรม เชน ดินเหนียวเปนดินที่มีเม็ดเล็กละเอียดจับแลว คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
รูสึกนุมมือ ดินรวนเปนดินที่มีเม็ดคอนขางเล็กละเอียดจับแลว คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
รูสึกนุมมือ บางครั้งสากมือเล็กนอย ดินทรายเปนดินที่มีเม็ด
อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
คอนขางหยาบจับแลวสากมือ และดินในทองถิ่น เมื่อจับแลว
แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
รูสึกนุมมือ)
8.2 ดินเหนียว ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่นที่นักเรียนนํามา นักเรียน
สามารถปนใหเปนกอนไดหรือไม เมื่อปนแลวมีลักษณะอยางไร
(คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม เชน ดินเหนียวจะปนเปน
กอนไดแลวไมแตกออก ดินรวนจะปนเปนกอนแลวแตกออก
บางส ว น ส ว นดิ น ทรายป น เป น ก อนไม ได ส ว นดิน ในทองถิ่น
อาจจะปนเปนกอนไดหรือปนเปนกอนไมได)
8.3 ดิ น แต ล ะชนิ ด จั บ ตั ว ได เ หมื อนกั น หรื อไม เพราะเหตุใด (ดิน
แต ล ะชนิ ด จั บ ตั ว ได ไ ม เ หมื อ นกั น เมื่ อ สั ง เกตจากดิ น เหนีย ว
สามารถปนเปนกอนได โดยไมแตกออกแสดงวาดินนั้น จับ ตัว
ไดดี ดินรวนปนเปนก อนไดแตแตกออกบางสว นแสดงว า ดิน
จั บ ตั ว กั น ได บ างส ว น ดิ น ทรายป น เป น ก อนไมไดแสดงวาดิน
จับตัวไดไมดี สวนดินในทองถิ่นอาจมีสมบัติการจับตัวตรงกั บ
ดินเหนียว ดินรวน หรือดินทราย ชนิดใดชนิดหนึ่ง)
9. ครู เป ดโอกาสให นั กเรี ย นตอบหรื อซั กถามในสิ่ งที่ อยากรู เ พิ่ ม เติ ม
เกี่ยวกับลักษณะเนื้อดินและสมบัติการจับตัวของดิน จากนั้นรวมกัน
อภิปรายและลงข อสรุ ปวา ดินในทองถิ่นอาจมีลั กษณะเนื้ อดิ นและ
สมบัติการจับตัวของดินคลายกับดินเหนียว ดินรวน หรือดินทรายก็ได

170 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ขึ้นอยูกับลักษณะเนื้อดินและการจับตัวของดินในทองถิ่นวาคลายกับ
ดินชนิดใด (S13)
10. นักเรี ย นตอบคํ า ถาม ฉั น รู อ ะไร ตอนที่ 1 และร ว มกั น อภิ ป ราย
เพื่อใหไดแนวคําตอบที่ถูกตอง
11. ครูทบทวนความรูพื้นฐานที่เรียนผานมาแลวในกิจกรรมที่ 1.2 ตอนที่
1 เกี่ยวกับลักษณะเนื้อดินและสมบัติการจับตัวของดิน โดยใชคําถาม
ดังนี้
11.1 ดินเหนียว ดินรวน และดินทรายมีลักษณะเนื้อดินเหมือนหรือ ในการทบทวนความรูพื้นฐาน คุณครู
แตกตางกัน อยางไร (ดินทั้ง 3 ชนิดมีลักษณะเนื้อดินแตกตาง ควรใหเวลานักเรียนคิดอยางเหมาะสม
กัน โดยดินเหนียวเปนดินที่มีเม็ดเล็กละเอียดจับแลวรูสึกนุมมือ รอคอยอย า งอดทน นั ก เรี ย นต อ งตอบ
ดินรวนเปนดินที่มีเม็ดคอนขางเล็กละเอียดจับแลวรูสึกนุมมื อ
คําถามเหลานี้ไดถูกตอง หากตอบไม ได
บางครั้งสากมือเล็กนอย ดินทรายเปนดินที่มีเม็ดคอนขางหยาบ
หรือลืมครูตองใหความรูที่ถูกตองทันที
จั บ แล ว สากมื อ และดิ น ในท อ งถิ่ น ที่ ก ลุ ม ของนั ก เรี ย นนํ า มา
ขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม เชน เมื่อจับแลวรูสึกนุมมือ)
11.2 ดินเหนียว ดินรวน และดินทรายมีสมบัติการจับตัวเหมือนหรือ
แตกตางกัน อยางไร (ดินทั้ง 3 ชนิดมีสมบัติการจับตัวแตกตาง
กัน โดยดินเหนียวจะปนเปนกอนไดแลวไมแตกออก ดินรวนจะ
ปนเปนกอนแลวแตกออกบางสวน สวนดินทรายปนเปนกอน
ไม ได ส ว นดิ น ในท องถิ่ นอาจจะป น เป นก อนไดหรือไมไดก็ได
ขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม)
12. ครูเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนเขาสูกิจกรรมที่ 1.2 ตอนที่ 2
โดยใชคําถามวาเรารูมาแลววาดินในทองถิ่นมีลักษณะเนื้อดินและ
สมบัติการจับตัวคลายกับดินชนิดใด นักเรียนคิดวาดินในทองถิ่นจะมี
สมบัติการอุมน้ําคลายกับดินชนิดใด
13. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 71 จากนั้น
ครูนําชุดทดลองการอุมน้ําของดิน มาใหนักเรียนสังเกต 1 ชุด พรอมที่
ครูอธิ บายว าชุ ดทดลองการอุ มน้ํ าของดิ นประกอบด วย 2 ส วน คื อ ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
1) ขวดพลาสติกใสสวนบน มีลักษณะคลายกรวย
2) ขวดพลาสติกใสสวนลาง เปนภาชนะรองรับน้ํา
บริ เ วณขวดพลาสติ ก ใสส ว นล า ง
มี ก ารเจาะรู บ ริ เ วณส ว นบน เพื่ อ ช ว ยใน
การระบายอากาศและใหน้ําไหลได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 171
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

14. นักเรียนอานทําอยางไร ตอนที่ 2 ทีละขอ โดยฝกอานตามความ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ


เหมาะสม จากนั้นรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปขั้นตอนการทํากิจกรรม ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
โดยใชคําถามตอไปนี้ ที่นักเรียนจะไดฝกจากการทํากิจกรรม
14.1 ในตอนที่ 2 เมื่ อ นั ก เรี ย นได ชุ ด ทดลองการอุ ม น้ํ า ของดิ น
นักเรียนตองทําอะไร (ตักดินเหนียว ดินรวน และดินทรายใส ตอนที่ 2
ชุดทดลองการอุมน้ําของดินแตละชุด ประมาณครึ่งหนึ่งของ S1 สังเกตชุดทดลองการอุมน้ําและ
ขวดพลาสติกใสสวนบน) ปริมาณที่ไหลผานดินแตละชนิด
14.2 นักเรียนตองตวงน้ําสําหรับรินลงในชุดทดลองการอุมน้ําของ S4 จําแนกชนิดของดินในทองถิ่น
ดินอยางไร (รินน้ําใสแกวพลาสติกในปริมาณครึ่งแกวเทา ๆ S8 ลงความเห็นวาดินในทองถิ่นควร
กัน และตองขีดเสนบอกระดับน้ําไวที่แกวพลาสติ กใสสํ าหรั บ เปนดินชนิดใดจากการเปรียบเทียบ
ตวงน้ํา) กับขอมูลที่สังเกต
14.3 ก อนนั กเรี ย นจะริ น น้ํ า ลงในดิ น นั กเรี ย นตองทําอะไรกอน C4, C5 นําเสนอผลการสังเกตและ
(ชวยกันคิดวาจะเกิ ดอะไรขึ้น เมื่อรินน้ําลงในชุดทดลองการ อภิปรายลักษณะและสมบัติ
อุมน้ําของดินแตละชุด) ของดิน
14.4 นักเรียนตองรินน้ําลงบนดินที่อยูในชุดทดลองการอุมน้ําของ
ดินอยางไร (ตองรินน้ําชา ๆ ลงตรงกลางดินที่บรรจุในขวด ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
พลาสติกใสสวนบนจนหมด)
14.5 นักเรียนจะบันทึกปริมาณของน้ําที่ไหลผานดินเมื่อใด (เมื่อ 1. ปริ ม าณน้ํ า ที่ ใ ส ล งในภาชนะ
สวนบนหลังจากใสดินลงไปแลวตองไมลน
น้ําหยุดไหลจากขวดพลาสติกใสสวนบนของชุดทดลองการ
ออกจากภาชนะสวนบน
อุมน้ําของดินทั้ง 3 ชุด) 2. ระหวางที่รอผลการทํากิจกรรม ครู
14.6 ในกิจกรรมนี้นักเรียนจะเปรียบเทียบปริมาณน้ํากอนริน น้ํา อาจอภิ ป รายกั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ คํ า ว า
ลงบนดินและหลังจากที่น้ําผานดินลงมาไดอยางไร (ทําไดโดย “การอุ ม น้ํ า ” ว า การอุ ม น้ํ า เป น อย า งไร
เปรียบเทียบความสูงของระดับน้ํา โดยเทน้ําที่ไหลผานดินลงไป นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง
ในแกวใบเดิมทีม่ ีเสนบอกระดับน้ําไว) หากนั ก เรี ย นตอบไม ไ ด ค รู อ าจเชื่ อ มโยง
คํ า ว า “อุ ม ” กั บ ชี วิ ต ประจํ า วั น ของ
14.7 เมื่อทดลองการอุมน้ําของดินทั้ง 3 ชนิดแลวตองทําอะไรตอ
นักเรียน โดยการสาธิต เชน ใหนักเรี ย น
อยางไร (ทดลองการอุมน้ําของดินในทองถิ่น โดยทําวิธีการ
2-3 คน ออกมาสาธิ ต การอุ ม วั ต ถุ ใ น
เดียวกับการทดลองการอุมน้ําของดินทั้ง 3 ชนิด) ปริมาณที่แตกตางกัน หรือถามนักเรียนวา
15. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไร ตอนที่ 2 แลว “อุ ม ” ทํ า อย า งไร อาจให นั ก เรี ย นหา
ครูแจกวัสดุอุปกรณ และใหนักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน คําตอบจากการเลนเกม โดยเด็ก 2-3 คน
16. หลังจากทํากิจกรรม ตอนที่ 2 แลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม อุมวัตถุปริมาณที่แตกต างกันแลวถามว า
โดยใชคําถามดังนี้ ใครอุมวัตถุนั้น ๆ ไดมากหรือนอยกวากัน

172 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

16.1 ปริมาณน้ําที่รินลงดินในชุดทดลองการอุมน้ําของดินทั้ง 4 ชุด


เทากันหรือไม (เทากัน)
16.2 เมื่ อเริ่ มริ นน้ํ าลงดิ นในชุ ดทดลองการอุ มน้ํ าของดิ น น้ําอยู
บริ เวณใด (นั กเรี ยนตอบตามที่ สั งเกต เช น น้ํ าอยู บริ เวณ
ถานักเรียนอาจไมสามารถตอบ
ดานบนดิน และมีบางสวนไหลซึมลงดิน)
16.3 เมื่อเวลาผานไป น้ําที่รินลงดินในชุดทดลองการอุมน้ําของดิน คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
แตละชุดยังอยูบริเวณเดิมทั้งหมดหรือไม อยางไร (นักเรียน คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
ตอบตามที่สังเกต เชน น้ําที่รินลงดินในชุดทดลองการอุมน้ํา อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
ของดินทั้ง 3 ชนิดไมไดอยูบริเวณเดิมทั้งหมด โดยน้ําบางสวน แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
ซึมลงไปในดินและบางสวนไหลผานดินออกไป) นักเรียน
16.4 ปริมาณน้ําที่ไหลผานดินแตละชนิดเทากันหรือไม อยางไร
(ไม เ ท า กั น โดยดิ น เหนี ย วจะมี ป ริ ม าณน้ํ า ที่ ไ หลผ า นดิ น
น อ ยมาก ดิ น ร ว นจะมี ป ริ ม าณน้ํ า ที่ ไ หลผ า นดิ น มากกว า
ดินเหนียว แตนอยกวาดินทราย และดินทรายมีปริมาณน้ําที่
ไหลผานดินมากที่สุด)
16.5 ปริ มาณน้ํ าที่ ไหลผ านดิ น ของดิ นทั้ ง 3 ชนิ ด ดิ นชนิ ด ใดมี
ปริมาณมากที่สุด เพราะเหตุใด (คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํา
กิจกรรม เชน นักเรียนอาจตอบวาดินทราย เพราะดินทรายมี
ขนาดเม็ดดินใหญ ไมจับตัวกัน ซึ่งมีชองวางใหน้ําผานลงไปได
เปนปริมาณมากกวาดินรวนและดินเหนียว ซึ่งมีขนาดเม็ดดิน
เล็กกวา และมีการจับตัวของดินดีกวา)
16.6 ปริมาณน้ํากอนรินลงในดิน และปริมาณน้ําที่ผานดินแตละ
ชนิดลงมาแตกตางกันหรือไม อยางไร (แตกตางกัน โดยน้ํา
ที่ผานดินแตละชนิดลงมามีปริมาณลดลง)
16.7 นักเรียนคิดวาน้ําหายไปไหน (อยูในดิน)
16.8 การที่น้ําหายไปอยูในดิน เราเรียกวาอะไร (การอุมน้ําของดิน)
16.9 หากกลาววาดินนี้มีความสามารถในการอุมน้ําไดมากแสดงวา
ดิ นนี้ สามารถเก็ บน้ํ าไว ในดิ นได มากหรื อน อย (ดิ นเก็ บน้ํ า
เขาไปอยูในดินไดมาก)
16.10 นักเรียนจะรูไดอยางไรวาดินชนิดใดอุมน้ําไดดีที่สุด (สังเกต
ว า ดิ น ชนิ ด ใดที่ ป ริ ม าณน้ํ า ไหลผ า นลงมาน อ ยที่ สุ ด หรื อ
ปริมาณน้ําถูกกักเก็บเขาไปอยูในดินมากที่สุดแสดงว าดิ น
อุมน้ําไดดีที่สุด)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 173
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

16.11 ดิ น ในท อ งถิ่ น มี ส มบั ติ ก ารอุ ม น้ํ า ใกล เ คี ย งกั บ ดิ น ชนิ ด ใด


(คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม)
16.12 นั กเรี ย นคิ ดว า ดิ น ในท องถิ่ น ของนั ก เรี ย นเป น ดิน ชนิ ด ใด
เพราะเหตุ ใด (คํ า ตอบขึ้ น อยู กับ ผลการทํ ากิ จ กรรม โดย
นักเรียนเปรียบเทียบสมบัติการอุมน้ําของดินในทองถิ่นกับ
ดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น และดิ น ทราย ว า มี ส มบั ติ ก ารอุ ม น้ํ า
ใกลเคียงกับดินชนิดใดมากที่สุด)
17. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมบัติ
การอุมน้ําของดิน จากนั้นรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวา ดินใน
ท อ งถิ่ น อาจมี ส มบั ติ ก ารอุ ม น้ํ า คล า ยดิ น เหนี ย ว ดิ น ร ว น หรื อ
ดินทรายก็ได ซึ่งขึ้นอยูกับการอุมน้ําของดินในทองถิ่นวาคลายกั บ
ดินชนิดใด (S13)
18. นักเรี ย นตอบคํ า ถาม ฉั น รู อ ะไร ตอนที่ 2 และร ว มกั น อภิ ป ราย
เพื่อใหไดแนวคําตอบที่ถูกตอง
19. นักเรียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากนั้นครูใหนักเรียนอาน
สิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปของตนเอง
20. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู
เพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอ
คําถามของตนเองหน าชั้นเรียน และใหนักเรียนรวมกัน อภิ ป ราย
เกี่ยวกับคําถามที่นําเสนอ
21. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อะไรบางในขั้นตอนใด
22. นักเรียนรวมกันสังเกตรูปและอาน เกร็ดนารู ในหนังสือเรียน หนา
53 แลวตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดยอาจใชคําถามว า
จากรูปดินแตละชนิดมีตะกอนขนาดใดบาง และจะเรียงลําดับขนาด
ตะกอนที่มีขนาดเล็กที่สุดไปยังขนาดใหญที่สุดไดอยางไร (ตะกอน
ขนาดดินเหนียว ตะกอนขนาดทรายแปง และตะกอนขนาดทราย
ตามลําดับ)
23. นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หนา 54 ครู
นํ า อภิ ป รายเพื่ อ นํ า ไปสู ข อ สรุ ป เกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ ไ ด เ รี ย นรู ใ นเรื่ อ งนี้
จากนั้นครูกระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเนื้อเรื่อง
ซึ่งเปนคําถามเพื่ อเชื่อมโยงไปสูการเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังนี้
“ดินในแตละทองถิ่นมีปริมาณเศษหิน ซากพืช ซากสัตว น้ํา และ

