You are on page 1of 67

วิชาการรบภายใต้

สภาพพิเศษ

ผู จ
้ ด
ั ทา

หลักสู ตรชนนายั
พันเหล่า ร.
รุน ่
่ ที 117
การปฏิบต
ั ก ้ สิ
ิ ารรบในพืนที ่ ง่
ปลู กสร ้างถาวร
หลักฐานอ ้างอิง

•รส. 90 – 10 การรบในเมือง พ.ศ.


2548
•รส. 90 – 10 -1 การรบในเมือง
พ.ศ. 2555
วัตถุประสงค ์
1. เข้าใจถึงความจาเป็ นของการ
ปฏิบต
ั ก ้ สิ
ิ ารรบในพืนที ่ งปลู
่ กสร ้างถาวร

2. มีความรู ้เกียวก บ
ั การแบ่งประเภทของ
้ สิ
พืนที ่ งปลู
่ กสร ้างถาวร ในลักษณะ
ต่างๆ
3. ทราบถึงหลักการเบืองต้้ ่
น เกียวกับการ
ปฏิบต
ั ก ้ สิ
ิ ารยุทธ ์ ในพืนที ่ งปลู
่ กสร ้างถาวร

ทังการปฏิ บต ิ ารรบด้วยวิธรี ุกและวิธรี ับ
ั ก
หัวข ้อการบรรยาย

1. ลักษณะและประเภทของเมือง
้ สิ
2. การรบด้วยวิธรี ุกและวิธรี ับในเมืองและในพืนที ่ งปลู
่ กสร ้างถาวร
3. บทเรียนจากการรบในเมือง
3.1 บทเรียนจากการรบในประเทศโซมาเลียเหตุการณ์โมกาดิชู
3.2 บทเรียนจากการรบในประเทศอิร ัค
3.3 บทเรียนจากการรบในประเทศซีเรีย
้ สิ
ประเภทของพืนที ่ งปลู
่ กสร ้าง
เมือง
- เมืองทีมี ใหญ่
่ พลเมื ้
อง 100,000 คนขึน
ไป
- ประชากรหนาแน่ นใจกลางเมือง
- แผ่ขยายชุมชนต่างตามพืนที ้ ่
ชานเมือง
้ ่
- อาจมีเมืองเล็กๆรวมอยู ่ในพืนที
เมืองและนคร
ขนาดเล็ก
- พลเมือง 3,000 – 100,000 คน

- อาจตังอยู ่ตามถนนสายหลัก หรือตาม
หุบเขา
-อ ัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่ อง
เช่นเดียวก ับเมืองใหญ่
หมู ่บา้ น
- พลเมือง น้อยกว่า ๓,๐๐๐
คน
-มักจะเป็ นเมืองทีท่ า
เกษตรกรรม
ี่ งอยู
-มักมีทตั ้ ้ ราบ
่ตามพืนที ่
เมืองตามเส้นทาง
่ ่ระหว่างหมู ่บา้ น กับเมือง
- เมืองทีอยู
และนครขนาดเล็ก
- อาจพบตามเส้นทางหลักทีเชื ่ อมต่
่ อ
กับเมืองขนาดใหญ่
โครงสร ้างของเมือง
่ ลก
เมืองทีมี ั ษณะ
โครงสร ้างเหมือนดุมล้อ
- อยู ่ใจกลางเมืองทุกรู ปแบบ
- มีขนาดตงแต่้ั หมู ่บา้ นจนถึงขนาดเมือง
- สนับสนุ นฝ่ายตงร ้ั ับเหมือนหัวใจ/ทีมั
่ นหลั
่ กในการตง้ั
ร ับ

- กันเส้ นหลักการรุกฝ่ายเข้าตี ทาให้น้ าหนักในการเข้า
ตีเป็ นกลุ่มก้อนลดลง
- ฝ่ายเข้าตีตอ ่
้ งเปลียนทิ ศทาง และง่ ายต่อการถู กซุม

โจมตี/เข้าตีทางปี ก

เมืองทีมีโครงสร ้างเหมือน
ดาวเที
- เหมือนเมืองแบบดุ มล้อ แต่ยี มม
มช ุ ชนขนาดเล็ก
กระจายอยู ่รอบเมืองใหญ่
- อาจเป็ นหมู ่บา้ น หรือ เมือง/นครขนาดเล็ก
- ปกติอยู ่ในความร ับผิดชอบระดับกรม/กองพล
- สนับสนุ นเส้นทางส่งกาลังบารุง/ถอนตัว/

