You are on page 1of 32

2

ปี ส
นวต

ส ส.
ั กรร
สรา้ งเสรม ม

สขุ
ภาพ
01 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ หรือทีห่ ลายคนเรียกกันสัน้ ๆ วา “สสส.” หาก
ยอนกลับไปเมื่อป 2561-2563 สสส. ไดเปดโอกาสใหคนรุนใหมแสดงศักยภาพในการเปนนักคิด
นวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในสังคม ที่นับวันจะยิ่ง
สงผลกระทบตอการมีสุขภาพที่ดี จนเกิดเปนโครงการ “ThaiHealth Inno Awards” ดวยความตั้งใจที่จะบมเพาะ
ใหเยาวชนรูจักสํารวจปญหาสุขภาวะรอบตัว และพัฒนาเปนไอเดียหรือสิ่งประดิษฐที่สามารถใชงานไดจริง
โครงการยังมองตอไปดวยวาจะเกิดอะไรขึ้น หากคนรุนใหมที่มีความชอบเดียวกัน ไดมารวมอยูในที่เดียวกัน กระทั่ง
ทายทีส่ ดุ ไดพสิ จู นแลววา ไอเดียสรางสรรคมากมายเกิดขึน้ จากกิจกรรมเวิรก ชอประยะสัน้ หนึง่ ในกลยุทธการเรียนรูท สี่ าํ คัญ
ของโครงการนี้ และในวันนี้การเดินทางบนเสนทางสุดทาทายไดกาวเขามาสูปท่ี 3 อยางเต็มตัวแลว สสส. เชื่อมั่นวา
การปลูกฝงแนวคิดสรางเสริมสุขภาพใหกับเยาวชน และครูผูสอนนั้นจะเปนพลังแหงอนาคตได
โครงการนีย้ งั สะทอนวิธกี ารทํางานของ สสส. ตลอดระยะเวลา 20 ป ในการเปน “องคกรนวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ”
ที่เกิดจากการประสานแนวรวมกับทุกภาคสวน “ThaiHealth Inno Awards” จึงเดินมาไดถึงทุกวันนี้ เพราะแรงสนับสนุน
จากเพื่อนภาคี เราเปดโอกาสใหเยาวชนทั้งระดับมัธยมศึกษา และอาชีวศึกษาไดมาพบกัน เกิดเปนผลงานที่สรางสรรคและ
เกิดเปนมิตรภาพตลอดระยะเวลาที่อยูรวมกัน
หากโครงการจบลงไปแลว… ทุกป สสส. จะลงพื้นที่ติดตามผลการพัฒนาชิ้นงาน
เพื่อใหคําปรึกษาและชวยเหลือทีมเยาวชนในดานตางๆ ทั้งยังกระตุนการสรางความรวมมือใหมๆ
จากหนวยงานที่เกี่ยวของ และยังอาศัยแรงสนับสนุนจากสื่อมวลชนในการสรางแรงกระเพื่อม
ทางสังคมเชิญชวนคนทั่วไปใหรวมกันสนับสนุนไอเดียเด็กรุนใหมไปพรอมๆ กัน
ทายทีส่ ดุ หนังสือเลมนีย้ งั ไดรวบรวมเอาบทสัมภาษณของตัวแทนเยาวชนและครูทปี่ รึกษาทีม
ที่เขารวมโครงการมาถายทอด มากลนไปดวยพลังของเยาวชนจาก ThaiHealth Inno Awards
ปที่ 3 ซึ่งพวกเขาตางหวังวาจะไดสงตอแรงบันดาลใจไปถึงเพื่อนเยาวชนทั่วประเทศ ใหเฝารอ
ที่จะสงผลงานมารวมประกวดในปถัดไป แลวพบกันใหมปหนาครับ...
ดร. ณัฐพันธุ ศุภกา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาภาคีสัมพันธและวิเทศสัมพันธ
และรักษาการผูอํานวยการสํานักวิชาการและนวัตกรรม สสส.
20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส. สารบัญ
03 เปิดประตูสู่เส้นทางนวัตกร ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่
อย่างไม่ลังเลใจ 15 ทีม Change Of The World
เครื่องแจงเตือนการสูบบุหรี่เพื่อลดการสูบบุหรี่
กรอบแนวคิด กระบวนการเรียนรู้ ในที่สาธารณะ
ลดอุบัติเหตุทางถนน
04 ยิ่งเรียนรูยิ่งเขาใจกับโลกใบใหม 16 ทีม iF
ที่ใหญกวาเดิม อุปกรณเตือนภัยขาตั้งสําหรับรถจักรยานยนต
1 ไดถึง 3 (ขาตั้งสติแตก)
05 ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมตาม 17 ทีม Mito Team
แนวคิด Design Thinking ตุก ตาชวยเตือนจุดเสีย่ ง เพือ่ ความปลอดภัยในการขับรถ
06 ครูเปนโคชผูจุดประกายนวัตกรรุนใหม 18 ทีม GO GO SMA KB
และผูใหคําปรึกษา SBS Project Alpha version (Safety for bus
student alpha version)
07 ทํางานดวยกันเสมือนเพื่อนรวมทาง 19 ทีม เครื่องกลลูกพระธาตุ 1
อุปกรณแจงเตือนสัญญาณความปลอดภัย เพื่อลด
20 ไอเดียนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อุบัติเหตุทางถนน “รถจักรยานยนตสามลอพวงขาง
(ซาเลง) จําหนายสินคา”
20 ทีม R-lu-mi-right
เพิ่มกิจกรรมทางกาย FIFO light
ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง สร้างเสริมความเข้าใจสุขภาวะทางเพศ
08 ทีม 16 ยังแจว 21 ทีม ลูกแมแกว
Real Time Exercise Game by Instagram Filter การพัฒนาเกม STS (Seek the Sex) เพื่อให
09 ทีม นองจุก ความรูความเขาใจ แกเด็กและวัยรุนในเรื่องเพศ
เกมเพื่อสงเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว สําหรับ 22 ทีม Can't stop, but can fix หยุดไมไดแตแกไขได
ผูส งู อายุทมี่ ภี าวะความดันโลหิตสูง “นองจุกผจญภัย” SOT เพื่อนใจในเรื่องรัก
23 ทีม Amico
ส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) I you know go tell
10 ทีม วุยกกจะเฟองฟู ศัตรูจะแพพาย 24 ทีม BizcomPN
Water scrubber system face mask หนากาก SEX EDUBOT
จากระบบบําบัดอากาศแบบเปยก (D-mask ดีมา กกก) เพิ่มการบริโภคผักผลไม้ และอาหาร
11 ทีม ก็จาบอะคาบ ที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
Heating temperature control sensor
for delivery 25 ทีม Platea
12 ทีม Eye Smart RANFOOM (แอปพลิเคชันชวยเลือกมื้ออาหาร)
ไมเทานําทางอัจฉริยะ (Smart Cane for Blind) 26 ทีม SBA
13 ทีม SRPC Save the world ถาคิดวาแนอยาแพโภชนาการ
เครื่องผลิตปุยจากเศษอาหารสําหรับครัวเรือน 27 ทีม RCC
ดวยพลังงานแสงอาทิตย Nursery farm 4.0
ลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 28 ครู = โคช เรียนรูอยางเปดใจ และเปลี่ยนแปลง
14 ทีม Non-Alcoholic Heart ไปจากเดิม
ระบบสงเสริมเพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่ม
แอลกอฮอลในรูปแบบการแขงขันเสมือน บรรณานุกรม
(Virtual Competition Less Alcohol System)