174 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

อากาศเท า กั น หรื อ ไม และจะมี ผ ลต อ การนํ า ดิ น ไปใชป ระโยชน


อยางไร” นักเรียนสามารถตอบคําถามตามความเขาใจของตนเอง การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
ซึ่งจะสามารถหาคําตอบไดจากการเรียนในเรื่องตอไป เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดเรียน
เรื่องที่ 2 ประโยชนของดิน ครูอาจเตรียม
ภาพหรือวัตถุที่ทํามาจากดินหรือมีการใช
ประโยชนจากดินมาใหนักเรียนดู

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 175
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

สังเกตและเปรียบเทียบลักษณะของเนื้อดินและการจับตัวของดินเหนียว
ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่น
ระบุชนิดดินในทองถิ่น โดยใชลักษณะเนื้อดิน และสมบัติการจับตัวเปนเกณฑ

 

176 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา


 


นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกต

หมายเหตุ ลักษณะเนื้อดินของดินในทองถิ่นขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม ซึ่งเปนไปตามตัวอยางดิน


ที่เก็บมา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 177
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา


นักเรียนตอบตามสิ่งที่สังเกตได

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน ดินเหนียว ดินในทองถิ่น ดินรวน


และดินทราย

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน ดินเหนียว ดินในทองถิ่น ดินรวน


และดินทราย

นักเรียนตอบตาม
ผลการทํากิจกรรม เชน ดินในทองถิ่นมีลักษณะและสมบัติคลายดินเหนียว

178 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

สังเกตและเปรียบเทียบสมบัติการอุมน้ําของดินเหนียว ดินรวน ดินทรายและ


ดินในทองถิ่น
ระบุชนิดดินในทองถิ่น โดยใชสมบัติการอุมน้ําของดินเปนเกณฑ

นักเรียนตอบตามความเขาใจ
ของตนเอง เชน
ดินรวน ดินทราย

ดินเหนียว ดินรวน

ดินทราย ดินเหนียว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 179
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ดินเหนียว
ดินรวน และดินทราย ตามลําดับ
ดินเหนียว
ดินรวน
ดินทราย

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม
มีลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุมน้ําใกลเคียงกับดินเหนียว เชน ดินเหนียว

180 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

คําตอบขึ้นกับผลการทํากิจกรรมของนักเรียน เชน นักเรียนอาจตอบวาดิน


ในทองถิ่นหรือดินเหนียวจับตัวไดดีที่สุด เพราะสามารถปนใหเปนกอนได
แตดินชนิดอื่นไมสามารถปนเปนกอนได หรือปนไดแตแตกออกบางสวน

ลักษณะเนื้อดินของดินแตละชนิดมีผลตอสมบัติการจับตัวของดิน
โดยดินที่มีเนื้อละเอียดจะจับตัวกันไดดีกวาดินที่มีเนื้อหยาบ

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน ดินในทองถิ่นที่นํามามีสมบัติ


การจับตัวดี จึงลงความเห็นวาเปนดินเหนียว เพราะมีเนื้อดินละเอียดซึ่ง
จับตัวกันไดดี ปนเปนกอนไดเชนเดียวกับดินเหนียว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 181
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม เชน ดินเหนียว เนื้อดินละเอียด จับตัวกัน


ดี ที่สุด สามารถนํ ามาป นเป นก อนได โดยไมแตกออก ดินรวน จับแล วนุ มมื อ
จับตัวกันไดดีบางสวนซึ่งสามารถนํามาปนเปนกอนไดแตมีแตกออกบางสวน
ดินทราย เนื้อดินหยาบ จับแลวสากมือ จับตัวกันไดนอยมาก ซึ่งไมสามารถ
นํามาปนเปนกอนได สวนดินในทองถิ่น เนื้อดินละเอียดจับตัวกันไดดีปนเปน
กอนไดไมแตกออกเชนเดียวกับดินเหนียว

182 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน ปริมาณน้ําที่ไหลผานดินเหนียว


ดินรวน ดินทราย และดินในทองถิ่นแตกตางกัน โดยปริมาณน้ําที่ไหลผานดิน
จากมากไปนอย คือ ดินทราย ดินรวน ดินในทองถิ่น และดินเหนียว ตามลําดับ
(หมายเหตุ: ผลการเรียงลําดับปริมาณน้ําที่ไหลผานดินของดินในทองถิ่นขึน้ อยูกับผลการทํากิจกรรม)

ดินแตละชนิดมีการอุมน้ํา รูไดจากปริมาณน้ําที่ไหลผานดินออกมานอยกวา
ปริมาณน้ํากอนเทลงดิน โดยน้ําที่หายไปจะเขาไปแทรกอยูในเนื้อดินโดยดิน
อุมน้ําไว

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน เรียงลําดับการอุมน้ําของดินจากมากที่สุด


ไปนอยที่สุด คือ ดินเหนียว ดินในทองถิ่น ดินรวน และดินทราย
(หมายเหตุ: ผลการเรียงลําดับการอุมน้ําของดินในทองถิน่ ขึน้ อยูกบั ผลการทํากิจกรรม)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 183
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน ดินในทองถิ่นที่นํามามีสมบัติ


การอุมน้ําดีคลายดินเหนียว จึงลงความเห็นวาเปนดินเหนียว
เพราะปริมาณน้ําที่ไหลผานดินใกลเคียงกับดินเหนียวมากที่สุด

คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม เชน ดินเหนียวอุมน้ําไดดี ดินรวน


อุมน้ําไดดีปานกลาง ดินทรายอุมน้ําไมดีหรือไมอุมน้ํา และดินในทองถิ่น
อุมน้ําไดดีคลายดินเหนียว

ดินมีลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุมน้ําของดินแตกตางกัน ซึ่ง


เราสามารถระบุชนิดของดินไดจากลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและ
การอุมน้ําของดินเปนเกณฑ และจากเกณฑดังกลาวทําใหทราบวาดินใน
ทองถิ่นเปนดินเหนียว
หมายเหตุ ขอสรุปลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุมน้ําของดิน
ในทองถิ่นขึ้นกับผลการทํากิจกรรมและนักเรียนอาจเก็บตัวอยางดินมาจาก
บริเวณที่แตกตางกัน

184 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

คําถามที่นักเรียนตั้งตามความอยากรูของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 185
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 1.2 ดินในทองถิ่นมีลักษณะและสมบัติอยางไร


ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน คะแนน


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S1 การสังเกต
S4 การจําแนกประเภท
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C2 การคิดอยางมีวิจารณญาณ
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
รวมคะแนน

