You are on page 1of 53

เ ยน Apiwit Thongtae M นา

.
No 34.

ชาญ ทองแ
โอบ ไป ห น
ดร . อ ม นา
. เลข 34

Unit XV
Blood Circulatory and
Lymphatic System
ภิวิ
ที่
วี
มุ
ท้
ระบบหมุนเวียนเลือด พบ ใน ต างกาย บ อน

Blood circulatory system


เป็นระบบหลักที่ทำหน้ำทีใ่ นกำรลำเลียงสำรต่ำงๆ ในร่ำงกำยของสัตว์
เซลล์แต่ละเซลล์ในร่ำงกำยต้องกำรนำสำรเข้ำและออกจำกเซลล์ตลอดเวลำ เพื่อให้เกิด
กำรทำงำนได้อย่ำงปกติ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (Unicellular organisms) มีเซลล์ที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภำยนอก
ได้โดยตรง จึงมีกำรแลกเปลี่ยนสำรผ่ำนเยื่อหุ้มเซลล์ ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular organism) เช่น สัตว์ เซลล์ที่อยู่ภำยในร่ำงกำย
ไม่ได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม จึงต้องมีระบบหมุนเวียนเลือดในกำรลำเลียงสำรต่ำงๆ ให้แก่
เซลล์ ่
แลกเปลียน
สั
ซั
ที่ร่
ว์
ซ้
ระบบหมุนเวียนเลือด
Blood circulatory system
ตัวอย่างสารที่ถูกลาเลียงผ่านระบบหมุนเวียนเลือด เช่น สารอาหาร , ออกซิเจน ,
คาร์บอนไดออกไซด์ และของเสียต่างๆ ที่เกิดจากกระบวนการ matabolism ในเซลล์
นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบอื่นๆ ในร่างกาย เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง (Erythrocyte
หรือ Red blood cell; RBC) เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell; WBC)
รวมไปถึงฮอร์โมนชนิดต่างๆ ที่สร้างจากต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland)
ด้วยเหตุข้างต้น จึงทาให้ระบบหมุนเวียนเลือดทางานร่วมกับระบบอื่นๆ ในร่างกาย เช่น
ระบบย่อยอาหาร (Digestive system)
ระบบหายใจ (Respiratory system)
เ ย ใน เ อด
ระบบขับถ่าย (Excretory system) ←

ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) เ ดเ อด


.
.
ขาว

ระบบน้าเหลือง (Lymphatic system)


ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system)
ยู
ม็
ลื
ลื
รี
หัวใจของมนุ ษย ์
เป็นอวัยวะที่พัฒนามาจากหลอดเลือด มีผนังหนา เป็นกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) อยู่ภายในถุงเยื่อ
หุ้มหัวใจ (Pericardium) ระหว่างปอดทั้งสองข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย ภายในถุงมีของเหลวที่สร้าง
จากเยื่อหุ้มหัวใจ เรียก pericardial fluid ทาหน้าที่หล่อลื่นและป้องกันการเสียดสีกับปอดระหว่างที่หัวใจ
บีบตัวคลายตัว
ภายนอกหัวใจมีหลอดเลือดที่แยกออกมาจากโคนของเอออร์ตา เรียก coronary artery นาเลือดมาหล่อ
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยแยกเป็น 2 หลอด ซ้ายขวา

Pericardium

Pericardial fluid

coronary artery
เ ยง วใจ
Pericardium
หั
ลี้
หัวใจของมนุ ษย ์ ง เ อด ไป ง างกาย
atruim
ventricle
: บน

าง
โ ↑
:


โครงสร้างภายนอก
เ อด เ ย จาก างกาย น บ
Aorta
Superior
vena cava Pulmonary artery
Left
Right pulmonary vein
pulmonary vein Left atrium
'

Right atrium
Right Left coronary artery
coronary artery
"
Right ventricle ลดการ งานของ ก ามเ อ Left ventricle
Inferior
vena cava
.
ส่
ล่
ร่
ยั
ดี
ทำ
ร่
ลื
ลื
สี
ล้
รั
นื้
หัวใจของมนุ ษย ์
โครงสร้างภายใน
Superiorvenacava

Aorta
Pulmonary artery
pulmonary semilunar valve
Left pulmonary vein
LA
Left atrium
RA
Aortic semilunar valve
Right atrium
Bicuspid valve
Tricuspid valve RV

R
Left ventricle
Inferior vena cava

inferior
↑ Aorta
Heart valve
้ วใจ
ลินหั
หัวใจแต่ละห้องมีผนังกั้นแยกกันชัดเจน
บริเวณรอยต่อระหว่างแต่ละห้องจะมีลินหัวใจ (heart valve) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อปิดรอยต่อป้องกันไม่ให้เลือด
ไหลย้อนกลับ างกาย

ๆ รก

Aorta


ปอด

Tricuspid valveBicuspid valve


3
2
i

Aortic semilunar valve


Pulmonary semilunar valve
ร่
ฬื๋
หื๊
ภํ๊
จื้
Heart valve
้ วใจ
ลินหั Tricuspid valve
Bicuspid valve
้ วใจมี 2 กลุม
ลินหั ่
1. Atrioventicular valve (AV valve) ลิ้น
ที่กั้นระหว่างหัวใจห้องบนและห้องล่าง มี 2 ลิ้น Aortic semilunar
valve Pulmonary
ได้แก่ semilunar valve
• Tricuspid valve กั้นระหว่าง RA
และ RV
• Bicuspid valve หรือ mitral valve
กั้นระหว่าง LA และ LV
2. Semilunar valve ลิ้นที่กั้นระหว่างหัวใจห้อง
ล่างและหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจ มี 2
ลิ้น ได้แก่
• Pulmonary semilunar valve กั้นระหว่าง
RV และ pulmonary artery
• Aortic semilunar valve กั้นระหว่าง LV Triarspid
Bicuspid
และ Aorta
ทิศทางการไหลเวียนของเลือดผ่านหัวใจ