เพิมเติ
มกาลัง/การตังร ้ ับทีมั ่
่ นรบเป็ นจุด/
สนับสนุ นกันและกันฝ่ายตังร ้ ับ
- สนับสนุ นแนวทางการเคลือนที ่ ่ นทางออก
/เส้
จากเมืองหลายเส้นทางให้แก่ฝ่ายเข้าตี
่ โครงสร ้าง
เมืองทีมี
เหมือนใยแมงมุม
- คล้ายแบบดาวเทียมมีดุมล้อตรงกลาง ขยาย
ออกแบบดาวเทียม

เชือมโยงกับเมื องแบบดาวเทียมหลายๆเมือง
- ควรใช้หน่ วยระดับกองพลขึนไปเข้้ าปฏิบ ัติ
- มีลก ่
ั ษณะในการพึงตนเองมากกว่ าการ

สนับสนุ นซึงกันและกัน
- สนับสนุ นการรงหน่ ้ั ่
วง/การใช้เครืองกี ดขวาง
้ ับ
ให้ก ับฝ่ายตังร
(ส่วนใหญ่ยานเกราะผ่านไม่ได้)
- เหมาะกับการตังร ้ ับทางลึก
่ ลก
เมืองทีมี ั ษณะ
โครงสร ้างเป็ นแนวยาว

- เป็ นเมืองแบบดุมล้อเล็กๆทีวางตัวตามแนว
ข่ายถนน

- เชือมโยงในเมืองแบบดาวเทียมหรือตาม
่ อม
เส้นทางทีเชื ่
ระหว่างเมืองแบบดุมล้อ
- มักสร ้างตามแนวทางเคลือนที ่ ่
ในภู มป
ิ ระเทศ
- ควรใช้หน่ วยระดับกองพัน ถึงกรม
- เหมาะกับการตังร้ ับทางลึก
- ทาให้ฝ่ายเข้าตีตอ ่
้ งเคลือนที ่ าลงและใช้การ
ช้
เข้าตีประณี ต

เมืองโครงสร ้างแบบเสียว/

ชินขนมพาย
- ส่วนหนึ่ งของเมืองแบบดาวเทียมซึงเชื
่ อมต่
่ อ
ในเมืองดุมล้อขนาดใหญ่
- ถูกแบ่งออกโดยสภาพภู มป ่ นช ัด
ิ ระเทศทีเด่
- มีผลกระทบต่อการกาหนดเขตปฏิบต ั ก
ิ ารของ
หน่ วย
- หน่ วยทุกระดับสามารถปฏิบตั ก
ิ ารในเมืองแบบ

นี ได้
รูปแบบของสิงปลูก ่
่ ่เป็ นกลุ่ม/ไม่
สร ้างและถนน
แบบ ก อาคารทีอยู
เป็ นระเบียบ
- เมืองแบบเก่า มีเส้นทางแคบๆ และ
ไม่เป็ นรู ปทรง

เชือมต่ อกันจากใจกลางเมือง
- พบได้ในเมือง หมู ่บา้ น
- อาคารอยู ่ใกล้ก ัน/อยู ่ตามขอบถนน
แบบ ก อาคารทีอยู่ ่เป็ นกลุ่ม/
ไม่เป็ นระเบียบ
- เมืองแบบเก่า มีเส้นทางแคบๆ และไม่เป็ น

รู ปทรงเชือมต่ อกัน
จากใจกลางเมือง
- พบได้ในเมือง หมู ่บา้ น
- อาคารอยู ่ใกล้ก ัน/อยู ่ตามขอบถนน
แบบ ข (อาคารแบบตึกแถวที่
อยู ่ตด
ิ กัน)

- ถนนกว้าง/ตัดกันเป็ นสีเหลี ่
ยมผืนผ้า
- มีอาคารสร ้างต่อกันโดยหันหน้าออกติด
ถนน
- พบในใจกลางของเมือง
แบบ ค (อาคารพักอาศ ัย
กระจายห่างกัน) ่
- ปกติอยู ่ตด
ิ ก ับตึกแถว ประกอบด้วยบ้านเดีย
ห้องแถว
- สนามหญ้า สวน ต้นไม้ และรว้ั

- ถนนเป็ นสีเหลี ่
ยมผื นผ้าหรือโค้ง
้ อาคาร
แบบ ง (พืนที ่
สู ง)
- อาคารสมัยใหม่ พบในเมืองใหญ่ /เมือ
เล็ก
- อาคารมีหลายชนสู ้ั ง(เป็ นผลให้พนที
ื้ ่
รอบข้างเปิ ดโล่ง)