186 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาท
รายละเอียดเกี่ยวกับ เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับ เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับ สัมผัสเก็บรายละเอียด
ลักษณะเนื้อดิน สมบัติ ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการ ลักษณะเนื้อดิน สมบัติ เกี่ยวกับลักษณะเนื้อดิน
การจับตัวและการอุมน้ํา จับตัวและการอุมน้ําของ การจับตัวและการอุมน้ํา สมบัติการจับตัวและการ
ของดิน ดินไดดวยตนเอง โดยไม ของดินได จากการชี้แนะ อุมน้ําของดินไดเพียง
เพิ่มความคิดเห็น ของครูหรือผูอื่น โดยไม บางสวน แมวาจะมีการ
เพิ่มความคิดเห็น ชี้แนะของครูหรือผูอื่น
โดยไมเพิ่มความคิดเห็น
S4 การจําแนกประเภท การจําแนกชนิดของ สามารถจําแนกชนิดของ สามารถจําแนกชนิดของ สามารถจําแนกชนิดของ
ดินในทองถิ่น จากการ ดินในทองถิ่น จากการ ดินในทองถิ่น จากการ ดินในทองถิ่น จากการ
เปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับลักษณะ เปรียบเทียบกับลักษณะ เปรียบเทียบกับลักษณะ
ลักษณะเนื้อดิน เนื้อดิน สมบัติการจับตัว เนื้อดิน สมบัติการจับตัว เนื้อดิน สมบัติการจับตัว
สมบัติการจับตัวและ และการอุมน้ําของ และการอุมน้ําของ และการอุมน้ําของ
การอุมน้ําของ ดินเหนียว ดินรวน และ ดินเหนียว ดินรวน และ ดินเหนียว ดินรวน และ
ดินเหนียว ดินรวน ดินทรายเปนเกณฑ ได ดินทรายเปนเกณฑ ได ดินทรายเปนเกณฑ ได
และดินทรายเปน ดวยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ เพียงบางสวน แมวาจะ
เกณฑ ผูอื่น ไดรับคําชี้แนะจากครู
หรือผูอื่น
S8 การลงความเห็น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก
จากขอมูล ขอมูลวาดินในทองถิ่น ขอมูลไดวาดินในทองถิ่น ขอมูลไดวาดินในทองถิ่น ขอมูลไดวาดินในทองถิ่น
ควรเปนดินชนิดใด ควรเปนดินชนิดใด โดยใช ควรเปนดินชนิดใด โดยใช ควรเปนดินชนิดใด แต
โดยใชเหตุผลและ เหตุผลและขอมูลที่ไดจาก ขอมูลที่ไดจากการ ไมไดใชขอมูลและไม
ขอมูลที่ไดจากการ การรวบรวมขอมูลดวย รวบรวมโดยวิธีการตาง ๆ สามารถบอกเหตุผลได
รวบรวม วิธีการตาง ๆ ไดดวย และบอกเหตุผลได จาก แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
ตนเอง การชี้แนะของครูหรือผูอื่น จากครูหรือผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 187
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S13 การตีความหมาย การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
ขอมูลและลงขอสรุป ขอมูลจากการสังเกต ขอมูลจากการสังเกต และ ขอมูลจากการสังเกต และ ขอมูลจากการสังเกต
และนําขอมูลที่ไดมา นําขอมูลที่ไดมากําหนด นําขอมูลที่ไดมากําหนด และนําขอมูลที่ไดมา
กําหนดเกณฑ ในการ เกณฑ และจําแนกชนิด เกณฑ และจําแนกชนิด กําหนดเกณฑ และ
จําแนกชนิดของดิน ของดินตามเกณฑที่ ของดินตามเกณฑที่ จําแนกชนิดของดินตาม
และลงขอสรุปไดวา กําหนดได และลงขอสรุป กําหนดได และลงขอสรุป เกณฑที่กําหนดได
ดินในทองถิ่นเปนดิน ไดถูกตองดวยตนเองวาดิน ไดถูกตอง จากการชี้แนะ บางสวน และลงขอสรุป
ชนิดใดตองพิจารณา ในทองถิ่นเปนดินชนิดใด ของครูหรือผูอื่นวาดินใน ไดอยางไมสมบูรณวาดิน
ความเหมือนหรือ ตองพิจารณาความเหมือน ทองถิ่นเปนดินชนิดใดตอง ในทองถิ่นเปนดินชนิดใด
ความแตกตางของ หรือความแตกตางของ พิจารณาความเหมือนหรือ ตองพิจารณาความ
ลักษณะเนื้อดิน ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการ ความแตกตางของ เหมือนหรือความ
สมบัติการจับตัวและ จับตัวและการอุมน้ําของ ลักษณะเนื้อดิน สมบัติ แตกตางของลักษณะ
การอุมน้ําของดินใน ดินในทองถิ่นกับดินเหนียว การจับตัวและการอุมน้ํา เนื้อดิน สมบัติการจับตัว
ทองถิ่นกับดินเหนียว ดินรวน และดินทราย ของดินในทองถิ่นกับ และการอุมน้ําของดินใน
ดินรวน และดินทราย ดินเหนียว ดินรวน และ ทองถิ่นกับดินเหนียว
ดินทราย ดินรวน และดินทราย
แมวาจะไดรับคําชี้แนะ
จากครูหรือผูอื่น

188 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C2 การคิดอยางมี การวิเคราะหและ สามารถวิเคราะหและ สามารถวิเคราะหและ สามารถวิเคราะหและ
วิจารณญาณ ประเมินวาดินในทองถิ่น ประเมินวาดินในทองถิ่น ประเมินวาดินในทองถิ่น ประเมินวาดินในทองถิ่น
ควรเปนดินชนิดใดได ควรเปนดินชนิดใดได ควรเปนดินชนิดใดได ควรเปนดินชนิดใดได
ถูกตองดวยตนเอง ถูกตอง จากการชี้แนะ ถูกตองบางสวน แมวาจะ
ของครูหรือผูอื่น ไดรับการชี้แนะของครู
หรือผูอื่น
C4 การสื่อสาร การนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล
การสังเกตและรวบรวม จากการสังเกตและที่ จากการสังเกตและที่ จากการสังเกตและที่
ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ รวบรวมได เกี่ยวกับ รวบรวมไดเกี่ยวกับ รวบรวมไดเกี่ยวกับ
สมบัติการจับตัวและการ ลักษณะ สมบัติการจับตัว ลักษณะ สมบัติการจับตัว ลักษณะ สมบัติการจับตัว
อุมน้ําของดิน และการ และการอุมน้ําของดิน และการอุมน้ําของดิน และการอุมน้ําของดิน
อภิปรายเพื่อลงความเห็น และการอภิปรายเพื่อ และการอภิปรายเพื่อ และการอภิปรายเพื่อ
ชนิดของดินในทองถิ่น ลงความเห็นชนิดของดิน ลงความเห็นชนิดของดิน ลงความเห็นชนิดของดิน
ในทองถิน่ เพื่อใหผูอื่น ในทองถิ่น เพื่อใหผูอื่น ในทองถิ่น เพื่อใหผูอื่น
เขาใจไดดวยตนแอง เขาใจได จากการชี้แนะ เขาใจไดเพียงบางสวน
ของครูหรือผูอื่น แมวาจะไดรับการชี้แนะ
ของครูหรือผูอื่น
C5 ความรวมมือ การทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ
ในการรวบรวมขอมูล ผูอื่นในการรวบรวมขอมูล ผูอื่นในการรวบรวมขอมูล ผูอื่นในการรวบรวมขอมูล
และแสดงความคิดเห็น และแสดงความคิดเห็น และแสดงความคิดเห็น และแสดงความคิดเห็น
และอภิปรายเพื่อระบุวา และอภิปรายเพื่อระบุวา และอภิปรายเพื่อระบุวา และอภิปรายเพื่อระบุวา
ดินในทองถิ่นเปนดิน ดินในทองถิ่นเปนดิน ดินในทองถิ่นเปนดิน ดินในทองถิ่นเปนดิน
ชนิดใด รวมทั้งยอมรับ ชนิดใด รวมทั้งยอมรับ ชนิดใด รวมทั้งยอมรับ ชนิดใด รวมทั้งยอมรับ
ความคิดเห็นของผูอื่น ความคิดเห็นของผูอื่น ความคิดเห็นของผูอื่น ความคิดเห็นของผูอื่น
ตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จ ตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จ บางชวงเวลาที่ทํา
ลุลวงดวยตนเอง ลุลวงจากการชี้แนะจาก กิจกรรม ทั้งนี้ตองอาศัย
ครูหรือผูอื่น การกระตุนจากครูหรือ
ผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 189
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