8 3

4
1
5
2
6
9
ทิศทางการไหลเวียนของเลือดผ่านหัวใจ

1
Right atrium รับเลือดจาก vena cava เมื่อบีบตัวเลือดจากไหลเข้าสู่ Right ventricle
โดยผ่าน Tricuspid valve
2 Right ventricle รับเลือดจาก Right atrium เมื่อบีบตัวเลือดจะไหลผ่าน
pulmonary semilunar valve เข้าสู่ Pulmonary artery
3 Pulmonary artery ลาเลียงเลือดไปที่ปอดทั้งสองข้างเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
4 Pulmonary vein นาเลือดที่ออกจากปอดทั้งสองข้างเข้าสู่ Left atrium
5 Left atrium บีบตัวทาให้เลือดไหลผ่าน Bicuspid valve เข้าสู่ Left ventricle
6 Left ventricle บีบตัวทาให้เลือดไหลผ่าน Aortic semilunar valve เข้าสู่ Aorta
7 Aorta นาเลือดไปเลี้ยงร่างกาย โดยมีการแตกแขนงหลอดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
8
Superior vena cava นาเลือดที่มีออกซิเจนต่าจากส่วนหัว ลาตัวส่วนบน และแขน เข้าสู่ Right atrium
9 Inferior vena cava นาเลือดที่มีออกซิเจนต่าจากลาตัวส่วนล่าง และขา เข้าสู่ Right atrium
หลอดเลือด
มีลักษณะเป็นท่อสาหรับให้เลือดไหลเวียนเพื่อลาเลียงสารต่างๆ ไปทั่วร่างกาย
หลอดเลือดมี 3 ประเภท คือ หลอดเลือดอาร์เทอรี (Arterial blood vessel) ,
หลอดเลือดฝอย (Blood cappillary) และ หลอดเลือดเวน (Venous blood vessel)
Arterial blood vessel Aorta
Artevy Arteviole
เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจไปปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกาย
มี 3 ขนาด ได้แก่ Aorta เป็นหลอดเลือดที่อยู่ใกล้หัวใจ มีขนาดใหญ่ ผนังหนา จากนั้นจะมีขนาดเล็กลงเป็น
Artery และ Arteriole ตามลาดับ
Blood capillary Capillavy
เป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กที่สุด อยู่ระหว่าง arteriole และ venule
มีผนังบาง คือมีเพียงเนื้อเยื่อบุผิว
หลอดเลือดฝอยจะแทรกอยู่ตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เพื่อทาหน้าที่แลกเปลี่ยนสาร
Venous blood vessel Venacava Vein Venule
เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดจากปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ
มี 3 ขนาด ได้แก่ Venule เป็นหลอดเลือดขนาดเล็กรับเลือดจากหลอดเลือดฝอย จากเวนูลนั้นจะรวมกันเป็น
Vein และ Vena cava ก่อนเข้าสู่หัวใจตามลาดับ
หลอดเลือด Science and Technology Department
Udonpittayanukoon school

ขนาดของหลอดเลือด
Capillary
Aorta Artery Arteriole Venule Vein Vena cava

ลาดับการไหลเวียนของเลือดผ่านหลอดเลือดต่างๆ

Vena cava Aorta


Pulmonary
Pulmonary vein
Vein artery Artery
Venule Capillary Arteriole
แทนเลือดที่มี O2 ต่้า (Oxygen-poor blood) แทนเลือดที่มี O2 สูง (Oxygen-rich blood)

ข้อสังเกต ไป ปอก
เลือดที่ไหลผ่าน arterial blood vessel เป็นเลือดที่มี O2 สูง ยกเว้น Pulmonary artery
เลือดที่ไหลผ่าน Venous blood vessel เป็นเลือดที่มี O2 ต่า ยกเว้น Pulmonary vein
จาก ปอด
หลอดเลือด
โครงสร ้างของหลอดเลือด
•เป็นหลอดเลือดที่บางที่สุด มีเนื้อเยื่อบุผิวด้านในเพียงชั้นเดียว ห่อหุ้มด้วยเยื่อบางๆ (basal lamila)
•เนื่องจากมีเนื้อเยื่อเพียงชั้นเดียวจึงสามารถแลกเปลี่ยนแก๊สและสารต่างๆ ได้
•แตกแขนงจานวนมาก แทรกตัวอยู่ทั่วร่างกาย เพื่อไปหล่อเลี้ยงเซลล์ทุกเซลล์ Capillary
Endothelium Valve
Endothelium Endothelium
Smooth muscle Smooth muscle
Connective tissue Connective tissue

Artery Vein
•เป็นหลอดเลือดขนาดใหญ่ มีผนังหนา •ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เช่นเดียวกับ artery แต่มี
•ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น: เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน เนื้อเยื่อ ผนังบางกว่า
•รองรับเลือดที่มีความดันน้อยกว่า artery
vhnnnnnnnnn vnnn

กล้ามเนื้อเรียบ และ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน


•เนื้อเยื่อเกี่ยวพันมีความยืดยุ่นสูงมาก ทาให้หลอดเลือดอาร์ •เนื่องจากเลือดที่ไหลผ่าน vein มีความดันต่า ภายใน
nnnnnnnnnnhrr nttrnrnnrnnnnn