- ถนนกว้าง/สีเหลี ่
ยมผื
นผ้า
แบบ จ (อาคารอุตสาหกรรม
และการขนส่ง)
- อาคารเก่ า ๆ พบในพื ้นที่
อาคารเป็ นกลุ่ม ๆ
แ ล ะ อ า ค า ร ที่ เ ป็ น ตึ ก แ ถ ว
ติดกัน
- สรา้ งเป็ นแบบเตีย ้ ๆ หลังคา
เรียบ

- ตังอยู ่ ใ กล้ถ นนหลัก หรือ
การรบด้วยวิธรี ุก
ข้อควรพิจารณาในการ
เข้าตีในเมือง
ิ่
การเข้าตีสงปลู กสร ้างกระทาเมือ ่

- ต้องการยึดทีหมายส ่ ดขวางการใช้ปร
าค ัญเพือขั
- เจาะแนวตงร้ั ับข้าศึก
- อานวยความสะดวกการปฏิบต ั ใิ นอนาคต
(ฐานในการเข้าตีตอ ่ ไป)
- ทาลายขว ัญข้าศึก

ควรเลียงการเข้ ่
าตีในเมืองเมือ
้ นั
- พืนที ้
่ นไม่ สนับสนุ นการปฏิบต ั ใิ น
อนาคต
- อ้อมผ่านได้

- เมืองนันประกาศตั วยอมให้ผา
่ น/
ร ักษาอาคาร
ประว ัติศาสตร ์
- กาลังไม่เพียงพอ
การมองเห็น
- การตรวจการณ์ไสนามรบ
ด้ 1 ช่วงตึก / อาคาร 1 หลัง / 1 ห้อ
- ปกติใช้สว่ น ลว.เดินเท้าแทรกซึมหาข้าศึก

- สิงปลู ้ั ับซ่อนส่วนควบคุม/บังค
กสร ้างอานวยฝ่ายตงร
บัญชา/สสก./สสช.

- สิงปลู กสร ้างลดประสิทธิภาพเฝ้าตรวจพืนดิ ้ น / อิน
ฟาเรด /กล้องตรวจจับเป้ าหมาย
- ภาพถ่ายทางอากาศให้รายละเอียดภายนอกอาคาร
- ในอาคารต้องตรวจจับด้วยคลืนแม่ ่ เหล็กไฟฟ้า
- ฝ่ายเข้าตีลดประสิทธิภาพของฝ่ายตงร ้ั ับ
ด้วยการลาดตระเวนของ ผบ.
รวมอานาจกาลังรบให้
เหนื อกว่า
- รวมอานาจกาลังรบในพืนที ้ ที
่ ไม่
่ มส ิ่
ี งปลู กสร ้าง
- สนับสนุ นด้วยการลวง
้ั ับจาก ัดการเพิมเติ
- ฝ่ายตงร ่ มกาลัง / การโยกย้ายกาลง
้ั
- กระทาตงแต่ ้ั
ขนการวางแผนโดยมอบส่ วน สสก.โดยเฉ
- ป.สนาม,ปตอ.,ฮ.โจมตี และการสนับสนุ นทางอากาศ

- ฝ่ายเข้าตีเสียงในตอนที ่
จะเข้ ่ นขอบ
ายึดทีมั ่
การยิงกดดันข้าศึก
เมือง
- ยิงกดดัน/ทาลาย อาวุธฝ่ายตังร ้ ับทียิ
่ งจากที่
กาบัง
- กองพัน/กองร ้อยต้องการการยิงเล็งตรง
มากกว่า

- ป.สนามยิงเล็งตรง เพือกดดั นข้าศึกในกาบัง
แข็งแรง

- ใช้ระเบิดควันจานวนมากเพือพรางตั วหน่ วยใน
ระยะประชิด

- เครืองมืออิเล็กทรอนิ กส ์สนับสนุ นการปฏิบต ั /ิ
ตรวจจับ/รบกวน
- หากไม่สามารถยิงกดดันหรือรบกวนอุปกรณ์
พิจารณาเข้าตีเวลากลางคืน
การจู โ่ จม
้ สิ
- แบ่งแยกพืนที ่ งปลู
่ กสร ้าง/เจาะทะลุดว้ ยหน่ วยนาต่อ
- การเจาะต้องร ักษาน้ าหนักกระทังแนวต ่ ้ั ับแยกออกจ
งร
่ ดอยู ่ก ับทีต้
- หน่ วยทีหยุ ่ องยิงกดด ัน
- กองหนุ นต้องหาทางอ้อมผ่าน/ตีโอบเร่งด่วนทางปี กแ
- ไม่ยอมให้ฝ่ายตงร ้ั ับเสริมความมันคง ่
- ทาลาย/แยกข้าศึกให้โดดเดียว ่
้ สิ
- ก่อนจะเข้ายึดพืนที ่ งปลู
่ กสร ้าง
เข้าตีทางด้านหลัง