เรื่องที่ 2 ประโยชนของดิน
ในเรื่ อ งนี้ นั ก เรี ย นจะได เ รี ย นรู เ กี่ ย วกั บ การใช
ประโยชนจากดินในทองถิ่นและการใชประโยชนจากดิน
โดยทั่วไป

จุดประสงคการเรียนรู
รวบรวมขอมูลและนําเสนอประโยชนของดิน

เวลา 3 ชั่วโมง

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
-
สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 55-60
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 78-82
3. วีดิทัศน เรื่อง ประโยชนของดิน
https://www.youtube.com/watch?v=JOjokPd7NYA

190 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการจัดการเรียนรู (60 นาที)


ขั้นตรวจสอบความรู (10 นาที)
1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับดิน ในเรื่องที่ 1 โดยใชคําถาม ในการทบทวนความรูพื้นฐาน
ดังนี้
ครู ควรใหเวลานักเรีย นคิด อยาง
1.1 ดิ น แต ล ะชนิ ด มี ลั ก ษณะเนื้ อ ดิ น สมบั ติ ก ารจั บ ตั ว และการ
เหมาะสม รอคอยอย า งอดทน
อุมน้ําอยางไรบาง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง)
1.2 เราจะรูวาดินในทองถิ่นเปนดินชนิดใดไดอยางไร (นักเรียน นักเรีย นตองตอบคําถามเหลานี้
ตอบตามความเข า ใจของตนเอง เช น เราอาจนํ า ดิ น มา ไดถูกตอง หากตอบไมไดหรือลืม
ตรวจสอบลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุมน้ําของ ครูตองใหความรูที่ถูกตองทันที
ดินเปรียบเทียบกับดินเหนียว ดินรวน และดินทราย)
2. ครูตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับประโยชนของดิน โดยครูอาจเตรียม
รู ป การใช ป ระโยชน จ ากดิ น ให นั ก เรี ย นสั ง เกต เช น ปลู ก พื ช
ยอมผา กักเก็บน้ํา บานดิน เครื่องปนดินเผา จากนั้นนําอภิปรายโดย
ใชคําถามดังนี้
2.1. จากรูป นักเรียนคิดวารูปใดเปนการนําดินมาใชประโยชนบาง ในการตรวจสอบความรู เ ดิ ม
อยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน ดิน ครูเพีย งรับ ฟงเหตุผ ลของนัก เรี ย น
นํามาใชปลูกพืช) และยั ง ไม เ ฉลยคํ า ตอบใด ๆ แต
2.2. ดิ น ในแต ล ะท องถิ่ น นํ า มาใชป ระโยชน ได เ หมื อนกั น หรื อ ไม ชักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบดวย
อยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน ดิน ตนเองจากการอานเนื้อเรื่อง
แตละทองถิ่นนํามาใชประโยชนไดแตกตางกัน บางทองถิ่นใช
ดินปลูกพืช บางทองถิ่นใชดินทําเครื่องปนดินเผา บางทองถิ่น
ใชดินในการกอสราง)

ขั้นฝกทักษะจากการอาน (35 นาที)

3. นักเรียนอานชื่อเรื่อง และคําถามในคิดกอนอาน ในหนังสือเรียน


หนา 55 แลวรวมกันอภิปรายเพื่อหาคําตอบและนําเสนอ ครูบันทึก
คําตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใชเปรียบเทียบกับคําตอบหลัง
การอานเรื่อง
4. นักเรียนอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หนา 55 โดยครูฝกทักษะการ
อานตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูใช
คําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดยใชคําถามดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 191
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ยอหนาที่ 1
4.1 มนุษยถ้ําคือใคร (คือคนที่อาศัยอยูในถ้ํา)
ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
4.2 ในยุคกอนประวัติศาสตรมนุษยถ้ํานําดินมาใชประโยชนอยางไร
ภาพเขีย นสีห รืองานศิล ปจิตรกรรม
บาง (ปนหมอไหอยางหยาบ ๆ เพื่อใชเปนภาชนะ)
นั้ น ในสมั ย ก อ นชาวบ า นได นํ า ดิ น ใน
หากนักเรียนไมรูจั กคําว าภาชนะ ครูอาจอธิบายความหมาย
ทองถิ่นที่มีสีตาง ๆ หรือก็คือนําแรไปผสม
ของภาชนะเพิ่มเติมวาเปนอุปกรณที่ใชบรรจุหรือใสสิ่งตาง ๆ ลงไป
กับ ยางไม เพื่อเกิดเปน สีตาง ๆ มาสราง
เชน หมอ ชาม จาน
ผลงานศิลปะ
ยอหนาที่ 2
4.3 มนุษยถ้ํานําดินมาใชประโยชนในงานศิลปะอะไร (ใชดินสีตาง ๆ
เขียนภาพบนที่ผนังถ้ํา)
4.4 มนุษยถ้ํานําดินมาสรางงานศิลปะไดอยางไร (ทําไดโดยนําดิน
สีตาง ๆ ผสมกับยางไม ไขสัตวหรือน้ําผึ้ง แลวนําไปขีดเขียน ถ า นั ก เรี ย นไม ส ามารถตอบ
หรือพนบนผนังถ้ํา) คํ า ถามหรื อ อภิ ป รายได ต ามแนว
4.5 ภาพเขียนผนังถ้ําที่นําดินมาเปนสีในการสรางพบที่ใดบาง (เขาปลา คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด
รา จังหวัดอุทัยธานี และถ้ําอัลตามิรา ประเทศสเปน) อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน
แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง
ขั้นสรุปจากการอาน (15 นาที)
นักเรียน
5. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องที่อานซึ่งควรสรุปไดวา ดินมีประโยชน
มากมายและมนุ ษ ย ไ ด มี ก ารนํ า ดิ น มาใช ป ระโยชน ตั้ ง แต ยุ ค ก อ น
ประวัติศาสตรจนถึงปจจุบัน การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู
6. นักเรียนตอบคําถามในรูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 78 เพื่อจัดการเรียนรูในครัง้ ถัดไป
7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน
ในครั้ ง ถั ด ไป นั ก เรี ย นจะได ทํ า
ในรูหรือยัง กับคําตอบที่เคยตอบและบันทึกไวในคิดกอนอาน
กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชนอยางไร
8. ครูใหนักเรียนอานคําถามในยอหนาสุดทายของเรื่องที่อาน และให
นักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อตอบคําถาม ดังนี้ ในกิ จ กรรมนี้ นั ก เรี ย นจะได เ รี ย นรู
- ในปจจุบันมีการนําดินมาใชประโยชนอะไรอีกบาง เกี่ย วกับ การใชป ระโยชนจ ากดิน และมี
ครู ไ ม เ ฉลยคํ า ตอบ แต ชั ก ชวนให นั ก เรี ย นหาคํ า ตอบจากการทํ า การสืบคนขอมูลการใชประโยชนของดิน
กิจกรรม ในท อ งถิ่ น ครู ค วรบอกให นั ก เรี ย นไป
สืบคนขอมูลจากแหลงตาง ๆ มากอน เชน
สื บ ค น จ า ก อิ น เ ท อ ร เ น็ ต ส อ บ ถ า ม
ผูปกครอง หรือสังเกตดวยตนเอง

192 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

มนุษยถ้ํานําดินมาสรางหมอไหเพื่อเปนภาชนะ และนําดินมาทําสี
เพื่อผลิตงานศิลปะ เชน ภาพเขียนบนผนังถ้ํา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 193
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชนอยางไร
กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดรวบรวมขอมูลการใชประโยชน
จากดินในทองถิ่นของตนเอง และสืบคนขอมูลประโยชนของ
ดิน เพื่อบรรยายและนําเสนอประโยชนของดิน

เวลา 2 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู
รวบรวมขอมูลและนําเสนอประโยชนของดิน

วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากิจกรรม
-

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
1. หนังสือเรียน ป.2 เลม 2 หนา 56-59
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เลม 2 หนา 79-82
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ

194 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการจัดการเรียนรู
1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานในเรื่องที่ 1 และเรื่องที่ 2 โดยใชคําถามดังนี้
1.1 ดินจําแนกออกเปนกี่ชนิด อะไรบาง (นักเรียนตอบตามความเขาใจ
ของตนเอง เช น ดิ น จํ า แนกออกเป น 3 ชนิ ด ได แ ก ดิ น เหนี ย ว
ดินรวน และดินทราย) ในการทบทวนความรูพื้นฐาน
1.2 ดิ น แต ล ะชนิ ด มี ส มบั ติ ใ ดแตกต า งกั น บ า ง (ลั ก ษณะเนื้ อ ดิ น ครู ควรใหเวลานักเรีย นคิดอยาง
การจับตัว และการอุมน้ํา) เหมาะสม รอคอยอย า งอดทน
1.3 ดิ น แต ล ะชนิ ด นํ า ไปใช ป ระโยชน ไ ด เ หมื อ นหรื อ แตกต า งกั น นักเรีย นตองตอบคําถามเหลา นี้
เพราะเหตุใด (ดินแตละชนิดจะนําไปใชประโยชนไดแตกต างกัน
ไดถูกตอง หากตอบไมไดหรือลืม
เพราะมีลักษณะและสมบัติไมเหมือนกัน)
2. ครู เ ชื่ อ มโยงความรู พื้ น ฐานของนั ก เรี ย นเข า สูกิ จ กรรมที่ 2 โดยใช ครูตองใหความรูที่ถูกตองทันที
คําถามดังนี้ นอกจากการใชประโยชนจากดินที่เรารูมาแลว นักเรียน
คิดวาดินยังมีประโยชนอยางไรอีกบาง เราจะเรียนรูในกิจกรรมที่ 2
3. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และ ทําเปนคิดเปน จากนั้นรวมกันอภิปราย
เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงคในการทํากิจกรรม โดย
ใชคําถามดังนี้
3.1 กิจ กรรมนี้นัก เรีย นจะไดเ รีย นรูเ กี่ย วกับ เรื่อ งอะไร (ประโยชน
ของดิน)
3.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องนี้ดวยวิธีใด (การรวบรวมขอมูล)
3.3 เมื่อเรียนรูแลวนักเรียนสามารถทําอะไรได (นําเสนอประโยชนของ
ดิน)
4. นักเรียนบันทึกจุดประสงคลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 79
5. นั ก เรี ย นอ า นทํ า อย า งไร โดยฝ ก อ า นตามความเหมาะสม จากนั้ น
รวมกันอภิปรายเพื่อสรุปขั้นตอนการทํากิจกรรม โดยใชคําถามดังนี้
ทําอยางไร ขอที่ 1-2
5.1. นั กเรี ย นสื บ ค น ข อมู ล เกี่ย วกั บ เรื่ องอะไร (ประโยชนของดิน ใน
ทองถิ่นของตนเอง)
5.2. นักเรียนสืบคนขอมูลโดยวิธีการใดบาง (นักเรียนตอบตามความ
เปนจริง เชน สอบถามผูปกครอง อินเทอรเน็ต)
5.3. นักเรียนตองนําขอมูลที่แตละคนสืบคนมาไปทําอะไร (นําขอมูลที่
ไดมารวมกัน เพื่ออภิปรายและสรุปการใชประโยชนของดิ น ใน
ทองถิ่น บันทึกผล)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 195
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ทําอยางไร ขอที่ 3
5.4. ใบความรูที่นักเรียนจะอานเกี่ยวกับเรื่องอะไร (ประโยชนของดิน)
5.5. เมื่ อ อ า นใบความรู เ สร็ จ แล ว นั ก เรี ย นต อ งทํ า อะไร (อภิ ป ราย ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
เกี่ยวกับประโยชนของดิน)
5.6. หลังจากอานและอภิปรายแลวตองทําอะไรตอไป (เขียนแผนผัง ถานักเรียนไมรูจักแผนผังความคิด ครู
ความคิดเกี่ยวกับประโยชนของดิน) อาจแนะนําหรือแสดงตัวอยางการเขียน
5.7. เมื่อแผนผังความคิดของนักเรียนสมบูรณแลวตองทําอะไรตอไป
แผนผังความคิดใหกับนักเรียนกอน
(นําเสนอแผนผังความคิด)
6. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว ครูใหนักเรียน
เริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
7. หลั งจากทํ า กิ จ กรรมแล ว ครู นํ า อภิ ป รายผลการทํากิจ กรรม โดยใช ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ที่นักเรียนจะได
คําถามดังนี้ ฝกจากการทํากิจกรรม
7.1 จากการสื บ ค น ข อ มู ล ในท อ งถิ่ น ของกลุ ม ตนเอง นํ า ดิ น มาใช
ประโยชนอะไรบาง (นักเรียนตอบตามขอมูลที่สืบคนได) S8, C4 อภิปรายและลงความเห็น
7.2 จากใบความรู ดินทั้ง 3 ชนิดนําไปใชประโยชนเหมือนหรือแตกตาง เกี่ยวกับการใชประโยชนของ
กันไดอยางไร (ดินเหนียว ใชปลูกขาว ทําเครื่องปนดินเผา ดินรวน ดินในทองถิ่น
ใช ป ลู ก พื ช ทั่ ว ๆ ไป และดิ น ทราย ใช ป ลู ก มั น สํ า ปะหลั ง การ C5 เขียนแผนผังความคิดและนําเสนอ
กอสราง)
7.3 จากใบความรู นอกจากประโยชนของดินทั้ง 3 ชนิดที่กลาวมาแลว
ดินยังมีประโยชนอะไรอีกบาง (เปนแหลงที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต
เปนแหลงวัตถุดิบในการผลิตสี เปนที่ยึดเกาะของรากพืช เปนแหลง
ธาตุอาหารและน้ําของพืช เปนแหลงอาหารของสัตว)
7.4 จากขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมด ดินมีประโยชนอะไรบาง (นักเรียน
ตอบตามขอมูลที่รวบรวมได เชน ดินเปนที่ยึดเกาะของรากพืช และ
กั ก เก็ บ น้ํ า ให พื ช เป น แหล ง ที่ อ ยู อ าศั ย ของพื ช สั ต ว เป น แหล ง
กักเก็บน้ํา ความรอน เปนแหลงวัสดุสําหรับกอสรางและงานศิลปะ)
8. ครู เ ป ด โอกาสให นั ก เรี ย นซั ก ถามในสิ่ ง ที่ อ ยากรู เ พิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ
ประโยชน ของดิ น จากนั้ น ร ว มกั น อภิ ป รายและลงข อสรุป ว า ดิน มี
ประโยชนมากมาย เชน ใชในการเพาะปลูก การกอสราง แหลงกักเก็บ
อาหาร
9. นักเรียนตอบคําถาม ฉันรูอะไร และรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดแนว
คําตอบที่ถูกตอง

196 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

10. นักเรียนสรุปสิ่งที่ได เรียนรูในกิจ กรรมนี้ จากนั้นครูใหนักเรีย นอาน


สิ่งที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุปของตนเอง
11. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่ องที่สงสัยหรืออยากรู
เพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอ
คํ า ถามของตนเองหน า ชั้ น เรี ย น และให นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป ราย
เกี่ยวกับคําถามที่นําเสนอ
12. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง
วิ ทยาศาสตร และทั กษะแห งศตวรรษที่ 21 อะไรบ างและในขั้ นตอน
ใดบาง
13. นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หนา 60 ครูนํา
อภิปรายเพื่อนําไปสูขอสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ไดเรียนรูในเรื่องนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 197
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม

รวบรวมขอมูลและนําเสนอประโยชนของดิน

นักเรียนวาดรูปหรือเขียนบรรยายการใชประโยชนจากดิน

198 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องประโยชนของดิน

แหลงที่อยู
แหลงอาหารของสัตว

ที่ยึดเกาะของรากพืช

แหลงวัตถุดิบในการผลิตสี

แหลงวัตถุดิบในการกอสราง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 199
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนตอบตามผลการทํากิจกรรม เชน ในทองถิ่นมีการใชประโยชน


จากดินในการเพาะปลูก เปนแหลงอาหารใหกับสัตว และสรางบานดิน

ในทองถิ่นนําดินมาใชประโยชน เชน ใชทําเครื่องปนดินเผา ใชในการ


เพาะปลูก ใชเปนที่อยูอาศัย โดยทั่วไปดินมีประโยชนในการเปน
แหลงน้ํา แหลงอาหาร ใชทําวัสดุกอสราง และสรางงานศิลปะ