02
เมื่ อ ใบประกาศรั บ สมั ค รเริ่ ม เผยแพร อ อกไป
สูสายตาของนวัตกรรุนใหมไฟแรงที่พรอมคิดคนไอเดีย

เปิดประตู เตรียมตัวมาขายของกัน แตกอนอื่นเลยสิ่งที่สําคัญ และ


มองขามไมไดคอื การทําความเขาใจเปาหมายของโครงการ

สู่เส้นทางนวัตกร
เพื่อที่ระหวางทางนั้นแมวาเราเผลอเลี้ยวไปเสนทางอื่น
บาง แตขอใหมองกลับมาที่เปาหมายเดียวกัน ดังนั้น

อย่างไม่ลังเลใจ
พี่ สสส. ขอปกหมุดในแผนที่ไวใหกอนเริ่มออกตัว ซึ่ง
เสนทางนี้ไมจํากัดความคิดสรางสรรค และใหอิสระ
กับนองๆ กําหนดวิธีการเดินทางเอง

จุดเริ่มต้นจนถึงปลายทาง

หานวั ต กรคิ ด สร า งสรรค ต  น แบบนวั ต กรรม นวั ต กรรุ  น ใหม มี ทั ก ษะความรู  ความเข า ใจ

1 2
สรางเสริมสุขภาพ ที่สามารถนําไปใชประโยชน ความสามารถเกีย่ วกับการสรางเสริมสุขภาพ และ
ในการทํางานสรางเสริมสุขภาพ และมีแนวโนม สามารถนํ า แนวคิ ด ดั ง กล า วไปประยุ ก ต ใ ช
ขยายผลสูชุมชนได ในการพัฒนานวัตกรรมใหเกิดขึ้นไดจริง และ
สรางเสริมสุขภาพได

ครู ที่ปรึ กษาต นแบบที่ มีความเข าใจเรื่ องการ เกิ ด แนวทางปฏิ บั ติ สํ า หรั บ การบ ม เพาะและ

3 สรางเสริมสุขภาพ และการพัฒนานวัตกรรม
สามารถผลั ก ดั น คนรุ  น ใหม ให เ ป น นวั ต กร
สรางเสริมสุขภาพได
4 สังเคราะห / สรางนวัตกรสรางเสริมสุขภาพ และ
เผยแพรขยายแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมใน
กลุมคนรุนใหม

03 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
อานเพิ่มเติม
ยิ่งเรียนรู้ยิ่งเข้าใจ
ถอดรหัสนวัตกรรม
สสส. เลม 3
นวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ
ไอเดียเปลี่ยนโลก ฝมือเยาวชน
กับโลกใบใหม่ที่ใหญ่กว่าเดิม
(กรอบแนวคิด กระบวนการเรียนรู้)

โครงการประกวดนวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ หรือ ThaiHealth Inno Awards เปนโครงการที่สอดคลอง


กับนโยบายหลักของ สสส. เรื่อง “พัฒนานวัตกรรมและการใชเทคโนโลยียุคดิจิทัลเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ”
ทีเ่ ปดโอกาสใหนอ งๆ นักเรียน นักศึกษา ไดพฒ
ั นาความรู แนวคิดการสรางเสริมสุขภาพ เทคนิค วิธกี ารพัฒนานวัตกรรม
ที่สามารถแกไขปญหาไดจริง ในรูปแบบของคายอบรมสุดเขมขน เพื่อบมเพาะนวัตกรรุนใหมใหสามารถออกแบบ
นวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ ทีต่ อบสนองความตองการของผูใ ชงาน ถาพรอมแลวเรามาเรียนรูห ลักการและแนวคิดไป

04
พรอมๆ กันเลย
การสรางเสริมสุขภาพ (Health Promotion) หมายถึง กระบวนการสรางเสริม
สนับสนุนดานสุขภาพโดยใหบุคคลมีการปฏิบัติและการพัฒนาสุขภาพ ตลอดจนจัดการ
สิ่งแวดลอมและปจจัยที่มีผลกระทบตอสุขภาพ เพื่อใหบรรลุการมีสุขภาพที่ดีทั้งทาง
ดานรางกาย จิตใจ สังคม และปญญา สามารถอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
การสรางเสริมสุขภาพไมใชเปนความรับผิดชอบของ
องคกรในดานสุขภาพเทานัน้ แตรวมไปถึงความรับผิดชอบของ
บุคคลทีจ่ ะตองดําเนินชีวติ อยางมีเปาหมาย เพื่อการมีสุขภาพ
ทีด่ ี ซึง่ การใชเทคโนโลยีพฒ
ั นานวัตกรรม เพือ่ สรางเสริมสุขภาพ
เปนอีกแนวทางหนึ่งในการสนับสนุนการลดความเสี่ยงดาน
สุขภาพ เสริมสราง และสนับสนุนกิจกรรมทีท่ าํ ใหคนมีสขุ ภาพ
ที่ดี ดวยกระบวนการและวิธีการตางๆ ทั้งดานการเสริมสราง
ความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมใหตวั บุคคลดูแลสุขภาพตนเอง
รวมไปถึ ง ครอบครั ว อี ก ทั้ ง สนั บ สนุ น ผลั ก ดั น ให สั ง คม
สิง่ แวดลอมเขามาอยูใ นสภาวะทีเ่ อือ้ ตอการทําใหมสี ขุ ภาพทีด่ ี
อีกดวย ดังนั้นนวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ มักเกิดขึ้นจาก
การผสมผสานความคิดสรางสรรคบนพืน้ ฐานของวิทยาศาสตร “การสร้างเสริมสุขภาพ
เทคโนโลยี และนวัตกรรมเขาดวยกัน นําไปสูการแกปญหา มิใช่การซ่อม หรือการรักษา” นี่คือ
ลดพฤติ ก รรมเสี่ ย ง เพิ่ ม พฤติ ก รรมสุ ข ภาพจะทํ า ให แนวทางการทํางานเพื่อการมี
คนมีสุขภาพที่ดีอยางยั่งยืน สุขภาพที่ดี
ออกแบบและ ยั ง จํ า กั น ไ ด  อ ยู  ไ ห ม ว  า ก ร ะ บ ว น ก า ร
Design Thinking ได ช วนน อ งๆ นั้ น ทํ า