เตอรีสามารถขยายตัวเพื่อรับเลือดที่มีแรงดันสูงได้ Aorta จาก


หลอดเลือดจึงมีลิ้น หรือ valve ป้องกันการไหลย้อนกลับ
การเต้นของหัวใจ
• หัวใจของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถเต้นได้เองโดยไม่จาเป็นต้องอาศัยการกระตุ้นจากระบบประสาท
• กล้ามเนื้อหัวใจส่วนหนึ่งของหัวใจห้องบนขวา เรียก pacemaker จะทาหน้าที่ควบคุมการบีบตัวของหัวใจห้องบน และ
เรียกบริเวณที่มี pacemaker ว่า SA node (Sinoatrial node)
• บริเวณรอยต่อระหว่างหัวใจห้องบนและห้องล่างจะมี AV node (atrioventricular node) คอยควบคุมการบีบตัว
ของหัวใจห้องล่าง

SA node สร ้างกระแสประสาท
กระแสประสาทแพร่มาถึง กระแสประสาทแพร่ทว่ ั
แล้วแพร่ไปยังหัวใจห้องบนทัง้
AV node หัวใจห้องล่าง ทัง้ ventricle หัวใจบีบ
สองข้างอย่างรวดเร็วและเกิด
ถู กกระตุน
้ ตัว
การบีบตัว
ง ญญาณ
เ อ ส าง งหวะ

เซลล ์กล้ามเนื อ
หัวใจสามารถส่ง
ต่อกระแส
ประสาทถึงกันได้
ผ่านทาง
gap junction
สั
ส่
จั
พื่
ร้
การวัดการทางานของหัวใจ
• สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้โดยตรง โดยใช้ สเตตโตสโคป (Stethoscope) แนบที่อกบริเวณ
หัวใจ
• หรือวัด การวัดชีพจร (Pulse) เป็นการวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยตรวจจับการหดตัวคลายตัวของผนัง
หลอดเลือดอาร์เทอรี นับเป็นจานวนครั้งต่อนาที
• โดยปกติมนุษย์จะมีอัตราการเต้นของหัวใจประมาณ 60-100 ครั้งต่อนาที ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ
nmmn

ของแต่ละบุคคล เช่น เพศ อายุ น้าหนักของร่างกาย และกิจกรรมที่ทา


การวัดการทางานของหัวใจ
• สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้โดยตรง โดยใช้ สเตตโตสโคป (Stethoscope) แนบที่อกบริเวณหัวใจ
• หรือวัด การวัดชีพจร (Pulse) เป็นการวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยตรวจจับการหดตัวคลายตัวของผนัง
หลอดเลือดอาร์เทอรี นับเป็นจานวนครั้งต่อนาที
• โดยปกติมนุษย์จะมีอัตราการเต้นของหัวใจประมาณ 60-100 ครั้งต่อนาที ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ของแต่ละ
บุคคล เช่น เพศ อายุ น้าหนักของร่างกาย และกิจกรรมที่ทา

นักกีฬา
ดีเยี่ยม
ดี
เหนือค่าปกติ
ค่าเฉลี่ยปกติ
ต่้ากว่าค่าปกติ
แย่
การวัดการทางานของหัวใจ
• ใช้เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiograph) วัดการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าของกล้ามเนือ้ หัวใจใน
ระหว่างการหดตัวและคลายตัว ซึ่งเครื่องจะบันทึกเป็นเส้นกราฟ เรียกว่า (Electrocardiogram; EKG หรือ ECG)
Electrocardiogram
(ECG)


คลืนไฟฟ้ าหัวใจของคนปกติ
QRS

P T

Cardiac cycle Cardiac cycle Cardiac cycle


การวัดการทางานของหัวใจ
ด ความ น
ostethoscope


บอกอาการ
ดั
วั
ด้
ความดันเลือด
• การบีบตัวของหัวใจทาให้เกิดแรงดันเลือดขึ้น ทาให้เลือดสามารถไหลเวียนไปทั่วร่างกายได้
• แรงดันที่กระทาต่อผนังหลอดเลือด artery สามารถวัดออกมาเป็นค่าความดันเลือดได้
• หลอดเลือดที่ใกล้หัวใจทึ่สุดคือ aorta จะมีความดันเลือดสูงสุดและจะลดลงเรื่อยๆ ตามระยะที่ห่างจากหัวใจ
ดังนั้นการวัดความดันเลือดจึงมักที่ต้นแขนแพราะเป็น artery
5 YS |2☐
ที่ใกล้หัวใจและสามารถวัดได้สะดวก
• ค่าความดันเลือดมี 2 ค่า DIA ⊖☐

• Systole (Systolic pressure) คือ ค่าความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัว


• Diastole (Diastolic pressure) คือ ค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว
• ความดันเลือดปกติในวัยผู้ใหญ่ ประมาณ 120/80 mmHg

Systolic pressure

114/78

Diastolic pressure
ความดันเลือด (Blood pressure: BP)
อ่านค่าความดันเลือดได้ : 120/70
mmHg

Artery ปิ ด 120 120


70

ได้ยน
ิ เสียงผ่าน เสียงหายไป
Stethoscope
• ค่า BP ในในแต่ละคนจะมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น
• อายุ : เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น BP จะเพิ่มขึ้นเนื่องจากผนังของหลอดเลือดจะมีความยืดหยุ่นลดลง
• เพศ : ในวัยหนุ่มสาว BP♂ > BP♀
• น้าหนักของร่างกาย : BPอ้วน > BPผอม
• สภาพของร่างกาย : มีความเครียด , อาหารที่รับประทาน , โรคประจาตัวบางโรค , กิจกรรมที่ทา ส่งผลให้มี
BP สูงขึ้น
เปรียบเทียบหลอดเลือดชนิ ดต่างๆ area มาก → า

avea อย → เ ว

เลือดออก เลือดกลับ
จากหัวใจ เข้าสู ห
่ วั ใจ

้ ่
พืนที
(cm2)
เปรียบเทียบความหนาของผนัง artery และ vein
จากรูปจะเห็นว่าหลอดเลือดทังสองหลอดมีขนาดเท่ากัน แต่
artery มีหนังที่หนากว่า vein ท้าให้เส้นผ่านศูนย์กลางของ
ความเร็ว ช่องว่างภายในหลอดเลือดจะเล็กกว่า vein
(cm/sec)