ดินทุกชนิดมีประโยชนมาก ซึ่งการใชประโยชนจากดินตองพิจารณาถึง
ลักษณะและสมบัติของดินแตละชนิดใหเหมาะสมกับการใชงาน

200 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

คําถามที่นักเรียนตั้งตามความอยากรูของตนเอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 201
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวการประเมินการเรียนรู
การประเมินการเรียนรูของนักเรียนทําได ดังนี้
1. ประเมินความรูเดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวางการจัดการเรียนรูและจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทํากิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชนอยางไร
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน คะแนน


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
S8 การลงความเห็นจากขอมูล
S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรวมมือ
รวมคะแนน

202 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน
โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้
ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการประเมิน
ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
S8 การลงความเห็น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น
จากขอมูล ขอมูลวาในทองถิ่นมีการ ขอมูลวาในทองถิ่นมีการ ขอมูลวาในทองถิ่นมีการ จากขอมูลวาในทองถิ่น
นําดินมาใชประโยชน นําดินมาใชประโยชน นําดินมาใชประโยชน มีการนําดินมาใช
อยางไรบาง และดิน อยางไรบาง และดิน อยางไรบาง และดิน ประโยชนอยางไรบาง
สามารถนํามาใช สามารถนํามาใช สามารถนํามาใช และดินสามารถ
ประโยชนอะไรไดอีกบาง ประโยชนอะไรไดอีกบาง ประโยชนอะไรไดอีกบาง นํามาใชประโยชนอะไร
โดยใชเหตุผลและขอมูล โดยใชเหตุผลและขอมูลที่ โดยใชเหตุผลและขอมูลที่ ไดอีกบาง โดยใช
ที่ไดจากการรวบรวม ไดจากการรวบรวมได ไดจากการรวบรวมได เหตุผลและขอมูลที่ได
ดวยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ จากการรวบรวมได
ผูอื่น เพียงบางสวน แมวาจะ
ไดรับคําชี้แนะจากครู
หรือผูอื่น
S13 การตีความหมาย การตีความหมายขอมูลที่ สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย
ขอมูลและลงขอสรุป ไดจากการรวบรวมโดย ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการ ขอมูลที่ไดจากการ
วิธีตาง ๆ และอภิปราย รวบรวมโดยวิธีตาง ๆ และ รวบรวมโดยวิธีตาง ๆ รวบรวมโดยวิธีตาง ๆ
เปรียบเทียบกับผูอื่น อภิปรายเปรียบเทียบกับ และอภิปรายเปรียบเทียบ และอภิปราย
และนํามาลงขอสรุปและ ผูอื่น และนํามาลง กับผูอื่น และนํามา เปรียบเทียบกับผูอื่น
บอกเหตุผลไดวาการ ขอสรุปและบอกเหตุผล ลงขอสรุปและบอกเหตุผล และนํามาลงขอสรุปแต
เลือกดินไปใชประโยชน ไดวาการเลือกดินไปใช ไดวาการเลือกดินไปใช ไมสามารถบอกเหตุผล
ตองพิจารณาจากสิ่งใด ประโยชนตองพิจารณา ประโยชนตองพิจารณา ไดวาการเลือกดินไปใช
จากสิ่งใดไดดวยตนเอง จากสิ่งใดไดจากการ ประโยชนตองพิจารณา
ชี้แนะของครูหรือผูอื่น จากสิ่งใด แมวาจะได
รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 203
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน


โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังนี้

ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ


ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1)
C4 การสื่อสาร การนําเสนอขอมูลที่ สามารถนําเสนอขอมูลที่ สามารถนําเสนอขอมูลที่ สามารถนําเสนอขอมูลที่
รวบรวมไดเกี่ยวกับ รวบรวมไดเกี่ยวกับ รวบรวมไดเกี่ยวกับ รวบรวมไดเกี่ยวกับ
ประโยชนของดิน ประโยชนของดิน ในรูปแบบ ประโยชนของดิน ในรูปแบบ ประโยชนของดิน เพื่อให
ตาง ๆ เพื่อใหผูอื่นเขาใจได ตาง ๆ เพื่อใหผูอื่นเขาใจได ผูอื่นเขาใจ แมวาจะได
ดวยตนเอง จากการชี้แนะจากครูหรือ รับคําชี้แนะจากครูหรือ
ผูอื่น ผูอื่น
C5 ความ ทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับ
รวมมือ ในการรวบรวม ในการรวบรวมขอมูล แสดง ในการรวบรวมขอมูล แสดง ผูอื่นในการรวบรวมขอมูล
ขอมูล แสดงความ ความคิดเห็น และอภิปราย ความคิดเห็น และอภิปราย แสดงความคิดเห็น และ
คิดเห็น และ เพื่อนําเสนอประโยชนของ เพื่อนําเสนอประโยชนของ อภิปรายเพื่อนําเสนอ
อภิปรายเพื่อ ดิน รวมทั้งยอมรับความ ดิน รวมทั้งยอมรับความ ประโยชนของดิน รวมทั้ง
นําเสนอประโยชน คิดเห็นของผูอื่น ตั้งแต คิดเห็นของผูอื่น ตั้งแต ยอมรับความคิดเห็นของ
ของดิน รวมทั้ง เริ่มตนจนสําเร็จลุลวงดวย เริ่มตนจนสําเร็จลุลวงจาก ผูอื่น บางชวงเวลาที่ทํา
ยอมรับความคิดเห็น ตนเอง การชี้แนะจากครูหรือผูอื่น กิจกรรม ทั้งนี้ตองไดรับ
ของผูอื่น การกระตุนจากครูหรือ
ผูอื่น

204 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

กิจกรรมทายบทที่ 1 รูจ ักดิน (2 ชั่วโมง)


1. ครู ให นั กเรี ย นวาดรู ป หรื อเขี ย นสรุ ป สิ่ งที่ ได เ รี ย นรูในบทนี้ ในแบบ
บันทึกกิจกรรม หนา 83
2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบ
กับภาพสรุปเนื้อหาประจําบทในหัวขอ รูอะไรในบทนี้ ในหนังสือเรียน
หนา 61-62
3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอน
เรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 60-61 อีกครั้ง หากคําตอบของ
นักเรียนไมถูกตองใหขีดเสนทับขอความเหลานั้น แลวแกไขใหถูกตอง
หรืออาจแกไขคําตอบดวยดินสอสีที่มีสีตางจากเดิม นอกจากนี้ครูอาจ
นําคําถามในรูปนําบทในหนังสือเรียน หนา 42 มารวมกันอภิปราย
คําตอบอีกครั้ง ดังนี้ “ดินแตละชนิดมีลักษณะและสมบัติอยางไร และ
ดินแตละชนิดมีประโยชนอะไรบาง”
4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทที่ 1 รูจักดิน ในแบบบันทึกกิจกรรม
หนา 84 จากนั้นนําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน ถาคําตอบยังไมถูกตอง
ครู ค วรนํ า อภิ ป รายหรื อ ให ส ถานการณ เ พิ่ ม เติ ม เพื่ อ แก ไ ขแนวคิ ด
คลาดเคลื่อนใหถูกตอง
5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรม รวมคิด รวมทํา โดยนักเรียนทํากิจกรรม
ตามวิธีการของตนเอง เพื่อใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาใชใหเกิด
ประโยชน แ ละเหมาะสมกั บ บริ บ ทมากที่ สุ ด ซึ่ ง ครู อ าจแนะนํ า ให
นั ก เรี ย นออกแบบและสร า งผลงานการนํ า ดิ น มาใช ป ระโยชน ใ ห
เหมาะสมกับชนิดดิน เชน งานศิลปะ สิ่งของเครื่องใช การเพาะปลูก
หรืออื่น ๆ
6. นักเรียนอานและอภิปรายเนื้อเรื่องในหัวขอวิทยใกลตัว ในหนังสือ
เรียน หนา 64 โดยครูกระตุนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของความรู
จากสิ่ ง ที่ ไ ด เ รี ย นรู ใ นหน ว ยนี้ ว า สามารถนํ า ไปใช ป ระโยชน ใ น
ชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง ดังนี้
6.1 เห็นดวยหรือไมวาบางคนเทานั้นที่สามารถใชประโยชนจากดินได
เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง เชน ไมเห็น
ดวย เพราะเราทุกคนสามารถใชประโยชนจากดินไดทั้งทางตรง
และทางออม)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 205
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