- ค้นหาและทาลายส่วนบังคับบัญชา ส่วน สสก. และ ส่ว


- อาจใช้การแทรกซึมด้วยกาลังภายใต้ทศ ั นวิสย
ั จากัด
- ใช้หน่ วยกาลังทางอากาศ หรือหน่ วย ถ.เข้าตีตลอดพ
- การแตกของแนวตังร ้ ับ ส่วน บช. และถู กทาลาย สป. จ
ให้มค ่
ี วามหนุ นเนื องของ
การสนับสนุ น
- การ สสก.และ สสช.เป็ นสิงจ่ าเป็ น
่ นข้
- ถ.,ป. ช่วยยิงทาลายทีมั ่ าศึก

- ทหารช่างช่วยเจาะช่องเครืองกี ดขวาง
- ป.,ฮ.จต.,การสนับสนุ นทางอากาศทาส่วน บช. แตกกระจ

- ปตอ.ป้ องก ันภัยทางอากาศให้กาลังฝ่ายเราทังหมด
- ชุดส่งกาลัง/ซบร.ส่วนหน้าช่วยร ักษาน้ าหนักในการเข้าต
- สห.ช่วยจัดการจราจร/ควบคุมพืนที ่ วนหลัง
้ ส่
- หน่ วยข่าว/สงครามอิเล็กทรอนิ กส ์ช่วยหาข่าวที่ ผบช.ต
การเข้าตีเร่งด่วน
-กิจจาเป็ น 3 ประการ คือ
1. หาจุดอ่อน/ช่องว่างแนวตงร ้ั ับ
2. ตรึงข้าศึกส่วนแรกในทีมั ่ น่

3. เคลือนก าลังเข้าช่องว่างอย่างรวดเร็วและขย
-กระทาเมือข้่ าศึกเปิ ดเผยจุดอ่อน ใช้ความเร็ว ร ักษ
-เทคนิ คการบังค ับบัญชาป้ องกันการคบ ่ั
ั คงของก าล
-ใช้กาลังตรึงข้าศึกเท่าทีจ่ าเป็ น และจ ัดส่วนเข้าตีห
-ควรมอบภารกิจต่อไปไว้ดว้ ย เพือให้ ่ มกี ารเตรียมก
การเข้าตีประณี ต
่ าศึกมีการเตรียมการดี เครืองกี
- เมือข้ ่ ดขวางใน
เมืองหนาแน่ น
หรือผลการจู โ่ จมไม่สาเร็จ

-แบ่งเป็ น 3 ขันตอนคื อ

1. แยกให้อยู ่โดดเดียว
2. โจมตี
3. กวาดล้าง

ขันตอนที ่ ๑แยกให้อยู ่โดด
เดี
ยว่
- หน่ วย ถ. สนับสนุ นด้วย ตถ. และ ป.สนามควบคุมภู ม
- จัดวางอาวุธยิงเล็งตรงและเล็งจาลอง ในพืนที ้ ที่ อยู
่ ่ใก
้ั ับต้องต ัดสินใจเพิมเติ
- ทาให้ฝ่ายตงร ่ ่
มกาลังเพือให้ การ
หรือตีฝ่าวงล้อม

ขันตอนที ่ ๒ การ
- การเข้าตีโอบทางปี ก/ด้านหลัง
- ตรึงกาลังฝ่ายตงร้ โจมตี ่ าเป็ น
ั ับด้วยกาลังเท่าทีจ
หันเหความสนใจข้าศึกจากส่วนเข้าตีหลัก
- หากมีกาลังไม่มากพอ
อาจใช้การยิงเพือตรึ่ งข้าศึก
- ใช้ความคล่องแคล่ว การจู โ่ จม
รวมอานาจการยิง คว ันพรางยึดขอบเมือง
- แบ่งแยกแนวตงร ้ั ับในระหว่างการตีเจาะ
หรือตีโอบ
- ส่วนโจมตีประกอบกาลังด้วยรถถัง
ทหารราบ และทหารช่าง
้ ่
ขันตอนที ๓ การ
- กวาดล้างเป็ นส่วนๆจากอาคารสู ่อาคาร และขยายไ
กวาดล ้าง
- กวาดล้างส่วนทีต ่ งร
้ั ับเบาบางยึดทีหมายส
่ าค ัญก่อน

