You are on page 1of 206

หมุนเวียนเลือด

สังเกตและเปรียบเทียบขนาด ปริมาณ และ


รูปร่างลักษณะของเซลล์เม็ดเลือดแดงและ
เซลล์เม็ดเลือดขาวของมนุษย์
ทางด่วนที่มีถนนเชื่อมโยงหลายสาย
หลอดเลือดในร่างกายมนุษย์
ทางด่วนที่มีถนนเชื่อมโยงหลายสาย หลอดเลือดในร่างกายมนุษย์
X
X
จุดประสงค์ อุปกรณ์ วิธีการ บันทึกผล คาถาม
สังเกตและเปรียบเทียบขนาด ปริมาณ และ
รูปร่างลักษณะของเซลล์เม็ดเลือดแดงและ
เซลล์เม็ดเลือดขาวของมนุษย์
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง สไลด์ถาวรเลือดของมนุษย์
1. สังเกตเซลล์เม็ดเลือดจากสไลด์ถาวรภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ใช้แสง โดยใช้ก่าลังขยายต่่าและสูงตามล่าดับ สังเกตขนาด
รูปร่าง ลักษณะ ปริมาณของเซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ด
เลือดขาว บันทึกผลโดยวาดภาพเซลล์เม็ดเลือดที่มองเห็นชัดเจน
ที่สุด
2. เปรียบเทียบภาพที่บันทึกได้กับเซลล์เม็ดเลือดแดงและ
เซลล์เม็ดเลือดขาวในภาพ 3.4 (หนังสือเรียน สสวท.)
เซลล์เม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดแดงเป็นเซลล์ขนาด
เล็ก มี
ได้แก่
เซลล์เม็ดเลือดแดง
ทาหน้าที่หลักคือ
เซลล์เม็ดเลือดแดง
มีเม็ดเลือดแดงประมาณ 4 - 5 ล้านเซลล์
เม็ดเลือดแดง
และจะถูกทาลายที่ตับและม้าม
ร่างกายมีการสร้างเม็ดเลือดแดงใหม่ และ
ทาลายเม็ดเลือดแดงเก่า หมุนเวียนอยู่
ตลอดเวลา
เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์เม็ดเลือดขาว
มีขนาด
ใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์ที่มี
นิวเคลียสตลอดชีวิต
เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์เม็ดเลือดขาวมีหลายชนิด บางชนิด

บางชนิด
ซึ่งเป็นสารประเภทโปรตีน
เซลล์เม็ดเลือดขาว
จานวนเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เปลี่ยนแปลงไปจาก
ปกติ อาจเป็นดัชนีบ่งชี้ความเจ็บป่วยของ
ร่างกาย
เกล็ดเลือด
เกล็ดเลือดเป็นชิ้นส่วนของเซลล์ที่มีรูปร่างไม่
แน่นอน หลุดจากเซลล์ชนิดหนึ่ง ที่สร้างขึ้นที่
ไขกระดูกมีอายุสั้นประมาณ 10 วัน หน้าที่
ของเกล็ดเลือด คือ ช่วยให้เลือดแข็งตัว ทาให้
เลือดหยุดไหลเมื่อเกิดบาดแผลโดยสร้างสาร
เป็นร่างแหปิดปากแผลไว้
เกล็ดเลือด
https://www.redcrossblood.org/donate-
blood/blood-types.html
หมุนเวียนเลือด
บรรยายโครงสร้างและหน้าที่
ของหัวใจ หลอดเลือดและเลือด
?
เลือดมีส่วนประกอบ
ได้แก่อะไรบ้าง ?
A
หัวใจ
หลอดเลือด
เลือด
?
นักเรียนเลือดหมู่ A จะมี
แอนติเจนและแอนติบอดี
แบบใด
A
มีแอนติเจน A
มีแอนติบอดี B
?
คนที่มีหมู่เลือดโอ สามารถรับ
เลือดจากหมู่เลือดใดได้บ้าง
A
รับเลือดได้เฉพาะ
หมู่เลือดโอ
?
เลือดในร่างกายของเราสามารถ
เดินทางไปยังส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายผ่านเส้นทางใด
A
ไหลเวียนผ่าน
หลอดเลือด
หลอดเลือดแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่
หลอดเลือดอาร์เทอรี (arterial blood vessel)
หลอดเลือดเวน (venous blood vessel)
หลอดเลือดฝอย (capillary)
หลอดเลือดอาร์เทอรี
คือ หลอดเลือดทีน
่ าเลือดออกจากหัวใจ
ซึ่งจะเป็นเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูงไปเลีย้ ง
อวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
หลอดเลือดอาร์เทอรี
ยกเว้นหลอดเลือดที่ไปสู่ปอดชื่อพัลโมนารีอาร์เตอรี
(pulmonary artery) ซึ่งจะนาเลือดจากหัวใจทีม่ ี
คาร์บอนไดออกไซด์สงู ไปฟอกที่ปอด
ลักษณะของหลอดเลือดอาร์เทอรี
มีผนังหนา เพราะประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชั้น
จึงยืดหยุ่นได้ดี สามารถขยายตัวเพื่อรับแรงจากเลือด
ที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจได้ดี
ลักษณะของหลอดเลือดอาร์เทอรี