6.2 เราสามารถนําดินชนิดใดก็ไดมาปนและสรางเปนบานดินใชหรือไม
อยางไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง แตควรตอบไดวา
ในการเลือกดินมาปนหรือสรางเปนบานดินควรเปนดินที่จับตัวกัน
ไดดี เนื้อละเอียดอยางดินเหนียว)
7. นั ก เรี ย นร ว มกั น ตอบคํ า ถามสํ า คั ญ ประจํ า หน ว ยอี ก ครั้ ง ดั ง นี้
“การใชประโยชนจากดินตองพิจารณาสิ่งใดบาง” ถาคําตอบยังไม
ถูกตอง ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดคําตอบที่ถูกตอง

206 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

สรุปผลการเรียนรูของตนเอง

ครูกระตุนในนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนรูมาทั้งบท
สรุปเปนขอความหรือรูปตามความเขาใจของนักเรียน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 207
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท

208 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 4 ดินรอบตัวเรา

นักเรียนออกแบบและสรางผลงานการนําดินมาใชประโยชน
ใหเหมาะสมกับชนิดของดิน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 209
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม

แนวคําตอบในแบบทดสอบทายเลม

210 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 211
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม

212 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 213
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม

214 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 215
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | บรรณานุกรม

บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2546). แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ.
กองยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2016). พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไขเพิ่มเติม. สืบคน
30 มิถุนายน 2564 จาก https://www.fda.moph.go.th/sites/drug/SitePages/AD-Rule01.aspx
สถาบั น ส ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี , กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร.(2561). ตั ว ชี้ วั ด และสาระ
การเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด.
สํานักงานราชบัณฑิตยสภา. (2557). ทักษะแหงศตวรรษที่ 21. สืบคน 30 เมษายน 2560, จาก http://www.royin.go.th
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. (2558). การรูดิจิทัล (Digital literacy). สืบคน 30 เมษายน
2561, จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142-knowledges/2632
Allen M. (2014). Misconcept in primary science: New York: McGraw-Hill Education.
Balzak, D., Chafiqi, F., & Kendil, D. (2009). Students misconceptions about light in Algeria. Retrived
August 12, 2018 from https://spie.org/ETOP/2009/etop2009_4.7.35.pdf
Barman, C., Stein, R. M., McNair, S., & Barman, N.S. (2006). Students’ ideas about plants and plant
growth: The American Biology Teacher, 68(2), 73–79.
BSCS, 2006. Investigating life cycles. BSCS science tracks: Connecting science & literacy (2nd ed.). Colorado,
USA.
Chew, C., Foong, C.S., & Tiong, H. B. (2013). Physics matters GCE O’ level (4th ed.). Marshall Cavendish
Education.
Darko, E., Heydarizadeh, P., Schoefs, B., & Sabzalian, M. R. (2014). Photosynthesis under artificial light:
the shift in primary and secondary metabolism. Philosophical Transactions of the Royal
Society B: Biological Sciences. 369.
Fries-Gaither, J. (2009). Common misconceptions about biomes and ecosystems. สื บคน 7 มกราคม 2560,
จ า ก http: / / beyondpenguins. ehe. osu. edu/ issue/ tundra- life- in- the- polar- extremes/ common-
misconceptions-about-biomes-and-ecosystems
Ho, P. L., Yusoff, A. R., & Nanda, A. (2004). i-Science textbook 6. Singapore: SNP Panpac.

216 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | บรรณานุกรม

Keles, E. & Kefeli, P. ( 2010) . Determination of student misconceptions in “ photosynthesis and


respiration” unit and correcting them with the help of cai material. Procedia Social and
Behavioral Sciences. 3111-3118.
Kusnick, J. (2002 ). Growing pebbles and conceptual prisms: Understanding the source of student
misconceptions about rock formation. Journal of GeoScience education, 50(1), 31-39).
Melanie D.G. (2010). Ten misconceptions about soil. Retrieved January 15, 2018, from https://www.zdnet.
com/ article/ten-misconceptions-about-soil/
Reece, J.B., Urry, L.A., Cain, M. L., Wasserman, S.A., Minorsky, P.V., and Jackson, R.B. (2011). Campbell
biology (9th ed.). San Francisco: Pearson Benjamin Cummings.
Sampson, V. , & Schleigh, S. ( 2013) . Scientific argumentation in biology: 30 Classroom activities.
Arlington, Virginia: NSTA Press.
Shallcross, R. (2017). Common misconceptions seeing the light. Why & How Autumn 2017. Retrieved
June, 30 2021, from https: / / pstt. org. uk/ application/ files/ 5715/ 3086/ 4312/ Common
_Misconceptions _Light_Autumn_2017.pdf
The Organisation for Economic Co- operation and Development. ( 2017) . PISA for development
assessment and analytical framework: Reading, mathematics and science, Preliminary
Version, OECD Publishing, Paris.

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 217
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | คณะทํางาน

คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ เลม ๒
คณะที่ปรึกษา
ศาสตราจารย ดร.ชูกิจ ลิมปจํานงค ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี
ดร.กุศลิน มุสิกุล ผูชวยผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี
คณะผูจัดทําคูมือครู
ดร.กุศลิน มุสิกุล สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางชุติมา เตมียสถิต สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางกิ่งแกว คูอมรพัฒนะ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวดวงกมล เหมะรัต สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาววราภรณ ถิรสิริ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวลัดดาวัลย แสงสําลี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.เทพกัญญา พรหมขัติแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.ณัฐธิดา พรหมยอด สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.เบ็ญจวรรณ หาญพิพัฒน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.ศานิกานต เสนีวงศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.พจนา ดอกตาลยงค สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวสุณิสา สมสมัย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.วันชัย นอยวงค สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.เสาวลักษณ บัวอิน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวรตพร หลิน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวภคมน เนตรไสว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวลักษมี เปรมชัยพร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจีรนันท เพชรแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวกมลลักษณ ถนัดกิจ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.วิลานี สุชวี บริพนธ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวเพียงรวี ทองนุน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

218 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | คณะทํางาน

คณะผูพิจารณาคูมือครู
นางรอยพิมพ กาพยไชย โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม
นางลําดวน สายเมืองนาย โรงเรียนอนุบาลเมืองเชียงราย
นางนงนุช แทนกอง โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต สีลม
นางอัญชลี ทัตตะรุจิ โรงเรียนดาราคาม
นางรัตนา อาจชมภู โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม
นายกฤษณุชา วิวัฒนกันตัง โรงเรียนพรศิรกิ ุล
นางอารีรัตน มังดินดํา โรงเรียนบานหนองเขิน
นายสราวุธ พัฒนมาศ โรงเรียนเทศบาล2 "อิสาณธีรวิทยาคาร"
ดร.ลําใย สายโงน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต2
นายวิเชียร จันทร สํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต2

คณะทํางานฝายเสริมวิชาการ
ฝายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวภัทราพร ชื่นรุง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ
ผูชวยศาสตราจารยรัชดา สุตรา ขาราชการบํานาญ
นางณัฐสรวง ทิพานุกะ ขาราชการบํานาญ
หมอมหลวงพิณทอง ทองแถม ขาราชการบํานาญ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 219
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.2 เลม 2 | คณะทํางาน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)
The Institute for the Promotion of Teaching Science and
Technology (IPST) www.ipst.ac.th

220 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สถาบั
สถาบันนส�ส�งงเสริ
เสริมมการสอนวิ
การสอนวิททยาศาสตร�
ยาศาสตร�แและเทคโนโลยี
ละเทคโนโลยี
กระทรวงศึ
กระทรวงศึกกษาธิ ษาธิกการาร

You might also like