Systolic
ความดัน pressure
mmHg
Diastolic
pressure
capillary หรือ หลอดเลือดฝอย เป็นหลอดเลือดที่เล็กและบางมาก
ซึ่งแก๊สและสารต่างๆ สามารถแพร่ผ่านได้ง่าย จึงเหมาะสมในการ
แลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่างเนือเยื่อกับเลือด จากรูปจะเห็นเซลล์
เม็ดเลือดแดงในหลอดเลือด
น้
ช้
ร็
การไหลของเลือด
Aovta
• การเคลื่อนที่ของเลือดใน artery อาศัยแรงดันจากการบีบตัวของหัวใจห้องเวนตริเคิลซ้าย แรงดันจึงสูงมาก
ไม่จาเป็นต้องมีลิ้นในหลอดเลือด
• ในขณะที่เลือดที่ไหลผ่าน vein เป็นเลือดที่มีความดันต่า เลือดจึงไม่สามารถเคลื่อนที่ไปได้ไกลนัก การ
เคลื่อนที่ของเลือดจึงอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อโครงร่างที่อยู่ข้างๆ หลอดเลือดและมีลิ้นหลอดเลือดเป็น
ระยะๆ ช่วยกั้นไม่ได้เลือดไหลย้อนกลับ
ทิศทางการไหลของเลือดใน
หลอดเลือด vein ลินในหลอดเลือดเวนเปิด
กล้ามเนือโครงร่าง
(Skeleton muscle)
หดตัว
ลินในหลอดเลือดเวนปิด
่ ยวข
โรคทีเกี ่ ้องกับหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจขาดเลือด (ischemic heart disease)

• มีสาเหตุมาจากความดันสูง มีไขมันในหลอดเลือด และเบาหวาน


• ภายใน coronary artery มีไขมันเกาะกีดขวาง เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย
เฉียบพลัน
• ผู้ที่สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงให้หลอดเลือดตีบและแข็ง (atherosclerosis) เนื่องจากมีคอเลสเตอรอลและแคลเซียมมา
เกาะที่ผนังหลอดเลือด ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือดได้เช่นกัน
การแก ้ไข/ร ักษา
การผ่าตัดบายพาส หรือ
การผ่าตัดหลอดเลือดเลียงหัวใจ (coronary
artery bypass grafting: CABG) เป็นการ
ผ่าตัดเพื่อทาทางเบี่ยงของเลือดในผู้ป่วยที่มีการ
อุดตันของหลอดเลือดโคโรนารีอาร์เตอรี โดยต่อ
ปลายหลอดเลือดด้านหนึ่งเข้ากับ aorta หรือ
หลอดเลือดอาร์เทอรีที่มีขนาดใหญ่ และปลาย
หลอดเลือดอีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับหลอดเลือดโคโร
นารีอาร์เทอรีใต้บริเวณที่ตีบหรืออุดตัน ทาให้
เลือดสามารถไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ ลดความ
เสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
การแก ้ไข/ร ักษา
การทาบายพาสหลอดเลือดหัวใจ การทาบอลลู นหลอดเลือด
CABG with Mitral
Valve Repair


การทาบายพาสหลอดเลือดทีขา
่ ยวข
โรคทีเกี ่ ้องกับหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง

• เป็นภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง แบ่งได้ 2 แบบ คือ


• หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Ischemic stroke) เกิดจากลิ่มเลือดไปอุดตันหรือมีการสะสมลิพิดในหลอด
เลือด
• หลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด (Hemorrhagic stroke) เกิดจากผนังของหลอดเลือดมีความเปราะบาง
ร่วมกันมีความดันเลือดสูง ทาให้หลอดเลือดปริแตกและมีเลือดออกในสมอง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองจึงลดลง
ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว

Ischemic stroke Hemorrhagic stroke


่ ยวข
โรคทีเกี ่ ้องกับหัวใจและหลอดเลือด
้ วใจรว่ ั
โรคลินหั

• เกิดจากลิ้นหัวใจรั่วหรือปิดไม่สนิท ทาให้เลือดไหลย้อนกลับไปห้องบน ในขณะที่ห้องล่างบีบตัว


• หากลิ้นหัวใจรั่วมาก อาจส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure)
ความเจริญก ้าวหน้าทางการแพทย ์
้ วใจรว่ ั
โรคลินหั

ลินหัวใจเที
ยม

เครืองกระตุน้ การเต้นของหัวใจ (Artificial heart valve)
(Artificial pacemaker)
เลือด (Blood)
• เลือด ทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหาร แก๊สออกซิเจน ไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกายและนาของเสียที่เซลล์
ไม่ต้องการ (Nitrogenous waste และ CO2) ไปกาจัดออกนอกร่างกาย
• ในร่างกายมนุษย์มีเลือดอยู่ประมาณร้อยละ 7-8 ของน้าหนักตัว
• หากนาเลือดใส่ในหลอดทดลองแล้วเติมสารป้องกันการแข็งตัวของเลือด จากนั้นนาไปปั่นแยกโดย
เครื่องปั่นเหวี่ยง (Centrifuge) จะพบว่าเลือดมีการตกตะกอนเป็นชั้นต่างๆ ดังนี้