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Artery


ลักษณะของหลอดเลือดอาร์เทอรี

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Artery


ลักษณะของหลอดเลือดอาร์เทอรี

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Artery


หลอดเลือดเวน
คือ หลอดเลือดที่นาเลือดที่มีของเสียและ
คาร์บอนไดออกไซด์ (เลือดที่ร่างกายใช้แล้ว
จากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย) กลับเข้าสู่
หัวใจห้องบนขวาเพื่อนากลับไปฟอกที่ปอด
หลอดเลือดเวน
ยกเว้นหลอดเลือดดาปอดที่ชื่อ พัลโมนารีเวน
(pulmonary vein) ซึ่งจะนาเลือดแดงที่ผ่านการ
ฟอกจากปอดแล้วนากลับเข้าสู่หัวใจ ห้องบนซ้าย
ลักษณะของหลอดเลือดเวน
มีผนังบางกว่าและมีความยืดหยุ่นน้อยกว่า
หลอดเลือดอาร์เทอรี ภายในหลอดเลือดเวนจะมีความดันต่า
ถ้าหลอดเลือดเวนฉีกขาด เลือดที่ไหลออกมาจะไหลแบบ
คงที่ และสม่าเสมอ ห้ามเลือดหยุดได้ง่ายกว่าหลอดเลือด
อาร์เทอรีที่ฉีกขาด
ลักษณะของหลอดเลือดเวน

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Vein


ลักษณะของหลอดเลือดเวน

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Vein


ลักษณะของหลอดเลือดเวน
ในการไหลของเลือดภายในหลอดเลือดเวนเพื่อกลับ
อาศัยการหดตัวและคลายตัว
เข้าสู่หัวใจนั้น
ของกล้ามเนื้อของร่างกายบริเวณรอบ ๆ
หลอดเลือด
ลักษณะของหลอดเลือดเวน
และลิ้นกั้นที่อยู่ภายในหลอดเลือดซึ่งจะทาหน้าที่
ควบคุมการไหลของเลือดให้ไปในทางเดียว

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Vein


Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Vein

ลักษณะของหลอดเลือดเวน

ลิ้นกั้นที่อยู่ภายในหลอดเลือด
หลอดเลือดฝอย
คือ หลอดเลือดทีเ่ ชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดอาร์
เทอรีขนาดเล็ก ไปยังหลอดเลือดเวนขนาดเล็ก
โดยจะแทรกอยู่ในเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น
ผิวหนัง กล้ามเนื้อ สมอง และอวัยวะอื่น ๆ ยกเว้น
กระจกตา เส้นผม และเล็บจะไม่มีหลอดเลือดฝอย
ลักษณะของหลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดฝอยเป็นหลอดเลือดที่มี
ขนาดเล็กที่สุดในร่างกายมีทั้งหลอดเลือด
อาร์เทอรีฝอย และหลอดเลือดเวนฝอย
ผนังบาง ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว
ลักษณะของหลอดเลือดฝอย

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Capillary


ลักษณะของหลอดเลือดฝอย

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Capillary


ลักษณะของหลอดเลือดฝอย

ผนังหลอดเลือดฝอยเป็นบริเวณที่มี
การแลกเปลี่ยนแก๊สและสารต่างๆ
ระหว่างเลือดกับเซลล์
ลักษณะของหลอดเลือดฝอย