พัฒนานวัตกรรม
ความเข า ใจนวั ต กรรมของตั ว เองมากยิ่ ง ขึ้ น

ตามแนวคิด
Design Thinking หรือ กระบวนการคิดในเชิง
ออกแบบ เป น หนึ่ ง ในเครื่ อ งมื อ ที่ นิ ย มนํ า มาใช

Design
ในการคิด แกปญหา รวมถึงทําความเขาใจสิ่งตางๆ
อยางลึกซึ้ง รวมถึงการพัฒนานวัตกรรม ซึ่งจะยึด
กลุมเปาหมายหรือผูใชงานเปนหลัก เพื่อรวบรวม

Thinking
ความคิดสรางสรางสรรค และมุมมองทีห่ ลากหลาย
มาจัดกลุม จัดระเบียบใหกลายเปนไอเดียหรือแนวทาง
แกปญ  หา (ideate) และนําเอาแนวทางทีไ่ ดมาพัฒนา
เปนตนแบบ (prototype) ที่อาจจะยังไมสมบูรณ
ทํานวัตกรรมอยู่ดีๆ ก็เจอปัญหา เพื่ อ นํ า ไปทดสอบ (test) ให ไ ด แ นวทางหรื อ
จะทําอย่างไรดี ? นวัตกรรมที่จะออกมาตอบโจทย แกปญหาใหกับ
ผูใชงานไดจริง
ออกแบบไปออกแบบมาความคิด ทวนกั น อี ก ครั้ ง ! กั บ Design Thinking
ช่างพันกันชวนงงไปหมด…. 5 ขั้ น ตอน อยากจะหยิ บ ขึ้ น มาใช ต อนไหนก็ ไ ด

05 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
TEACHER AS A COACH
& INNOVATOR INCUBATOR
“ การมีกําลังใจ พร้อมมีคนรับฟัง
ครูเป็นโค้ชผู้จุดประกาย อย่างเข้าใจ ใยจะไม่สําคัญ…. ”

