You are on page 1of 33

ORGANIZATION THEORIES

HS 413 405

5
สัปดาห์ที่
WEEK
AND MANAGEMENT
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ

Phatthanan Taladsub Ph.D.


Department of Public Administration, Faculty of Interdisciplinary Studies,
Khon Kaen University, Nong Khai Campus.
E-mail ; Somsta@kku.ac.th Phone ; +66 0909049759
CONTENT'S หัวข้อการบรรยาย
OF PRESENTATION
01 การวางแผน (Planning)
สัปดาห์ที่
WEEK 5
02
กระบวนการวางแผน

(Planning Process) AUGUST 9,2022


Time ; 09.00-12.00 am.
03
การเขียนโครงการ (Project) Room ; NK 2416 NK 2
AIM'S จุดประสงค์การบรรยาย
OF PRESENTATION
01 เข้าใจการวางแผน

สัปดาห์ที่
WEEK 5
(Planning)
02 เข้าใจกระบวนการวางแผน

(Planning Process) AUGUST 9,2022


Time ; 09.00-12.00 am.
03
เข้าใจการเขียนโครงการ
Room ; NK 2416 NK 2

(Project)
การวางแผน (Planning)
DEFINITION OF PLANNING

Planning is deciding in advance what to do, how and

when to do it and who is to do it. Planning bridges the

gap between where we are and where we want to go.

It makes it possible for things to happen which would,

but for planning, not happen.

Koontz and O’Donnell


DEFINITION OF PLANNING

กระบวนการในการตัดสินใจล่วงหน้าว่า

จะทำอะไร อย่างไร มีการกำหนด

วัตถุประสงค์ นโยบาย โครงการ และ

แนวปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์นั้น

Fremont E. Kast
DEFINITION OF PLANNING
นิยามการวางแผน
07
การกำหนดเป้าหมายและแนวทางปฏิบัติไว้ล่วงหน้า โดยการศึกษาข้อมูล

ต่างๆ และแนวทางปฏิบัติที่จะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ

ความพยายามที่เป็นระบบ (systematic attempt) เพื่อตัดสินใจเลือก

แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดสำหรับอนาคตเพื่อให้องค์การบรรลุผลที่

ปรารถนา
หน้าที่งานส่วนสำคัญที่จะต้องทำเป็นอันดับแรกของหน้าที่งานบริหารทั้ง

หลาย ถ้าหากปราศจากการวางแผน การปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ คือ การจัด

องค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ และการควบคุม ก็ไม่จำเป็นต้องทำ


DEFINITION OF PLANNING
นิยามการวางแผน
08
การวางแผน "เป็นการตัดสินใจเลือกแนวทางที่ดี

ที่สุดว่าจะทำอะไร ทำอย่างไรไว้ล่วงหน้า โดยมีการ

กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แบบแผนการ

ปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน โดยอาศัย

เทคนิค และประสบการณ์ของผู้บริหาร เพื่อเป็นก

รอบให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้เป็นเครื่องมือใน

การดำเนินไปสู่เป้าหมาย และ บรรลุตาม

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ขององค์การ "
09 Principle of Management
POSDCORB
POLC
10 ความสำคัญของการวางแผน

ช่วยให้องค์การมีเป้าหมายและแนวทางที่ชัดเจน
ช่วยลดความไม่แน่นอน เกิดความยืดหยุ่น
ช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดีของฝ่ายต่างๆ
ช่วยให้การควบคุมทำได้ง่ายและเห็นผล
ช่วยในการประหยัดค่าใช้จ่าย เวลา ทรัพยากร
11 การวางแผนเป็นภาระหน้าที่ของนักบริหาร

“การวางแผน (PLANNING)” คือ งานอับดับแรก ที่มีความสำคัญยิ่งในการทำ

หน้าที่ของนักบริหาร ความสำเร็จขององค์การทั้งหลาย จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ

องค์การนั้นใช้ “แผนต่างๆ (PLANS)” เป็นเข็มทิศนำทาง หรือ เป็นตัวกำหนด

แนวทางไปสู่จุดมุ่งหมายที่ต้องการ จึงกล่าวได้ว่า “การวางแผนเป็นรากฐานที่

สำคัญของการสร้างความสำเร็จในการบริหารงาน
12 ลักษณะของแผนที่ดี
Good

ความยืดหยุ่น ความเป็นพิธีการ Plan


ความครอบคลุม ความปกปิด
คุ้มค่าใช้จ่าย ความสอดคล้อง
ความชัดเจน การเน้นที่อนาคต
ระยะเวลาของแผน ความต่อเนื่อง
13 หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน
การวางแผน คือ การแปลความหมายของ วิสัยทัศน์และพันธกิจ

ให้เป็นวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดทิศทางและกำหนดวิธีการปฏิบัติ

เพื่อให้บรรลุผลอย่างชัดเจน ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือของ

คนในองค์การและให้ทุกคนในองค์การยอมรับแผนที่กำหนดขึ้น ซึ่ง

เหตุผลของการดำเนินงานขององค์การมาจากพันธกิจนั่นเองและ

ความหวังที่อยากให้องค์การเป็นแบบใดมาจากวิสัยทัศน์ ผู้บริหาร

ต้องหาแนวทางว่าจะนำองค์การไปในทางทิศใด
14 หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน
15 หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน

“เหตุผลในการดำรงอยู่” ซึ่งการกำหนดภารกิจเป็น

หน้าที่ของผู้บริหารและคณะกรรมการ ซึ่ง DR.PETER

DRUCKER แนะนำว่า “เฉพาะองค์การที่มีภารกิจและ

วัตถุประสงค์ชัดเจนเท่านั้นจึงสามารถมีเป้าหมายที่

ชัดเจนและมีความเป็นไปได้”
16 หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน

พันธกิจ (MISSION)

เป้าหมาย (GOAL) เป้าหมาย (GOAL) เป้าหมาย (GOAL) เป้าหมาย (GOAL)


งค์

งค์

ค์
สงค์

สงค์

งค์
สงค์

สงค์


ระ


ประ

ประ
ปร

ประ
ปร

ประ

ปร

ถุ

ถุ

ถุ

ถุ
วัตถุ

วัตถุ

วัตถุ

วัตถุ
วัต

วัต

วัต

วัต
17 ประเภทของการวางแผน
จำแนกตามระยะเวลา

แผนระยะสั้น (SHORT-RANGE PLANNING) 1 ปี


แผนระยะปานกลาง (MEDIUM-RANGE PLANNING) 3 - 5 ปี
แผนระยะยาว (LONG-RANGE PLANNING) 5-10 ปี
18 ประเภทของการวางแผน
จำแนกตามระดับการบริหาร
แผนระดับชาติ
แผนระดับภาค
แผนระดับจังหวัด
แผนระดับท้องถิ่น
กระบวนการวางแผน
(Planning Process)
19 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การกำหนด
การกำหนด
การติดตามและและ

การค้นหาโอกาสใน
การกำหนดแผน
วัตถุประสงค์หลัก
มาตรฐานการ เมินผล
การดำเนินงาน

และรอง ปฏิบัติงาน

PLANNING PROCESS
20 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การกำหนดวัตถุประสงค์หลัก และ รอง


เกี่ยวกับแนวทางหลักในการดำเนินการขององค์การในอนาคตในระยะเวลา

ยาว ว่าต้องการอยู่ในธุรกิจอะไร จะผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดใด หรือ จะบริหาร

อะไร ในส่วนตลาดใดส่วนใหญ่วัตถุประสงค์หลักจะกำหนดออกมาในรูปของ
วิสัยทัศน์ (VISION) ภารกิจ (MISSION) ปรัชญา (PHILOSOPHY)

นโยบาย (POLICY) และ กลยุทธ์ (STRATEGY)


ส่วนวัตถุประสงค์รองจะเป็นวัตถุประสงค์ที่แคบกว่า และ มีความชัดเจน

กว่าวัตถุประสงค์หลัก โดยทั่วไปจะได้รับการกำหนดโดยผู้บริหารองค์การ
21 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การค้นหาโอกาสในการดำเนินงาน

การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมขององค์การทั้งภายในและ

ภายนอกเพื่อการแสวงหาหรือค้นหาโอกาส (OPPORTUNITIES) ข้อ


จำกัด (THREATS) ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานขององค์การใน

การทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS
22 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การกำหนดแนวปฏิบัติ หรือ แผน

กำหนดแนวปฏิบัติหรือจัดทำแผนซึ่งจะทำให้กิจกรรมต่างๆ ของ

องค์การเป็นไปในแนวทางที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลักและรองที่

กำหนดไว้มากขึ้น ขั้นตอนนี้จะเป็นขั้นตอนที่เปลี่ยนโอกาสในการ

ดำเนินการต่างๆ ซึ่งได้จากการคาดคะเนในขั้นตอนที่ 2 ให้เป็น

ประโยชน์ในแนวทางที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ
23 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การกำหนดมาตรฐานของการปฏิบัติงาน

เป็นขั้นที่จะต้องนำเอาแผนที่กำหนดไว้ในขั้นที่ 3 ไปปฏิบัติ ใน

การนำแผนไปปฏิบัติมีความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลงแผนซึ่ง

กำหนดไว้อย่างกว้างๆ ให้เป็นเป้าหมายที่แคบลงที่แสดงอยู่ในรูป

ของรายละเอียดสำหรับใช้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทุกๆคนสามารถนำไป

ปฏิบัติได้ง่าย
24 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การติดตามและประเมินผล

การติดตามและประเมินแผนจำเป็นที่จะต้องจัดทำรายงานเกี่ยวกับ

ผลงานเพื่อทำการประเมินและเขียนรายงานเกี่ยวกับผลการปฏิบัติ

งาน จำเป็นที่จะต้องมีความถูกต้องและส่งไปยังผู้รับผิดชอบอย่าง

รวดเร็ว เพื่อสามารถนำการแก้ไขการปฏิบัติงานหรือแก้ไขแผนได้

อย่างทันเหตุการณ์
25 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

การกำหนดแผน
การเตรียมข้อมูลและ
การวิเคราะห์ข้อมูล

แผนงาน (PROGRAM)
รวบรวมข้อมูล (SWOT) โครงการ (PROJECT)
กิจกรรม (ACTIVITY)

การปฏิบัติตามแผน
ประเมินผล
26 กระบวนการวางแผน (Planning Process)

DEMING

CYCLE
27 ลักษณะของความไม่แน่นอน : การวางแผน
การวางแผนกับความไม่แน่นอน
ความไม่แน่นอนที่คาดเดาได้ (STATE

UNCERTAINTY) คือ การกำหนดสิ่งที่มีโอกาสทำให้

ผู้ป้องกันตัวเอง

เกิดวิกฤตการณ์
(DEFENDERS)

ความไม่แน่นอนที่ส่งผลกระทบ ผู้แสวงหา

(EFFECT UNCERTAINTY) (PROSPECTORS)

นักวิเคราะห์

การตอบสนองความไม่แน่นอน
(RESPONSE UNCERTAINTY) (ANALYZERS)
ผู้ตอบโต้
(REACTORS)
การเขียนโครงการ

(Project)
29 วงจรชีวิตของโครงการ (Project Lift Cycle)
ขั้นที่ 1.
กำหนดขั้นตอนต่างๆ
(DEFINITION)
ขั้นที่ 2.
การวางแผน
(PLANNING)
ขั้นที่ 3.
การปฏิบัติการ
(EXECUTION)
ขั้นที่ 4.
การปิดโครงการ
(CLOSING)
30 การเขียนโครงการ (Project)

1. ชื่อโครงการ 8. สถานที่
2. ชื่อหน่วยงานที่เป็นเจ้าของโครงการ 9. ผู้ที่เกี่ยวข้อง
3. หลักการและเหตุผล 10. วิธีการดำเนินการ
4. วัตถุประสงค์ 11. แผนภูมิปฏิบัติงาน
5. เป้าหมาย 12. การเงินหรืองบประมาณ
6. ผู้รับผิดชอบ 13. การประเมินผลโครงการ
7. ระยะเวลา 14. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
WELL PLANNED

IS HALF DONE
"วางแผนดี มีชัยไปกว่าครึ่ง"
Q&A
Thank You

You might also like