- ส่วนทีตามมาจะกวาดล้ างอย่างละเอียดต่อไป
่ กองหนุ นเมือต้
- จะสังใช้ ่ องการให้มก ้ มั
ี ารเข้าตีซาที ่ น


- หน่ วยทีปะทะ/เคลื ่
อนที ่ าปะทะอาจยังไม่ตอ
เข้ ้ งกวาด

ทีหมาย
- เป็ นทีที ่ ตรวจการณ์
่ เห็นได้อย่างดี
- จุดควบคุมเส้นทางเข้า/อ้อมผ่านเมือง/ม
สร ้างขึน ้

- ทีหมายขั ้ นคือทีมั
นต้ ่
่ นขอบเมื อง

- ทีหมายขั ้ สองอาจยึ
นที ่ ่ ความจาเป
ดเมือมี
ภารกิจ

- ทีหมายสุ ดท้าย
อยู ่ทางออกเมือง

แนวขัน

- ควบคุมส่วนนาของกาลังเข้าตี
- สังเกตได้ง่าย เช่น ถนนใหญ่ แม่น้ าแนว
รถราง แนวทางรถไฟ
เขตปฏิบต
ั ก
ิ าร

- ในระด ับกรมและตากว่าต้องกาหนดให้เสมอ
้ ร่ ับผิดชอบ
- ใช้ควบคุมการยิงและมอบพืนที
- ปกติกาหนดโดยใช้ตรอก ซอย หรืออาคารเป
ช่วงๆ
จุดตรวจและจุด
ประสาน

่ ่ / จุด
- ช่วยในการรายงานตาแหน่ งทีอยู
นัดพบระหว่างหน่ วย
- สังเกตง่ าย เช่น มุมถนน อาคาร
่ ามทางรถไฟ สะพาน
- ทีข้
การรบด้วยวิธรี ับ
ข้อควรพิจารณาในการตังร ้ ับ
้ ่สิงปลู

ในเมื อ ง
น าพืนที ก สร า้ งประกอบกับ ภู ม ิ
ประเทศตามธรรมชาติ
มารวมกับแผนการตังร ้ ับเมือต้
่ องการ
- ควบคุมแนวทางเคลือนที ่ ่ าสู ่
เข้
แนวตังร ้ ับ
- ให้ฝ่ายตังร้ ับมีอานาจกาลังรบมาก

ขึน
- ซ่อนพรางกาลังของตน
- ยึดร ักษาศู นย ์กลางการขนส่ง
- ขัดขวางทางยุทธศาสตร ์/ทาง
การเมืองฝ่ายข้าศึก
ข้อควรพิจารณาในการตัง้
้ ่ ่ ร ับในเมื
อ ง
เราจะไม่นาพืนทีสิงปลู กสร ้างมารวม
กับแผนการตงร้ั ับเมือ

- ไม่มคี วามเข้มแข็งกองกาลังเพียงพอทีจะตั ่ ้ ับ
งร
้ สิ
- พืนที ่ งปลู
่ ้ ับ
กสร ้างไม่สนับสนุ นการตังร
- ข้าศึกอ้อมผ่านภู มป ่ ดกับเมืองนันได้
ิ ระเทศทีติ ้
- โครงสร ้างอาคารในเมืองไม่สามารถให้การ
ป้ องกันฝ่ายตังร ้ ับ
- มีภูมปิ ระเทศใกล้เคียงทีสู ่ งกว่า

- เมืองนันประกาศตนเป็ นกลาง
เข้าใจ
ข้าศึก
- ผบ.ต้องคิดในมุมมองข้าศึก
- แล้วพิจารณาแบบการตังร้ ับ / อาวุธท
เหมาะสมกับ
ภู มป
ิ ระเทศ
มองเห็นภาพสนามรบ
- ลว.,เฝ้าตรวจ,กาหนด ปม. ให้ไกลทีสุ่ ดตาม
แนวทาง ขศ.
- ปฏิบตั ท
ิ างลึก,EW จากัดการ ลว.,แทรกซึม
ขศ.