นวัตกรรุ่นใหม่ ThaiHealth Inno Awards นอกจาก


นอง ๆ แลวคุณครูเองจะไดพัฒนาทักษะทั้งดานเนื้อหา
และผู้ให้คําปรึกษา และแนวทางการใหคาํ ปรึกษา หรือ ‘โคช’ ทีค่ อยเชียรอพั
ซัพพอรต อานใจเด็กใหทะลุปรุโปรง เพื่อใหเยาวชนมี
พลังกายและพลังใจอยางลนเปยม ตลอดทางการทํา
นวัตกรรม ดังนั้นครูถือวาเปน ผูจุดประกายนวัตกร
รุนใหม ผูใหคําปรึกษาและเสริมกําลังใจ
หลั ก สู ต รที่ ค รู จ ะได เ รี ย นรู  คื อ Coaching
แนวคิดเปลีย่ นครูเปนโคช ซึง่ เราเชือ่ วาการเปนครูนนั้ มี
ขอดีอยูแ ลว แตการเปนโคชไปพรอมๆ กันนัน้ ยิง่ จะทําให
ดีขึ้นไปอีก โดยจะไดเติมทักษะการฟง การตั้งคําถาม
การใหคําปรึกษา จึงเกิดกิจกรรมหลายๆ อยางขึ้นมา
เพื่อใหครูนั้นไดลองทําและสะทอน หรือรวมแชรหาวิธี
การกันไดดวย
“ ตั้งสติใหพรอมและชวนลงมือทํา ”
เครือ่ งมือหรือกระบวนการชิน้ แรกทีอ่ ยากติดตัง้
ใหอยูกับคุณครู คือทักษะของการเปนพี่เลี้ยง ที่ตองมี
หัวใจ HEART หัว HEAD และมือ HAND
มาต อ กั น ด ว ย GROW MODEL ชวนหยิ บ
อี ก เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ การเป น โค ช โดย Sir John
Whitmore ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ นี้ เ ป น ที่ รู  กั น ทั่ ว ไปแล ว
ว า เหมาะสํ า หรั บ การให คํ า ปรึ ก ษาแก นั ก เรี ย นหรื อ
นักศึกษา ผานการตั้งคําถามเปนหลัก เพื่อใหเด็กเกิด
การคิดวิเคราะห และจัดแจงลําดับขั้นตอนการทํางาน
ไดดวยตัวเอง
โดยเครื่องมือนี้เปนการสรางบทสนทนา ที่เรา
สามารถปลอยใหการคุยไหลไปแบบธรรมชาติไดเหมือน
คุยกันปกติ แตมี GROW ตั้งไวในใจหลวมๆ ไมจําเปน
จะต อ งเรี ย งตามนี้ หรื อ จะเป น ไปตามขั้ น ตอน
ก็ ไ ด เ ช น กั น เครื่ อ งมื อ สุ ด ท า ยที่ ข าดไม ไ ด เ ลยคื อ
Design Thinking ที่ ร ะหว า งทางจะค อ ยๆ
ปลอยเทคนิคออกมาโดยบางทีอาจจะไมรูตัวดวยซํ้า
เมื่ อ มาถึ ง ปลายทางสิ่ ง ที่ ค รู จ ะได รั บ คื อ เทคนิ ค
ในการสัมภาษณเพื่อใหไดขอมูล
ทุกๆ กิจกรรมครูจะได Reflection รวมกัน
ซึ่งเปนเรื่องที่ดี ที่อาจจะไดไอเดียการทํางานรวมกับ
นักเรียนในมุมของครูคนอื่นบาง และคาดหวังใหครู
นําเครื่องมือเหลานี้ไปปรับใชใหเหมาะสมกับตัวเอง
และนั ก เรี ย น เพื่ อ ผลั ก ดั น ให เ กิ ด นวั ต กรรมที่ ผ  า น
การคิดสรางสรรค และระหวางทางการทํางานเด็กๆ
จะไดรสู กึ วาพืน้ ทีต่ รงนีป้ ลอดภัยในสิง่ ทีเ่ ขาจะลงมือคิด
และทํามันขึ้นมา
06
คลอยหลังแคไมนาน ThaiHealth Inno Awards ก็ผา นมาสอง
รุนแลว พี่ๆ สสส. และทีมงานตางก็ลงความเห็นเปนเสียงเดียวกันวา
ควรจัดใหมี “การเขาคาย” การเขาคายหรือการเวิรกชอประยะสั้น
ทํางานด้วยกัน
เสมือน
จึงกลายเปนกระบวนการเขมขนของโครงการ ทีจ่ ะชวยใหนอ งๆ หอบหิว้
เอาทักษะความรูกลับไปใชพัฒนาผลงานใหไดดีที่สุดตลอดระยะเวลา
3 วัน จะไดพบกับเมนเทอรแบบตัวตอตัว ใครสงสัยอะไร ก็พูดคุย
ซักถามกันสดๆ ตรงนั้นเลย

นองๆ หลายคนยังเลาใหฟงดวยวา คายนี้ไมไดใหแคความรู เพื่อนร่วมทาง


แตยงั ใหมติ รภาพดี ๆ มากมาย ทัง้ มิตรภาพจากพีฟ่ า (Facilitator) และ
จากเพื่ อ นๆ ต างที ม ที นี้ ล องมาดู กั น ดี กว า ว า มี ใครบ า งที่ ร วมทาง กระทั่งวันที่ไดทีมชนะแลว กระบวน
ไปกับนองๆ ตลอดการประกวดบาง การสนับสนุนสงเสริมก็จะยังไมจบ พี่ สสส.
จะยังคงทําหนาที่ใหคําปรึกษาดานวิชาการ
เมื่อคายเวิรกชอปจบลง กระบวนการกลับไปพัฒนาผลงาน และช ว ยเหลื อ น อ งๆ ให ส ามารถต อ ยอด
จึงเริม่ ขึน้ หลายเดือนตอจากนัน้ คือชวงเวลาทีน่ วัตกรทุกทีมจะตองงัด ผลงานให ก  า วไปสู  อี ก ระดั บ และยั ง ช ว ย
เอาศักยภาพทีไ่ ดรบั การกระตุน มาแลวออกมาใช แตอยางทีบ่ อกไปขาง สร า งแรงกระเพื่ อ มทางสั ง คม ชั ก ชวนให
ตนวา ยังมีคนอีกมายมายทีร่ ว มเดินทางไปกับนอง ๆ ตลอดการประกวด คนทั่วไปเห็นประโยชนของผลงานที่มาจาก
เชน พี่ๆ ทีมฟาจะคอยจัดประชุมออนไลนเปนประจํา เพื่อติดตาม ความตั้งใจของนองๆ พรอมดึงความรวมมือ
ความกาวหนางานแตละกลุม และจะเปนเชนนี้ไปจนถึงวันประกาศผล จากหนวยงานตางๆ