ของ เ ย แ ส
Plasma สาร อาหาร

ปั่นเหวียง
่ (⪆55% of total blood)
Buffy coat
(Leucocytes, platlets)
(⪅1% of total blood)
Erythrocytes
(⪆45% of total blood)
สี
ก๊
plasma า เยอะ ด Science and Technology Department
Udonpittayanukoon school

• Plasma หรือ น้าเลือด เป็นของเหลวใสสีเหลืองอ่อน ประกอบไปด้วยน้า 90% ที่เหลือเป็นสารชนิดต่างๆ


ที่ละลายอยู่ใน plasma ได้แก่ สารอินทรีย์ เช่น โปรตีน หรือสารอาหารอ่ืนๆ และสารอนินทรีย์ต่างๆ เช่น
เกลือแร่ รวมไปถึงฮอร์โมน ของเสีย และอื่นๆ อีกมากมาย ดังตาราง
Plasma (55% of total blood)
ส่วนประกอบ หน้าที่หลัก
H2O (⪆90% of plasma) เป็นตัวทาละลายสาหรับการลาเลียงสารต่างๆ
+ + 2+
Ions2+ (⪅1%
-
of plasma):
- 3-
Na , K , Ca , เป็น electrolytes ควบคุมสมดุลความดันออกโมติก , สมดุล pH และการลาเลียงสาร
Mg , Cl , HCO3 , PO4 , etc.
ผ่านเยื่อหุ้มต่างๆ
Plasma Protein (⪆7% of plasma):
Albumin พบมากที่สุดในพลาสมา ควบคุมสมดุลแรงดันออกโมติก , สมดุล pH
Fibrinogen เป็นปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด (clotting factor)
***ถ้าแยก fibrinogen ออกจาก plasma จะได้ของเหลวที่เรียกว่า ซีรั่ม
(Serum)
Globulin (antibodies) เป็นแอนติบอดีเกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน เรียก Immunoglobulin
สารอื่นๆ ที่ถูกล้าเลียงในเลือด (⪅1% of plasma)
Nutrients , Hormone , Respiratory gases , Waste products of metabolism (ex. Urea)
สุ
มีนํ้
Erythrocyte RBC
Donut

• Erythrocyte หรือ Red blood cell หรือ เซลล์เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์ที่พบมากที่สุดใน


เลือด ในเลือด 1 mL จะมี RBC อยู่ประมาณ 5-6 ล้านเซลล์สาหรับเพศชาย และประมาณ }2µm
4.5-5 ล้านเซลล์สาหรับเพศหญิง เ ม
บท ว
• สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมเป็นกลุ่มเดียวในสัตว์มีประดูกสันหลัง ที่เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus
ขณะไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด 7-8
µm
• RBC มีต้นกาเนิดมาจาก stem cell ของเซลล์เม็ดเลือดชื่อ Hematopoietic cell ในไขกระดูก
(Bone marrow)
• RBC มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7-8 µm หนาประมาณ 2 µm รูปร่างกลม แบน เมื่อเจริญ
เต็มที่นิวเคลียสและไมโทคอนเดรียจะสลายตัวไป ทาให้ตรงกลางบุ๋ม

Erythrocyte
ผิ
พิ่
Erythrocyte
• RBC ของมนุษย์เริ่มสร้างตั้งแต่ยังเป็น
เอ็มบริโอ โดยสร้างตับ ม้าม และไข
กระดูก เมื่อเข้าสู่ระยะฟีตัส (fetus)
ช่วงใกล้คลอดถึงวัยผู้ใหญ่ ตับ และ ม้าม
จะหยุดการสร้าง RBC เหลือเพียงแต่ไข
กระดูกเท่านั้น
• RBC แต่ละเซลล์มีอายุประมาณ 100-
120 วัน เมื่อหมดอายุขัยจะถูกทาลายที่
ตับและม้าม และตลอดอายุขัยของมนุษย์
จะมีการสร้าง RBC มาทดแทนเสมอ
โดยเฉพาะเมื่อร่างกายสูญเสียเลือดจาก
การถูกมีคมบาดหรือการบริจาคเลือด
Leukocyte
• Leukocyte หรือ White Blood Cell หรือ เซลล์เม็ดเลือดขาว ทาหน้าที่ป้องกันและทาลายเชื้อโรค
หรือสิ่งแปลมปลอมในระบบภูมิคุ้มกัน สร้างและเจริญที่ไขกระดูก
• WBC มีขนาดใหญ่และจานวนน้อยกว่า RBC คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8-20 µm จานวน
ประมาณ 5,000-10,000 เซลล์ต่อเลือด 1 mL
• WBC มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีรูปร่างของนิวเคลียสต่างกันและมีลักษณะการย้อมติดสีของ granules
ภายใน cytoplasm ต่างกันด้วย ซึ่งสามารถแบ่ง WBC ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ Granulocyte (ได้แก่
Eosinophil, Basophil , Neutrophil) และ Agranulocyte (ได้แก่ Monocyte , Lymphocyte)
Granulocyte Agranulocyte