- สือสารมากขึ ้
นเพื ่
อประสานงานการรวม
อานาจกาลังรบ
รวมอานาจกาลังรบในตาบลและเวลา
่ กฤต
ทีวิ ่
- เลือก,ลว.เส้นทาง เตรียมการเคลือนกาลัง
- มีแผนการควบคุมการจราจร ควรเลียง ่
เส้นทางจาก ัด

- กาลังเพิมเติ ้ ที
มวางพืนที ่ ่ ขศ.จะไม่รุกเข้ามา

- ลดความเสียงก ่
าลังเพิมเติ มโดยการคุม ้ ครอง
ทางอากาศ
รบแบบผสมเหล่า
่ ง ใช้ ถ.,ร.(ยก.) เป็ นหลัก
- ทีโล่
่ งปลู
- ทีสิ ่ กสร ้างแน่ น ใช้ ร.(เท้า),ร.(ยก.) ส
ด้วย ถ.,ช.
- ต่อสู ร้ ะยะประชิด ใช้ ร. สนน.ด้วย ป.,ปต
โจมตี
ขยายผลเมือต่ งร
้ั ับ
ได้เปรียบ

- วางกาลังให้สามารถตอบโต้ ขศ.ได้ซาแล้
วซ
เล่า
้ ่
- ตอบโต้อย่างรุนแรงหลายๆ พืนที
้ ระวั
พืนที ่ งป้ องก ัน

- รบผสมเหล่า คล่องตัว
- โอนการรบ ต้องกดดน ั ไม่ให้
ขศ.ผ่อนคลาย
้ ตั
พืนที ้ ับหลัก
่ งร

- พิจารณาพืนที ้ ผ่
่ านได้ชา้ ทีเอื
่ อต่
้ อการ
้ ับ
ตังร
้ ับให้ไกลไปข้างหน้ามากทีสุ
- ตังร ่ ด
- พิจารณาใช้ส่วนประกอบของเมืองเป็ น
คกข.
- รวมภู มปิ ระเทศเด่นในแผน ป้ องกัน ขศ.

อ้อม/โดดเดียวเมื อง
- รบ ๓ มิต ิ
้ ส่
พืนที ่ วนหลัง


- แผนควบคุมการเคลือนย้ าย ทาอย่าง
ละเอียด
- รวป.ขศ.แทรกซึม ยุทธ ์ คทอ.
- จัดลาดับความเร่งด่วน การ รวป./การ

เคลือนย้าย
การบังคับบัญชา/การควบคุม
เป็ นไปอย่างจากัด
สาเหตุ
- จาก ัดด้วยภู มป ิ ระเทศ
- การรบระยะใกล้
- ประสิทธิภาพการสือสาร ่
ลดลง
่ นรบแยกกันอยู
- ทีมั่ ่
้ นที
้ ร ้อมกันทังพื
- ต่อสู พ ้ ่
ปั จจ ัยพิจารณาในการ
ควบคุมบังคับบัญชา
- รายงานเร็ว ผบช. ควรอยู ่คอ ่ นไปด้านหน้าของ
แนวตงร ้ั ับ
- ตงร้ั ับทางลึกใช้กาลังส่วนอืนมาเสริ
่ ้ั ับได้
มในการตงร
ง่ าย
- ความสาเร็จอยู ่ที่
1. แผนละเอียด แต่ง่าย มาตรการควบคุม
ช ัดเจน
(วางแผนรวมการ)
2. แผนบอกถึงการทา “อะไร”/“อย่างไร” จึงจะ
บรรลุภารกิจ

(เพือปฏิ
บตั แ
ิ ยกการ)
มาตรการควบคุมใน
้ั ับ
การตงร
้ ปฏิ
1.พืนที ่ บต ั ก
ิ าร
่ นรบ
2. ทีมั ่
3. แนวขันการ ้
เคลื ่ ตรวจสอบ
4. จุอนที
ด ่
5.มาตรการจาก ัดการ
ยิง
การสนับสนุ นการช่วย
รบ
้ ่
การจัดพืนที
สนับสนุ น

- ตังไปข้ างหน้าให้มาก
่ ด
ทีสุ
- กระจายกาลังตาม
อาคารเล็กๆ

- ระวังป้ องกันทังจาก
ขศ. และ ขโมย
- สัมภาระรบของหน่ วย
ต้องใหญ่ขน ึ้
การส่งกาลัง