Photo by wikipedia : https://en.wikipedia.org/wiki/Capillary


?
ในการบริจาคเลือด แพทย์จะ
เจาะเลือดจากหลอดชนิดใด
เพราะเหตุใด
A
หลอดเลือดเวน เพราะหลอดเลือดเวนอยู่ใกล้ผิวหนัง และเป็น
หลอดเลือดที่มีขนาดใหญ่แต่มีผนังบาง และแรงดันเลือดในหลอด
เลือดเวนน้อย ซึ่งต่างจากหลอดเลือดอาร์เทอรีที่มีผนังหนา และ
อยู่ใต้ผิวหนังลึกลงไป นอกจากนี้แรงดันเลือดในหลอดเลือดอาร์
เทอรียังมีมากกว่าในหลอดเลือดเวน
?
เลือดที่ลาเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายผ่านหลอดเลือดอาร์เทอรี
โดยอาศัยการทางานของอวัยวะใด
A
หัวใจ
?
หัวใจมีโครงสร้าง
อย่างไร
อินฟีเรีย เวนาคาวา เอออร์ตา
(inferior vena cava)
(aorta)
พัลโมนารี อาร์เทอรี
เอเตรียมขวา (pulmonary artery)

(Right atrium)
พัลโมนารีเวน
(pulmonary vein)
ลิ้นพัลโมนารี
(Pulmonary vavle) เอเตรียมซ้าย
(Left atrium)

ลิ้นไตรคัสพิด ลิ้นไบคัสพิด
(bicuspid vavle)
(tricuspid vavle)

ลิ้นเอออร์ติก
(Aortic vavle )
เวนตริเคิลขวา
(Right ventricle )
ซุพีเรีย เวนาคาวา เวนตริเคิลซ้าย
(superior vena cava) (Left ventricl)
มีขนาดประมาณกาปั้นของตัวเอง
ทาหน้าที่ สูบฉีดเลือดไปเลี้ยง
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เอเตรียมขวา
(Right atrium)

เป็นหัวใจห้องบนขวา มีขนาดเล็ก
ผนังกล้ามเนื้อบาง ทาหน้าที่รับเลือดที่
ใช้แล้วจากส่วนต่างๆของร่างกาย
ลิ้นไตรคัสพิด
(tricuspid valve)

คั่นอยู่ระหว่างหัวใจห้องบนขวา-ล่างขวา
ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดในเวนตริเคิล
ขวาไหลย้อนกลับขึ้นสูเ่ อเตรียมขวา
เวนตริเคิลขวา
(Right ventricle )

เป็นหัวใจห้องล่างขวา มีขนาดเล็ก ช่องภายในมี


ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ทาหน้าที่รับเลือด
จากเอเตรียมขวา และส่งไปฟอกที่ปอด
ลิ้นพัลโมนารี
(Pulmonary vavle)

ทาหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหล
กลับสู่เวนตริเคิลขวา
เอเตรียมซ้าย
(Left atrium)

เป็นหัวใจห้องบนซ้าย มีขนาดเล็ก
ผนังกล้ามเนื้อบาง ทาหน้าทีร่ ับเลือด
ที่ฟอกแล้วจากปอด
ลิ้นไบคัสพิด
(bicuspid valve)

ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดในหัวใจ
ห้องล่างซ้ายไหลย้อนกลับสู่หัวใจห้อง
บนซ้าย
เวนตริเคิลซ้าย
(Left ventricle)

เป็นหัวใจห้องล่างซ้าย มีผนังกล้ามเนื้อ
หนาที่สุด ทาหน้าที่รับเลือดจากเอ
เตรียมซ้ายแล้วสูบฉีดเลือดอย่างแรง
ไปเลี้ยงส่วน ต่างๆ ของร่างกาย
ลิ้นเอออร์ติก
(Aortic valve )

ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหล
ย้อนกลับสู่หัวใจห้องล่างซ้าย
1. หลอดเลือดเวนนาเลือด
เข้าสู่หัวใจห้องใด
ตอบ: เอเตรียมขวา
2. left ventricle ทา
หน้าที่อะไร
ตอบ: รับเลือดจากเอเตรียมซ้ายแล้วสูบฉีด
เลือดอย่างแรงไปเลี้ยงส่วน ต่างๆ ของร่างกาย
3. ลิ้นหัวใจมีจานวนกี่ลิ้น
และทาหน้าที่อะไร
ตอบ: มี 4 ลิ้น ทาหน้าที่กั้นไม่ให้
เลือดไหลย้อนกลับ
4. หลอดเลือดที่นาเลือด
จากปอดกลับสู่หัวใจคือ
ตอบ: พัลโมนารีเวน
5. ผนังกล้ามเนื้อหัวใจห้อง
ใดหนาที่สุด เพราะอะไร
ตอบ: เพราะต้องสูบฉีดเลือดไปเลี้ยง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
6. หลอดเลือดอาร์เทอรีใหญ่ที่นา
เลือดออกจากหัวใจไปยังส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายคือ
ตอบ: หลอดเลือดเอออร์ต้า
7. หัวใจมีหน้าที่สาคัญอย่างไร
ตอบ: สูบฉีดเลือดไปเลี้ยง
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
หมุนเวียนเลือด
อธิบายการทางานของระบบ
หมุนเวียนเลือดโดยใช้แบบจาลอง
?
หัวใจมีโครงสร้าง
อย่างไร
ซุพีเรีย เวนาคาวา เอออร์ตา
(superior vena cava)
(aorta)
พัลโมนารี อาร์เทอรี
เอเตรียมขวา (pulmonary artery)

(Right atrium)
พัลโมนารีเวน
(pulmonary vein)
ลิ้นพัลโมนารี
(Pulmonary valve) เอเตรียมซ้าย
(Left atrium)

ลิ้นไตรคัสพิด ลิ้นไบคัสพิด
(bicuspid valve)
(tricuspid valve)

ลิ้นเอออร์ติก
(Aortic valve )
เวนตริเคิลขวา
(Right ventricle )
อินฟีเรีย เวนาคาวา เวนตริเคิลซ้าย
(inferior vena cava) (Left ventricle)
เอเตรียมขวา
(Right atrium)

ทาหน้าที่อะไร
เอเตรียมขวา
(Right atrium)

ทาหน้าทีร่ ับเลือดที่ใช้แล้วจาก
ส่วนต่างๆของร่างกาย
ลิ้นไตรคัสพิด
(tricuspid valve)

ทาหน้าที่อะไร
ลิ้นไตรคัสพิด
(tricuspid valve)

ทาหน้าทีป่ ้องกันไม่ให้เลือดในเวนตริเคิล
ขวาไหลย้อนกลับขึ้นสู่เอเตรียมขวา
เวนตริเคิลขวา
(Right ventricle )

ทาหน้าที่อะไร
เวนตริเคิลขวา
(Right ventricle )

ทาหน้าที่รับเลือดจากเอเตรียม
ขวา และส่งไปฟอกที่ปอด
ลิ้นพัลโมนารี
(Pulmonary valve)

ทาหน้าที่อะไร
ลิ้นพัลโมนารี
(Pulmonary valve)

ทาหน้าทีก่ ันไม่ให้เลือดไหล
กลับสู่เวนตริเคิลขวา
เอเตรียมซ้าย
(Left atrium)

ทาหน้าที่อะไร
เอเตรียมซ้าย
(Left atrium)

ทาหน้าทีร่ ับเลือดที่ฟอกแล้ว
จากปอด
ลิ้นไบคัสพิด
(bicuspid valve)

ทาหน้าที่อะไร
ลิ้นไบคัสพิด
(bicuspid valve)

ทาหน้าทีป่ ้องกันไม่ให้เลือดในหัวใจ
ห้องล่างซ้ายไหลย้อนกลับสู่หัวใจห้อง
บนซ้าย
เวนตริเคิลซ้าย
(Left ventricle)

ทาหน้าที่อะไร
เวนตริเคิลซ้าย
(Left ventricle)

ทาหน้าที่รับเลือดจากเอเตรียม
ซ้ายแล้วสูบฉีดเลือดอย่างแรงไปเลี้ยง
ส่วน ต่างๆ ของร่างกาย
ลิ้นเอออร์ติก
(Aortic valve )

ทาหน้าที่อะไร
ลิ้นเอออร์ติก
(Aortic valve )

ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหล
ย้อนกลับสู่หัวใจห้องล่างซ้าย
การหมุนเวียนเลือดจากหัวใจ
ไปยังปอดและส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายมีลักษณะอย่างไร
ปอด
พัลโมนารี
อาร์เทอรี พัลโมนารีเวน
เอเทรียมขวา เอเทรียมซ้าย
ลิ้นไตรคัสพิด ลิ้นไบคัสพิด
เวนตริเคิลขวา เวนตริเคิลซ้าย

ซุพีเรีย เอออร์ต้า
อินฟีเรีย
เวนาคาวา เวนาคาวา
ร่างกาย
จุดประสงค์ อุปกรณ์ วิธีการ บันทึกผล คาถาม
สังเกตและอธิบายการทางานของ
หัวใจโดยใช้แบบจาลอง
ภาชนะบรรจุน้าสี เช่น ขวดน้า 5 ลิตรตัด
ด้านที่เป็นปากขวด หรือบีกเกอร์ปริมาตร
ท่อปั๊มน้ำ
2,000 cm3
1. ร่วมกันจัดอุปกรณ์ชุดแบบจำลองกำรทำงำนของ
หัวใจโดยใช้ท่อปั๊มนำ 2 อัน และภำชนำหรับใส่นำ
สี ดังภำพ
2. คำดคะเนทิศทำงกำรเคลื่อนทีข่ องนำสีใน
แบบจำลอง เมื่อบีบและปล่อยลูกบีบของท่อปั๊มนำทัง
2 อันพร้อมกัน
3. ใช้มือบีบและปล่อยลูกบีบของท่อปั๊มนำทัง 2
อันพร้อมกัน สังเกต บันทึกผลโดยวำดภำพ
และเขียนทิศทำงกำรเคลือ่ นที่ของนำสีในแบบจำลอง
4. เปรียบเทียบส่วนประกอบของแบบจำลองกับ
อวัยวะต่ำง ๆ ของระบบหมุนเวียนเลือด
เวนตริเคิลขวา เวนตริเคิลซ้าย
ลิ้นหัวใจ
เอเทรียมซ้าย
เอเทรียมขวา

ร่างกาย ปอด
?
1. เหตุใดน้าสีจึงไหลไป
ตามท่อได้อย่างต่อเนื่อง
A
เพราะการบีบลูกบีบและปล่อย
อย่างต่อเนื่อง ทาให้น้าถูกดูด
ขึ้นมาและไหลไปตามท่อได้
?
2. เหตุใดเมื่อคลายมือออกแล้ว
น้าสีไม่ไหลกลับทางท่อเดิม
A
เพราะการทางานของลิ้นบริเวณ
โคนท่อปั๊มที่ปิดเปิดได้ ช่วย
ควบคุมไม่ให้น้าสีไหลย้อนกลับ
?
3. นักเรียนจะอธิบายการ
ทางานของแบบจาลองการทางาน
ของหัวใจว่าอย่างไร
A
เมื่อใช้มือขวาบีบลูกบีบซึ่งเปรียบเสมือนหัวใจ
ห้องล่างขวาบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปยังปอด
A
ขณะที่มือซ้ายบีบลูกบีบก็เปรียบเสมือนหัวใจ
ห้องล่างซ้ายบีบตัวเพื่อนาเลือดไปเลี้ยงส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกาย
A