07 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
นวัตกรรมเพิ่มกิจกรรมทางกาย ที่มา
ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง จากการสํารวจพบวา ประชากรอายุ 18 ป ขึ้นไป จํานวนมาก
Real Time Exercise Game มีพฤติกรรมเนือยนิง่ ซึง่ มาจากหลายสาเหตุ เชน การใชเวลาสวนใหญ

by Instagram Filter
นั่งๆ นอนๆ ดูโทรทัศน ใชเวลากับสื่อสังคมออนไลน นั่งทํางานหนาจอ
นาน ซึ่งกิจกรรมเหลานี้แทบไมไดทําใหเกิดการเคลื่อนไหวรางกาย
ทีม 16 ยังแจ๋ว ดังนัน้ จึงสราง และพัฒนาสือ่ เพือ่ ทีจ่ ะนําไปสูก ารชวยแกปญ
เนือยนิ่งใหเขาถึงไดงาย
 หาพฤติกรรม
โรงเรียนชลกันยานุกูล จ.ชลบุรี
นางสาวณัฐณิชา เลิศกิจเจริญผล แนวคิดนวัตกรรม
นางสาวภัทรสิรี ศิริเธียรวานิชกุล
นางสาวเมติยา เชื้อจั่น ในชีวติ ประจําวันของคณะผูจ ดั ทําและกลุม เปาหมายสวนใหญ
นางสาวศิวพร ศรีจรัญ (ที่ปรึกษา) มีการใชงานสมารตโฟนเปนเวลาหลายชัว่ โมง/วัน จึงสงผลใหมกี ารขยับ

08
รางกายคอนขางนอย อีกทั้งทุกคนใช IG เลนฟลเตอรอยูเปนประจํา
“ เพื่อนสนิทสั่งลุย ” เกิดแนวคิดที่จะเพิ่มการขยับรางกายในขณะใชฟลเตอร