- เน้นการแจกจ่ายถึงทีตั่ งหน่
้ วย
- สะสมเสบียง ค. /น้ า
่ ่ นไฟ
- สป.3 ใช้มากกับเครืองปั
- ซากปร ักหักพังช่วยลด คตก. ลวดหนาม
กระสอบทราย
- สป.5 ใช้มากกว่าปกติ ควรส่งกระสุนถึง
รบกองพัน
การขนส่ง
- เส้นทางขนส่งของทหารต้องควบคุมก
- เส้นทางรถไฟใช้ขนส่งยุทโธปกรณ์น้ า
มาก
- ดู แลเส้นทางโดย ช.
- ฮ.เหมาะขนส่งเร่งด่วน
การซ่อมบารุง
- ซากปร ักหักพังจาก ัดการส่งกลับมา ซบร.
ในส่วนหลัง
- ควร ซบร. โดยหน่ วยเอง / ชุด ซบร.
สนับสนุ นโดยตรง
การร ักษาพยาบาล

การเคลือนย้
ายศพ

- จาก ัดเช่นเดียวกับเคลือนย้ ายผู บ
้ าดเจ็บ
- ใช้ชด ่
ุ เปลเดียวกันกับการเคลือนย้ าย
ผู บ
้ าดเจ็บแต่
กระทาหลังจากส่งกลับผู บ ้ าดเจ็บหมดแ
การดาเนิ นการกับพล
เรือน
- พลเรือนอพยพบนถนน กีดขวางการยุทธ ์ /
จากัดการยิง

- วางสนามทุ่นระเบิด เลียงเส้นทางพลเรือน/
จัดคนเฝ้า
่ ชว
- ไม่ทาลายอาคารทีใช้ ่ ยชีวต
ิ เช่น รพ.
การควบคุมผู อ
้ พยพ
้ พลเรื
- จาก ัดพืนที ่ อน ในทีที ่ ไม่
่ มที หาร
- ค้นหาสายลับ
- ควบคุมการจราจร
- ใช้มาตรการบังคบ ั ให้เกิดความสงบเรียบร ้อ
การปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ พลเรือน

- ร ักษาพยาบาลพลเรือนที่
บาดเจ็บทันที
- ปฏิบตั ต
ิ ่อผู ถ
้ ูกจับกุมอย่าง
เมตตา
- ปกป้ องอ ันตรายทีจะเกิ่ ดต่อพล
เรือนในควบคุม
การป้ องกันทร ัพย ์สิน
พลเรือน
- ไม่ทาลายทร ัพย ์สิน
สถานทีว่ ัฒนธรรม
- ป้ องก ันไม่ให้ขา้ ศึกใช้
ประโยชน์
- การหยิบเป็ นทีระลึ่ ก คือ
การขโมย
บทเรียนจากการรบ
การรบในเมือง