Neutrophil Eosinophil Basophil Monocyte Nocolov Lymphocyte


แกรนูลสีม่วงชมพู แกรนูลสีส้มแดง แกรนูลสีน้าเงิน สร้างภูมิคุ้มกัน
กาจัดเชื้อโรคโดยวิธี กาจัดเชื้อโรคโดยหลั่งเอนไซม์ เมื่อแทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อจะเจริญ
phagocytosis หรือสารเคมี เป็น macrophage กาจัดเชื้อโรค
ด้วยวิธี phagocytosis
Leukocyte
• กลุ่ม Granulocyte เป็นชนิดที่มีแกรนูล มีนิวเคลียสขนาดใหญ่คอดเป็นพู สร้างจากไขกระดูกแดง แกรนูลกระจายทั่วทั้ง
เซลล์ มี 3 ชนิด ได้แก่
• neutrophils แกรนูลย้อมติดสีม่วงชมพู กินเชื้อโรคด้วยวิธี phagocytosis พบมากที่สุดในร่างกาย
• eosinophils แกรนูลสีส้มแดง ทาลายเชื้อโรคโดยการหลั่งเอนไซม์หรือสารเคมีออกมาย่อยนอกเซลล์ 7
Same

• basophils แกรนูลสีน้าเงิน ทาหน้าที่เหมือน eosinophils พบน้อยที่สุดในร่างกาย ล

• กลุ่ม Agranulocytes เป็นชนิดที่ไม่มีแกรนูล นิวเคลียสขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์ มี 2 ชนิด ได้แก่


• monocytes เมื่อแทรกตัวออกจากหลอดเลือดเข้าสู่เนื้อเยื่อจะเจริญเป็นแมคโครฟาจ ทาลายเชื้อโรคด้วยวิธี
phagocytosis
• lymphocytes ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน มี 2 ชนิด
• B-lymphocytes หรือ B-cell สร้างและเจริญในไขกระดูก
• T-lymphocytes หรือ T-cell สร้างในไขกระดูกแล้วไปเจริญในไทมัส
Phagocyte คือ WBC ที่สามารถกินเชื้อโรคด้วยวิธี
phagocytosis (amoeboid movement)
e.g. neutrophils, monocyte
Phagocyte ยื่นเท้าเทียม แบคทีเรียถูกย่อยภายใน
(Psudopodia) เขมือบ vesicle
แบคทีเรีย
Leukocyte
• ปริมาณของ WBC จะขึ้นอยู่สภาพร่างกาย เช่น
• หากร่างกายได้รับเชื้อโรค ร่างกายจะมีปริมาณ WBC เพิ่มขึ้น ส าง าเ อโรค
มา

• หากติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น HIV จะทาให้ปริมาณ WBC ลดลง เกิดเป็นโรค AIDs


• หากการสร้าง WBC ในไขกระดูกเกิดความปิดปกติ จะทาให้เกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
(Leukemia) ม นห
ลด ลง
ฆ่
ภู
คุ้
ชื้
ร้
มิ
มู่
กั
Platelet
• เกร็ดเลือด เป็นชิ้นส่วนของ cytoplasm ที่หลุดออกมาจาก megakaryocyte ซึ่งเป็นเซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในไขกระดูก
จึงมีรูปร่างไม่แน่นอน ขนาดเล็กเพียง 1-2 µm
• เกร็ดเลือดมีจานวนประมาณ 100,000-400,000 ชิ้น ต่อเลือด 1 mL ไม่ได้ทาหน้าที่ลาเลียงสารหรือกาจัดสิ่ง
แปลกปลอมแต่เป็นส่วนสาคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลือด (Blood clotting) เพื่อป้องกันการสูญเสียเลือดเมื่อ
เกิดบาดแผล

อง กราด

A typical megakaryocyte is seen with


platelets budding off the periphery.
ส่
การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
• เมื่อมีการเจาะเลือดใส่หลอดทดลอง จะมีการใส่สารป้องกันการแข็งตัวของเลือด (Antiblood
clotting) เสมอ เช่น haparin และ hirudin (พบในปลิง ใช้เวลาดูดเลือดจากเหยื่อ)
• กลไกการแข็งตัวของเลือด

เมื่อผนังหลอดเลือดฉีกขาด หลอดเลือดจะหดตัว
เกร็ดเลือดมารวมตัวกันมากขึ้น โดยจับกับ
คอลลาเจนที่บริเวณบาดแผล
ไฟบรินสานกันเป็น
เกร็ดเลือดจะเคลื่อนมายัง ร่างแห รวมกับเกร็ด
บริเวณที่มีการฉีกขาด เลือด และ RBC อุด
และปล่อยสารเพื่อดึงดูด บาดแผลหรือรอยฉีก
ปัจจัยที่ท้าให้เลือดแข็งตัว
เกร็ดเลือดอื่นๆ ให้มา
รวมตัวกันบริเวณนี้
• สารที่หลั่งมาจากเซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บ ขาด
• วิตามิน K และแคลเซียมในพลาสมา Mateles
• เกร็ดเลือด t
Fribin
Prothrombin Thrombin +

Rb C

Fibrinogen Fibrin
Blood group
• หมู่เลือด (blood group) ของมนุษย์มีหลายระบบ แต่ระบบที่มีความสาคัญกับการให้และรับ
เลือด มี 2 ระบบ คือ หมู่เลือดระบบ ABO และ หมู่เลือดระบบ Rh
หมู ่เลือดระบบ ABO
• หมู่เลือดในระบบ ABO มีการจาแนกเป็นหมู่เลือดนิดต่างๆ ตามชนิดของไกลโคโปรตีน
หรือแอนติเจน (Antigen) ที่อยู่บนผิวของเซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ
แอนติเจน A และ แอนติเจน B ทาให้สามารถจาแนกได้เป็นเลือดหมู่ A ,B ,ABและ O
• แอนติบอดี (Antibody) ในพลาสมา มี 2 ชนิด คือ แอนติบอดี A และ แอนติบอดี B
โดยในพลาสมาของแต่ละคนจะมีแอนติบอดีที่ตรงข้ามกับแอนติเจนของตัวเองเสมอ