ติดโทรศัพทก็ออกกําลังกายได ดวยฟลเตอร IG กลุมเปาหมาย


ที่ชวนมาขยับรางกายวันละนิด โดยมีฟลเตอรใหเลือก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1
ถึง 4 แบบ ตามใจชอบ เลนคนเดียวคงไมสนุก สะกิด บุคคลที่ใชงานอินสตาแกรมและเลนฟลเตอร
เพื่อนขาง ๆ ใหลุกขึ้นมาขยับไปพรอมๆ กันได
“ อยากใหฟลเตอร IG ขยับไดทั้งตัว
เลยจับตรงนี้มาเปนไอเดีย ”
ใครๆ ก็เลน Instagram อีกอยางเดี๋ยวนี้คนมักจะ
นัง่ ทํางานนานขึน้ หรือติดสมารตโฟนกันมากขึน้ ไมไดขยับ
ตัวกันเทาไหร นาจะเปนขอดีถามีการออกกําลังกายผาน
แอปฯ ที่เลนกันบอยๆ จึงเกิดเปนฟลเตอรใหเลือกถึง
4 แบบ ชวนมาขยับรางกายกันสนุกๆ ฉบับที่ชวนเพื่อน
มาเลนดวยได
“ มีหัวหนาทีม งานจึงเสร็จไว ”
เรื่องความทํางานเปนทีมอดไมไดเลยที่ตองยกนิ้ว
ให เนือ่ งจากตอนแรกมีแตความอยากทํา แตพอเช็กกันแลว
ความถนัดดานพัฒนาเทคโนโลยีตวั นีช้ า งนอยเหลือเกิน แต การดําเนินงานและการทดสอบ
โชคดี ที่ เ พื่ อ นในกลุ  ม สนิ ท และเชื่ อ ใจกั น เลยบอกกั น ว า
“เอาละทําคือทํา” 1. สัมภาษณขอมูลเชิงลึกกับกลุมเปาหมาย และจัดทํา
Journey map จํานวน 24 คน
“ กระบวนการ Design Thinking ที่ลงใจยกนิ้วให ” 2. พัฒนาฟลเตอร ดวยโปรแกรม Spark AR
มันสุดยอดมากไมเคยเจอมากอนเลย ไดยินและได ฟ ล เตอร Monster rush แรงบั น ดาลใจมาจากเกม
ลองทําเปนครัง้ แรก นํา้ เสียงและแววตาทัง้ 3 คนรูส กึ ชอบ กระโดดเชือก
ฟลเตอร Stretching แรงบันดาลใจจากการเก็บขอมูล
เรือ่ งนีจ้ ริงๆ เพราะนีเ่ ปนเครือ่ งมือทีช่ ว ยจัดสรรขอมูล และ เชิงลึกของกลุมเปาหมาย (ยืดเหยียด)
สรางสรรคไอเดียไดเปนอยางดี รวมถึงพีเ่ มนเทอร กรรมการ ฟลเตอร Bento cooking จากผูติดตาม IG (เกมทําอาหาร)
และพี่ Facilitator ที่คอยสนับสนุนขอมูลและใหกําลังใจ ฟลเตอร Buddy stretches เลนกับเพื่อนได 2 คนขึ้นไป
อยางไมขาดสาย 3. เผยแพร Content ชื่อ 16youngjaew ดวยขอความที่เกี่ยวกับ
พฤติกรรมเนือยนิ่ง ที่สั้น กระชับ
ฟลเตอรเหมือนเปนเทคโนโลยีทคี่ รอบคลุมไปทัว่ โลก
4. สัมภาษณกลุมเปาหมายหลังจากใชงาน
ได ดีใจมากทีม่ ชี าวตางชาติเขามาดูเหมือนกัน แคไดเห็นเรา
บางก็ดีใจแลว เพราะในตอนแรกนองยอมรับวาอยากจะ ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
พัฒนาแตนวัตกรรม และขอแคมคี นเขามาเลนเยอะๆ ก็ดใี จ
แลว แตกระบวนการทําใหปง ขึน้ มาไดวา ฟลเตอรเหมือนเปน นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 5/1 ใชงานครบทัง้ 24 คน รวมถึง