เมื่อคลายมือขวาที่บีบลูกบีบเปรียบเสมือน
หัวใจคลายตัวเพื่อรับเลือดจากร่างกายเข้าสู่
หัวใจห้องบนขวา
A
และเมื่อคลายมือซ้ายที่บีบลูกบีบ ก็แปรียบ
เหมือนกับหัวใจห้องบนซ้ายคลายตัวเพื่อรับ
เลือดจากปอด
?
4. แบบจาลองการทางานของหัวใจใน
กิจกรรมนี้ มีสิ่งที่เหมือนและสิ่งที่
แตกต่างจากการทางานของหัวใจ
มนุษย์อย่างไร
A
แบบจาลองมีสิ่งที่เหมือนกับการทางานของหัวใจ
มนุษย์ คือ
1. แบบจาลองมี 4 ห้องคล้ายกับหัวใจมนุษย์
2. ส่วนของแบบจาลองหัวใจห้องล่างใหญ่กว่าหัวใจห้องบน
A
3. มีลิ้นปิดเปิดเพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับของ
น้าสีคล้ายกับการทางานของลิ้นหัวใจ
4. ของเหลวมีปริมาณเท่าเดิมหมุนเวียนอยู่
ภายในระบบ ไม่ต้องเติมน้าจากภายนอกเข้าไป
A
แบบจาลองมีสิ่งที่แตกต่างจากการทางานของหัวใจ
มนุษย์ คือ
1. ห้องของหัวใจในแบบจาลองสลับบน ล่างกับของจริง
2. ส่วนของแบบจาลองหัวใจห้องบนไม่สามารถบีบตัวได้
บีบได้เฉพาะหัวใจห้องล่าง
A
3. ท่อน้าพลาสติกที่เป็นตัวแทนของหลอดเลือด
นั้นแข็ง ไม่สามารถหดและขยายตัวได้เหมือนกับ
หลอดเลือดของมนุษย์
?
5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
A
แบบจาลองการทางานของหัวใจ มีลักษณะการ
ทางานคล้ายกับการทางานของหัวใจมนุษย์ คือ
เมื่อหัวใจบีบตัวจะมีการส่งเลือดจากหัวใจห้องล่าง
ซ้ายไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
A
และเลือดจากหัวใจห้องล่างขวาจะถูกส่งไปยังปอด
เมื่อหัวใจคลายตัวหัวใจห้องบนขวาจะรับเลือดจาก
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายขณะเดียวกันเลือดจาก
ปอดก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย
A
อย่างไรก็ตามมีข้อจากัดบางอย่างที่แบบจาลอง
แตกต่างจากหัวใจมนุษย์ เช่น ตาแหน่งของห้อง
หัวใจ การบีบตัวของหัวใจแต่ละห้องความสามารถ
ในการหดและขยายตัวของหลอดเลือด
ปอด
พัลโมนารีเวน
อาร์เทอรี พัลโมนารีเวน
เอเทรียมขวา เอเทรียมซ้าย
ลิ้นไตรคัสพิด ลิ้นไบคัสพิด
เวนตริเคิลขวา เวนตริเคิลซ้าย