หมู ่เลือดระบบ Rh
• หมู่เลือดในระบบ Rh จาแนกตามการมีหรือไม่มีแอนติเจน Rh บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง
Blood group
• หมู่เลือด (blood group) ของมนุษย์มีหลายระบบ แต่ระบบที่มีความสาคัญกับการให้และรับเลือด มี 2
ระบบ คือ หมู่เลือดระบบ ABO และ หมู่เลือดระบบ Rh
หมู ่เลือดระบบ
หมู ่เลือดระบบ Rh
ABO
A B Rh+
antigen A antigen B antigen Rh

antibody B antibody A

เลือดหมู ่ A
_____ เลือดหมู ่ _____
B
เลือดหมู ่ _____
Rht

antibody B
antibody Rh
AB
antigen A O Rh-

antigen B
No Antigen

No Antiboay
antibody A

เลือดหมู ่ _____
AB เลือดหมู ่ _____
0 เลือดหมู ่ _____
Rti
Blood group
• หมู่เลือด (blood group) ของมนุษย์มีหลายระบบ แต่ระบบที่มีความสาคัญกับการให้และรับเลือด มี 2
ระบบ คือ หมู่เลือดระบบ ABO และ หมู่เลือดระบบ Rh
เลือด
ผิวเซลล ์เม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในพลาสมา
หมู ่
A A B

B B A

AB AB
-

O -
AB

+
Rh RH
-

- RH
Rh -
Blood test
• การตรวจสอบหมู่เลือดจะดูการทาปฏิกิริยาระหว่าง antigen และ antibody
• ถ้า antigen และ antibody ตรงกัน จะสามารถจับกันได้ เม็ดเลือดจึงมาเกาะกันทาให้
มีน้าหนักมากขึ้น เลือดจึงตะกอน
แอนติบอดีจบั กับแอนติเจน แอนติบอดีไม่จบั กับ
A A
บนเม็ดเลือดได ้ เลือดจึง แอนติเจนบนเม็ดเลือด เลือด
ตกตะกอน จึงไม่ตกตะกอน

antibody A antibody B

• ดังนั้น เราจึงสามารถนาแอบติบอดีที่ทราบชนิดมาระบุแอนติเจนที่ไม่ทราบชนิดได้
Blood test
• การตรวจสอบหมู่เลือดจะดูการทาปฏิกิริยาระหว่าง antigen และ antibody
• ถ้า antigen และ antibody ตรงกัน จะสามารถจับกันได้ เม็ดเลือดจึงมาเกาะกันทาให้มี
น้าหนักมากขึ้น เลือดจึงตะกอน
Antibody B พิจารณาผลการทดสอบหมู่เลือดในตารางต่อไปนี ้

ใส่เครืองหมาย + หากเกิดปฏิก ิรยิ า (Positive result)

ใส่เครืองหมาย - หากไม่เกิดปฏิก ิรยิ า (Negative result)

Antibody Blood
Sample Antibody A Antibody B
A+B group

1 + - + A
2 - + + B
3 + + + AB
4 - - - O
Test your knowledge

•ทาการทดสอบเพือหาหมู
่เลือดของนางสาวใบพลู
สวัสดี! นี่ ใบพลู เอง

Blood testing

Antibody A Antibody B

Result
O
ใบพลู เเลือดหมู ่ _______
Negative Negative
Erythroblastosis fetalis
• เป็นปฏิกิริยาระหว่างแอนติบอดีของแม่กับแอนติเจนบนผิเม็ดเลือดแดงของลูกในครรภ์ ซึ่งอาจเกิดอันตรายต่อ
ลูกในครรภ์อย่างมาก

• พ่อ+มีเลือดหมู่ • แม่มีเลือดหมู่ Rh- + • รางกายของแม่ • หากแม่ตังครรภ์อีกครัง แล้วลูก


Rh • ลูกคนแรกมีเลือดหมู่ Rh ตอบสนองต่อ Rh คนที่สองมีเลือดหมู่ Rh+
• Rh antigen จากลูก antigen ของลูกโดย • Rh antibody ของแม่จะผ่า
สามารถเข้าสู่กระแสเลือด การสร้าง Rh นรก เข้าไปท้าลายเม็ดเลือดแดง
ของแม่ได้ antibody ของทารก
• อาจเกิดอันตรายร้ายแรงถึงขัน
เสียชีวิต
test your knowledge
•คนทีมี่ เลือดหมู่ O ให้เลือดแต่คนทีมี่ เลือดหมู่ A ได้ แต่คนทีมี่ เลือดหมู่ A
่ เลือดหมู ่ O ได้ เพราะเหตุใด
ไม่สามารถให้เลือดแก่คนทีมี
เพราะคนทีมี ่ เลือดหมู ่ O ไม่มแ ี แอน
อนติ เจนAA และแอนติเจน B
เ อดห 0 บอ
จึงไม่ทาปฏิก ิรยิ ากับแอนติบอดี B ของคนทีมี ่ เลือดหมู ่ A แต่
คนทีมี่ เลือดหมู ่ A มีแอนติเจน A ซึงท ่ าปฏิก ิรยิ ากับแอนติ
บอด๊ A ของคนทีมี ่ เลือดหมู ่ O
•เขียนแผนผังสรุปการให้และการร ับเลือดในหมู่เลือดระบบ ABO
หมู ่เลือดของผู ร้ ับ
A B AB O
หมู ่เลือดของผู ใ้ ห้

A ✔︎
✓ X ✔︎
✓ X

B × ✔︎
✓ ✔︎
✓ ×

AB × × ✔︎
✓ ×

O ✔︎
✓ ✔︎
✓ ✔︎
✓ ✔︎

มี
ลื
มู่
ติ
ดี
กลไกการร ักษาดุลยภาพของร่างกาย
อากาศร้อน ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมภายนอก อากาศหนาว

อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ อุณหภูมิร่างกายต่้ากว่าปกติ

ส่งสัญญาณไปที่ไฮโพ ส่งสัญญาณไปที่ไฮโพ
ทาลามัส ทาลามัส
อุณหภูมิ
ร่างกายปกติ

ท้าให้ ท้าให้

• อัตราเมแทบอลิซึมลดลง อุณหภูมิร่างกาย อุณหภูมิร่างกาย • อัตราเมแทบอลิซึมเพิ่มขึ้น


• หลอดเลือดที่ผิวหนังขยายตัว ลดลง สูงขึน • หลอดเลือดที่ผิวหนังหดตัว
• ต่อมเหงื่อสร้างเหงื่อ • ต่อมเหงื่อไม่สร้างเหงื่อ
• เส้นขนเอนราบ เพิ่มการระบาย • เส้นขนตั้งชันขึ้น (ขนลุก) ลดการ
ความร้อน ระบายความร้อน
• ร่างกายมีอาการสั่น
ระบบน้าเหลือง
• ในระหว่างที่เลือดไหลผ่านหลอดเลือดฝอย ความดันของเลือดจะทาให้ของเหลวในเลือดออกมาจาก
หลอดเลือดฝอย เข้าไปอยู่ช่องว่างระหว่างเซลล์ เรียก ของเหลวระหว่างเซลล์ (Interstitial fluid)
• ของเหลวที่ออกมานี้จะกลับเข้าสู่หลอดเลือดฝอยได้น้อยมากจึงต้องอาศัยระบบน้าเหลือง (Lymphatic
system) ในการนาของเหลวเหล่านี้กลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด เพื่อให้ร่างกายสามารถรักษาดุลย
ภาพของของเหลวได้
• ดังนั้น ระบบน้าเหลือง จึงทาหน้าที่นาของเหลวกลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด

Interstitial fluid

ระบบนาเหลื
อง

Blood capillary Tissue cell

Tonsils Lymphatic
Interstitial capillary
fluid
Thymus

Lymphatic Vessel

Lymph Spleen
nodes Valve

Lymph
node

นาเหลื
อง (Lymph)
• น้าเหลือง (Lymph) เป็นของเหลวเหลวที่ออกจากหลอดเลือดฝอย แล้วถูกลาเลียงเข้าหลอด
น้าเหลืองฝอย (lymphatic capillary) และต่อมน้าเหลือง (Lymph node) น้าเหลืองจึง
มีองค์ประกอบคล้ายพลาสมาแต่มีโปรตีนน้อยกว่า โดยทั่วไปมีลักษณะเหลืองใส
• ส่วนประกอบของน้าเหลืองในร่างกายจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของน้าเหลืองว่าอยู่ที่
อวัยวะใด เช่น น้าเหลืองที่อยู่ในต่อมน้าเหลืองจะมีลิมโฟไซต์มาก , น้าเหลืองที่มาจากลาไส้เล็ก
จะมีลักษณะขุ่นคล้ายน้านม เรียก Chyle เนื่องจากมีไขมันปนอยู่มาก


นาเหลื ่
องทีมาจากล าไส ้เล็ก

นาเหลื ่
องโดยทัวไป (Chyle)
หลอดน้ำเหลือง (Lymphatic vessel)
• หลอดน้าเหลืองที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ หลอดน้าเหลืองฝอย (Lymphatic capillaty)
มีลักษณะเป็นท่อปลายปิด
• หลอดนาเหลืองฝอยจะนาน้าเหลืองไปรวมกันเป็นหลอดน้าเหลือง (Lymphatic vessel) ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
และผ่านต่อมน้าเหลือง (Lymph node) ที่มีเซลล์เม็ดเลือดขาวจานวนมากสาหรับตรวจจับสิ่งแปลกปลอม
ที่มากับน้าเหลือง จากนั้นนาน้าเหลืองกลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดโดยมีทิศทางเข้าสู่หัวใจ
• โครงสร้างของหลอดน้าเหลืองจะคล้ายกัน vein คือมีลิ้นกั้นป้องกันไม่ให้น้าเหลืองไหลย้อนกลับ
โดยการไหลของน้าเหลืองอาศัยการหดตัวคลายตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่รอบๆ

หลอดนาเหลื
อง (Lymphatic vessel)
Lymphatic capillary

Lymphatic Pulmonary capillary


node network

Lymphatic
vessel
Blood flow

Lymphatic
node

Lymph flow Systemic capillary


network
Lymphatic capillary
ต่อมน้ำเหลือง (Lymph node)
• น้าเหลืองที่มาจากหลอดน้าเหลืองจะผ่านเข้าสู่ต่อมน้าเหลือง ซึ่งมีอยู่หลายต่อมทั่วร่างกาย
• ภายในต่อมน้าเหลืองจะมี Lymphocyte อยู่เป็นจานวนมาก
ทาหน้าที่กาจัดสิ่งแปลกปลอม
ออกจากน้าเหลืองก่อนลาเลียง
กลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด
References

th
1. Reece, J. B., & Campbell, N. A. (2011). Campbell biology 9 ed.. Boston: Benjamin
Cummings. Pearson.
้ั ่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษท
2. ศุภณัฐ ไพโรหกุล. Biology. พิมพ ์ครงที ้ ์ จากัด, 2559.
ั แอคทีฟ พรินท
3. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชา
้ั ่ 1 (ฉบับปร ับปรุง ๒๕๖๐). กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ ์
เพิม่ เติม ชีววิทยา เล่ม ๔. พิมพ ์ครงที
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย., ๒๕๖๒.

You might also like