สื่ อ กลาง เป า หมายไม ไ ด อ ยากให ค นมาดู เ ยอะ แต แ ค มีความรูแ ละตระหนักถึงผลเสียทีเ่ กิดจากพฤติกรรมเนือยนิง่ เห็นไดจาก
ผานเขามาแลวเขาสนุก ไดขยับตัวแคนี้ก็ดีใจแลว การเลนซํ้าและการเลนฟลเตอรใหมๆ อยางตอเนื่อง ทั้งการบอกตอ
และแชรเพื่อใหมีผูใชงานเพิ่มขึ้น และผูเขาถึงคนอื่นๆ นําคลิปไปแชร
หากมีคา ยจัดขึน้ อีกจะแนะนําใหรน ุ นองคนอืน่ ๆ ลองมา ในสื่ออื่นๆ
คายนี้ อยากใหทกุ คนไดรบั ประสบการณทดี่ เี หมือนกับพวกเรา
นวัตกรรมเพิ่มกิจกรรมทางกาย ที่มา
ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง ขอมูลจากองคการอนามัยโลกพบวา อัตราการเสียชีวติ กอนวัย
เกมเพื่อส่งเสริมกิจกรรม อันควรดวยภาวะความดันโลหิตสูงมีจํานวนมาก การควบคุมความดัน
โลหิตสูงในระดับที่เหมาะสมจะทําใหเกิดภาวะโรคแทรกซอนนอยลง
การเคลื่อนไหวสําหรับผูส
้ ูงอายุ และทําใหผปู ว ยความดันโลหิตสูงตองเสียคาใชจา ยและคารักษาเพิม่ สูง
ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ขึน้ นอกจากการรักษาดายการทานยาแลว การปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
ในการดําเนินชีวติ อยางสมํา่ เสมอก็จะชวยลดปญหาเรือ่ งภาวะความดัน
“น้องจุกผจญภัย” โลหิตสูงได
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎรธานี
จ.สุราษฎรธานี แนวคิดนวัตกรรม
ทีม น้องจุก นายภูมัย เฉลิมนนท สรางเกมในระบบ Kinect เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางรางกาย
นายทิฐิพล วรรณดี รวมกับเทคโนโลยีการตรวจจับการเคลือ่ นไหวสําหรับผูส งู อายุทมี่ ภี าวะ
นายวายุ วัฒยะบุญ ความดันโลหิตสูง ผานตัวละครทีม่ ชี อื่ วา “นองจุก” ชวยใหผเู ลนเกิดความ
นายศิระ ประเสริฐศักดิ์ (ที่ปรึกษา) รูส กึ เหมือนตัวผูเ ลนเปนเด็กอีกครัง้ ผานเรือ่ งราวทีถ่ กู วางและออกแบบ
ไวในแตละดานที่แตกตางกัน
เกม “นองจุกผจญภัย” เกมเพือ่ พัฒนาสมรรถนะ
ทางรางกาย รวมกับเทคโนโลยีการตรวจจับการเคลือ่ นไหว กลุมเปาหมาย
เพือ่ ชวยปรับเปลีย่ นพฤติกรรมชีวติ อยางสมํา่ เสมอ กลุมเปาหมายหลัก: ผูสูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
มีการออกแบบเรือ่ งราว (Story Telling) การเลาเรือ่ งยอน กลุมเปาหมายรอง: ผูสูงอายุที่มีความชื่นชอบในการออกกําลังกาย
วันวานในอดีต ผานตัวละครทีม่ ชี อื่ วา “นองจุก”