1. การรบทีประเทศ
โซมาเลีย
ยุทธการณ์ โม
กาดิชู

หรือทีชาว โซมาเลีย เรียกว่า Ma-alinti Rangers

แปลว่า วันแห่งการรบทีโมกาดิ ชูงพวกเรนเจอร ์ คือ
การรบภายใต้ ปฏิบต ั ก
ิ ารโกธิคเซอร ์เพนท ์ (Operation
Gothic Serpent) ซึงมี ่ จุดมุง่ หมายในการจับกุมตัว ผู น ้ า
แห่งพันธมิตรแห่งชาติโซมาเลีย ทีภั ่ กดีตอ ่ โมฮัมเมด ฟา
ราห ์ ไอดิด 2 คน คือ Omar Salad Elmi และ Mohamed
Hassan Awale การสู ร้ บเริมขึ่ นในวั
้ นที่ 3 และวันที่ 4
ตุลาคม พ.ศ. 2536 (1993) นาโดยกองกาลัง
สหร ัฐอเมริกา สนับสนุ นด้วยกองกาลังสหประชาชาติ ใน
โซมาเลียชุดที่ 2 (UNOSOM II) ต่อสู ก ้ บ
ั ทหารบ้านชาว
โซมาเลีย
่ กดีตอ
ทีภั ่ โมฮัมเมด ฟาราห ์ ไอดิด การรบในกรุงโมกาดิชู
้ั ถื
ครงนี ้ อเป็ นครงแรก
้ั โดยครงที้ั ่ 2นันเกิ
้ ้
ดขึนในปี พ.ศ.
2549 (2006)
วันที่ 3 – 4 ตุลาคม พ.ศ. 2536
สถานที่ กรุงโมกาดีชู , ประเทศ โซมาเลีบย
ผล กองกาลังร่วมเรนเจอร ์ปฏิบต
ั ภ
ิ ารกิจสาเร็จ
ลุล่วง
คูส
่ งคราม
สหร ัฐอเมริกา ทหารบ้านของพันธมิตรแห่งชาติ
 หน่ วยเดลตา โซมาเลีย
 หน่ วยจูโ่ จมกองท ัพบกสหร ัฐอเมริกา
 กรมบินปฏิบต ิ ารพิเศษที่ 160
ั ก
 หน่ วยซีล กองทัพเรือสหร ัฐอเมริกา
กองกาลัง
สหประชาชาติ
 มาเลเซีย
 ปากีสถาน
ผู บ
้ งั ค ับบัญชาและผู น
้ า
วิลเลียม เอฟ. แกริสน
ั โมฮัมเมด ฟาราห ์ ไอดิด
ความสู ญเสีย
สหร ัฐฯ ทหารบ้านและพลเรือน
เสียชีวติ 18 นาย เสียชีวต
ิ อย่างน้อย 1,000 คน
บาดเจ็บ 73 นาย บาดเจ็บอย่างน้อย 3,000 คน
ถูกจับเป็ นเชลย 1 นาย
มาเลเซีย
เสียชีวต
ิ 1 นาย
บาดเจ็บ 7 นาย
ปากีสถาน
บทเรียนจากการรบ
การรบในเมือง
2. การรบที่
ประเทศ อิร ัก
สงครามอิร ัก ่ ดขึนในประเทศ
เป็ นความขัดแย้งทีเกิ ้

อิร ัก ตังแต่วน ั ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2546 ด้วยการรุกราน
อิร ักโดยสหร ัฐอเมริกาซึงมี ่ ประธานาธิบดี จอร ์จ ดับเบิลยู
บุชเป็ นผู น
้ า และ สหราชอาณาจักรซึงมี ่ นายกร ัฐมนตรี
โทนี แบลร ์เป็ นผู น ้
้ า สงครามคราวนี อาจเรี ยกชืออื ่
่ น
ว่า การยึดครองอิร ัก, สงครามอ่าวครงที ้ั ่
สอง หรือ ปฏิบต ั ก
ิ ารเสรีภาพอิร ัก โดยทหารสหร ัฐ
สงครามครงนี ้
้ั สหร ัฐอเมริกาได้ประกาศให้สนสุิ ้ ดลงอย่าง
เป็ นทางการ เมือวั ่ นที่ 15 ธ ันวาคม พ.ศ. 2554 แม้ความ
รุนแรงประปรายยังมีตอ ่
่ ไปทัวประเทศ
บทเรียนจากการรบ
การรบในเมือง
2. การรบที่
ประเทศ ซีเรีย
สงครามกลางเมืองซีเรีย เป็ นการขัดกันด้วย
อาวุธหลายฝ่ายทีก ่ าลังดาเนิ นอยู ใ่ นประเทศซีเรีย โดยมี
ต่างชาติเข้าแทรกแซง ความไม่สงบเริมในต้ ่ นฤดูใบไม้ผลิ
ปี 2554 ในบริบทการประท้วงอาหร ับสปริง โดยมีการ

ประท้วงทัวประเทศต่ อร ัฐบาลประธานาธิบดี บัชชาร
อ ัลอะซ ัด ซึงก่ าลังของเขาสนองตอบโดยการปราบปราม
อย่างรุนแรง ความขัดแย้งค่อย ๆ กลายจากการประท้วง
ของประชาชนเป็ นการกบฏมีอาวุธหลังการปิ ดล้อมทาง
ทหารหลายเดือน รายงานสหประชาชาติฉบับหนึ่งใน
ปลายปี 2555 อธิบายความขัดแย้งว่า "มีสภาพนิ ยม
นิ กาย (sectarian) อย่างเปิ ดเผย" ระหว่างกาลังร ัฐบาล
ทหารอาสาสมัครซึงส่ ่ วนใหญ่เป็ นนิ กายอะละวี (Alawite)
และกลุ่มชีอะฮ ์ต่อสู ก ้ บ
ั กลุ่มกบฏซึงมี่ ซน
ุ นี เป็ นส่วน
ใหญ่ แม้ทงฝ ้ั ่ ายค้านและกาลังร ัฐบาลต่างปฏิเสธ

You might also like