ซุพีเรีย เอออร์ต้า
อินฟีเรีย
เวนาคาวา เวนาคาวา
ร่างกาย
หมุนเวียนเลือด
ออกแบบการทดลองและทดลองใน
การเปรียบเทียบอัตราการเต้นของ
หัวใจขณะปกติและหลังทากิจกรรม
?
A
การจับชีพจรสามารถจับได้ที่
บริเวณต่างๆ เช่น ข้อมือ
ข้อพับศอก ขาหนีบ หลังเท้า แต่
โดยปกติจะจับที่บริเวณข้อมือ
นักเรียนทราบหรือไม่ว่าอัตราการ
เต้นของหัวใจแต่ละคนเป็นเท่าไร
และกิจกรรมต่างๆ ของร่างกายมี
ผลต่อการเต้นของหัวใจหรือไม่
อย่างไร
ตอนที่ 1
จุดประสงค์ อุปกรณ์ วิธีการ บันทึกผล คาถาม
1. วัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยการจับชีพจร
2. ออกแบบการทดลองและทดลองเพื่อ
เปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจขณะพักและ
หลังทากิจกรรมต่างๆ
นาฬิกาจับเวลา
1. หงายมือข้างหนึ่งขึ้น แล้วใช้นิ้วของมืออีกข้างหนึ่ง
แตะเบา ๆ บนข้อมือที่หงายอยู่ตรงตาแหน่งที่
สามารถจับชีพจรได้ ดังภาพ
2. สังเกตและนับจานวนครั้งของชีพจรในเวลา 1 นาที
และบันทึกผล
3. ทาข้อ 2 ซ้าอีก 2 ครั้งแล้วหาค่าเฉลีย่
อัตราชีพจร (ครั้ง/นาที)
นักเรียนคนที่
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครัง้ ที่ 3 เฉลี่ย
1
2
?
1. ในเวลา 1 นาที อัตรา
การเต้นของหัวใจของนักเรียน
เป็นเท่าไร
A
อัตราชีพจรของคนปกติขณะพัก
ประมาณ 60 - 100 ครั้งต่อนาที
?
2. อัตราการเต้นของหัวใจ
ของทั้ง 3 ครั้งเท่ากันหรือไม่
อย่างไร
A
ตามผลที่ได้จากการทดลอง ซึ่งควรจะได้
ค่าเท่ากันหรือใกล้เคียงกันทั้ง 3 ครั้ง
?
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่า
อย่างไร
A
อัตราชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจของคน
แต่ละคนอาจแตกต่างกันไป แต่บุคคลที่มีเพศ
เดียวกัน อายุเท่ากัน ขนาดของร่างกายเท่ากัน
ควรมีอัตราการเต้นของหัวใจใกล้เคียงกัน
ตอนที่ 2
1. วัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยการจับชีพจร
2. ออกแบบการทดลองและทดลองเพื่อ
เปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจขณะพักและ
หลังทากิจกรรมต่างๆ
นาฬิกาจับเวลา
1. ออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลการทา
กิจกรรมต่าง ๆ ที่มีต่ออัตราการเต้นของหัวใจโดย
ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ระบุตัวแปรต้น ตัวแปร
ตาม และตัวแปรควมคุม
2. ทาการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน และบันทึก
ผลตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้
3. อภิปราย สรุปผลการทดลอง และนาเสนอผลงาน
สมมติฐาน
ตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม
ตัวแปรควบคุม
อัตราชีพจร (ครั้ง/นาที)
กิจกรรม
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครัง้ ที่ 3 เฉลี่ย
ขณะพัก
เดินไปเดินมา
?
1. คาถามและสมมติฐานของ
การทดลองในตอนที่ 2 คือ
อะไร
A
อัตราการเต้นของหัวใจขณะพักและหลังทากิจกรรม
จะแตกต่างกันหรือไม่ สมมติฐานของการทดลอง
เช่น อัตราการเต้นของหัวใจหลังจากทากิจกรรม
ต่าง ๆ จะมากกว่าขณะพัก
?
2. กิจกรรมใดที่ทาให้อัตรา
ชีพจรมากที่สุดและน้อยที่สุด
A
ขึ้นอยู่กับผลการทดลองของนักเรียน
?
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่า
อย่างไร
A
อัตราการเต้นของหัวใจหลังจากทากิจกรรม
จะมากกว่าขณะพัก การวิ่งเป็นกิจกรรมที่
ทาให้อัตราการเต้นของหัวใจมากที่สุด
?
อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกาลังกาย
ระหว่างนักกีฬากับบุคคลที่ไม่ค่อยได้ออก
กาลังกายแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
A
ขณะออกกาลังกาย นักกีฬามีอัตราการเต้นของหัวใจต่ากว่าบุคคล
ที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย ทั้งนี้เนื่องจากนักกีฬาออกกาลังกาย
เป็นประจา จึงเป็นการช่วยบริหารกล้ามเนื้อของร่างกายรวมถึง
กล้ามเนื้อหัวใจอย่างสม่าเสมอ ทาให้หัวใจแข็งแรงสามารถสูบฉีด
เลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าบุคคลที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย
?
ในขณะที่หัวใจบีบตัวเพื่อสูบฉีดเลือดไปยังส่วน
ต่างๆ ของร่างกาย และคลายตัวเพื่อรับเลือด
จะทาให้เกิดแรงดันที่เลือดกระทาต่อผนังหลอด
เลือด เรียกว่า อะไร
A
ความดันเลือด
(blood pressure)
ความดันเลือดประกอบด้วยตัวเลข 2 ค่า ค่าแรกเป็นความดัน
สูงสุดขณะหัวใจบีบตัวหรือเรียกว่า ความดันซีสโทลิก คน
ปกติขณะพักมีค่าอยู่ในช่วง 100–140 mmHg ส่วนค่าหลัง
เป็นความดันขณะที่หัวใจคลายตัวหรือความดันไดแอสโทลิก
โดยคนปกติขณะพักจะมีค่าอยู่ในช่วง 60–90 mmHg
ผู้ที่มีความดันเลือดสูงคือมีความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ
140/90 mmHg สาเหตุหลักของโรคความดันเลือดสูงมาจาก
หลอดเลือดอาร์เทอรีแข็งตัว เนื่องจากการสะสมของ
ไขมันบริเวณผนังด้านในของหลอดเลือด

You might also like