You are on page 1of 5

รายงานบทปฏิบัติการที่ 8 โรคพืชที่สำคัญและการจัดการ

รายวิชา 332303 เทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจ

จัดทำโดย

1. นายวรพล ด้วงช้าง รหัสนักศึกษา


B6210076
2. นายพชร เชิดชัย รหัสนักศึกษา
B6206536
3. นายพงษ์เพชร อินภู่ รหัสนักศึกษา
B6206826
4. น.ส.กนกวรรณ ธรรมะลา รหัสนักศึกษา
B6206642

กลุ่มเรียนที่ 2 กลุ่มที่ 1

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐธิญา เบือนสันเทียะ

บทปฏิบัติการเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชา 332303 เทคโนโลยี


การผลิตพืชเศรษฐกิจ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ปี การศึกษา 2/2564

การประเมินความเสียหายจากโรคพืช

วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบและมีทักษะในการประเมินความเสียหาย
จากโรคพืช

การปฏิบัติ
1. อาจารย์ผ ู้ควบคุมบรรยายและสาธิตวิธีก ารประเมิน ความเสียหาย
จากโรคพืชในชัน
้ เรียน
2. นักศึกษาเข้าประเมินความเสียหายที่เกิดจากโรคพืชในสภาพไร่ โดย
ใช้ชนิดพืชและวิธีการประเมินตามที่อาจารย์ผู้ควบคุมกำหนด
3. จัดทำรายงานผลและข้อสังเกตที่ได้จากกิจกรรม

ชื่อพืช กรรม จำนวน ชื่อโรค ระดับคะแนน จำนวน คำนวณ


วิธ ซ้ำ 0 1 2 3 4 5 ต้น/ใบ ร ะ ด ับ
ท ี่เ ป ็ น ความ
โรค รุนแรง
ด า ว T1 1 17 0 0
เรื่อง 2 17 0 0
-
3 17 0 0
4 17 0 0
T2 1 17 0 0
-
2 17 0 0
3 17 0 0
4 17 0 0
สลัด T1 1 18 0 0
2 18 0 0
-
3 18 0 0
4 18 0 0
T2 1 18 0 0
2 18 0 0
-
3 18 0 0
4 18 0 0
ข้าวโพด T1 1 โรคใบจุด 2 5 3 10 35%
2 ข้าวโพด 2 1 6 1 10 40%
3 (Leaf 5 3 2 10 47.5%
4 Spot) 7 3 10 32.5%
รวม / 4 1 1 6 40 38.75%
เฉลี่ย 3 7
*T1 ระบบน้ำหยด
*T2 ระบบมินิสปริงเกอร์
สรุปผลการทดลอง
จากการสำรวจโรคพืชด้วยตาเปล่าภายในแปลงพืชปลูกทัง้ 3 ชนิด
ได้แก่ ผักสลัดพันธุ์บัตเตอร์เฮด ดาวเรืองพันธุ์คาน่า โกลล์ และข้าวโพด
พัน ธุ์ไ ฮบริก ซ์ พบว่า ผัก สลัด และดาวเรือ งไม่ม ีเ ชื้อ สาเหตุโ รคพืช เข้า
ทำลายอาจเป็ นเพราะว่าพืชที่ปลูกมีอายุสน
ั ้ ระยะแถวของพืชปลูกมีการ
จัด การที่ดี ไม่ป ลูกแน่น เกิน ไป จึง ทำให้พ ืช ปลูกไม่เ กิด โรค จึง ยัง ไม่ต ้อ ง
ป้ องกันและกำจัด ส่วนข้าวโพดพันธุ์ไฮบริกซ์ พบว่าบริเวณใบของข้าวโพด
ทัง้ 4 แถว มีล ก
ั ษณะอาการของโรคใบจุด ข้า วโพด ระดับ ความรุน แรง
เท่ากับ 38.75 เปอร์เว็นต์
วิจารณ์ผล
จากการสำรวจแปลงสลัดและดาวเรืองไม่พบโรคพืชในทัง้ ระบบน้ำ
หยดและสปริงเกอร์ เนื่องจากปลูกพืชลงได้ไม่นาน จึงไม่พบการเข้า
ทำลายให้พืชในแปลง ในส่วนของแปลงข้าวโพดพบโรคใบจุดกระจายอยู่
ทั่วแปลง ระดับความรุนแรงอยูที่ 1 2 และ 3 ซึง่ ยังสามารถยับยัง้ หรือ
ควบคุมการเกิดโรคได้ แต่การสำรวจครัง้ นีย
้ ังเป็ นการประเมินด้วยสายตา
ยังไม่มีความแม่นยำมากพอ

You might also like