“ ล้มแล้วลุกเพื่อผู้สูงอายุ ”
“ เราตองเปลีย่ นคําติเปนคําชมใหได ตองทําใหดกี อ น แขงกับ
ตัวเองกอน ”
ทาทีทจี่ ริงจัง จนทําใหเราตองพยักหนาตาม แสดงให
เห็นวาทีมนองจุก ลมแลวก็ลุกแนนอน
ประเทศไทยเขาสูส งั คมผูส งู อายุ และจะเต็มรูปแบบยิง่
ขึน้ ในอีกไมกปี่ ข า งหนา ชวนใหทมี นองจุก คิดกันตอวา ถาไทย
กลายเปนสังคมผูส งู อายุขนึ้ มา เราจะชวยแกปญ  หาอยางไรได การดําเนินงานและการทดสอบ
บาง ดวยโจทยทที่ า ทาย จึงไปหาคําตอบ จนไดความวาโรคความ 1. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับผูสูงอายุ ความดันโลหิตสูง การออกกําลังกาย
ดันโลหิตสูงเปนเจาตัวรายที่อยูคูกับผูสูงอายุเกือบทุกคน สําหรับผูสูงอายุ โรคที่เกี่ยวของกับผูสูงอายุ การลงพื้นที่สัมภาษณ
แลวยังพบวา สาเหตุหนึ่งของโรค เกิดจากการไมคอยได ศูนยสขุ ภาพชุมชนเพือ่ สอบถามสถิตจิ าํ นวนผูส งู อายุทมี่ ภี าวะความดัน
เคลือ่ นไหวตัวนัน่ เอง นองจุกจึงรวมพลังกัน วาจะทําโปรเจคนี้ โลหิตสูง และลักษณะเบื้องตนของกลุมผูปวย
เพื่อชวยใหผูสูงอายุไดเคลื่อนไหวบอยขึ้นมากยิ่งขึ้น 2. เขาพบทีป่ รึกษาทางดานการเขียนระบบเกมเพือ่ สรางและศึกษาความ
เปนไปไดในการสรางและออกแบบระบบเกมตามผังงานทีไ่ ดออกแบบไว
ทีมนองจุกไมรอชา จัดไปกับเกม “ นองจุกผจญภัย ” เกม 3. พัฒนางานภาพกราฟกใหมคี ณ ุ ภาพมากขึน้ ใหดนู า สนใจมากขึน้ อาทิ
เพือ่ พัฒนาสมรรถนะทางรางกายโดยใชรว มกับเทคโนโลยีการ ภาพฉากของเกม ภาพปุม การใชสี และการพัฒนา UI/UX ของเกม ให
ตรวจจับการเคลื่อนไหว เพื่อชวยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต ตอบสนองถึ ง หลั ก การออกแบบภาพกราฟ ก สํ า หรั บ ผู  สู ง อายุ
อยางสมํ่าเสมอ ใสลงใน Kinect ที่มีความหวังวา อยากนําไป 4. ระบบของเกมทีเ่ พิม่ ระบบการนัง่ เลน โดยใหจบั Sensor การเคลือ่ นไหว
ต อ ยอดส ง ต อ สู  สุ ข ภาพชุ ม ชน เพื่ อ ให ผู  สู ง อายุ ไ ด ใ ช กั น ที่ มือและแขนแทนการจั บที่ขา เพื่ อใหเล นได ในผูสูงอายุที่ไมถนัด
อยางทัว่ ถึง และใหเปนสวนหนึง่ ของการออกกําลังกายอยาง ในการยืน หรือมีความบกพรองทางดานการทรงตัวสามารถใชงานได
สนุกสนานมากยิ่งขึ้น ทางทีมกําลังพัฒนา Prototype ผาน 5. นําตัวเกมไปทดลองกับกลุม เปาหมายหลักซึง่ เปนผูส งู อายุทมี่ ภี าวะ
การ Coding และไดนํากระบวนการ Design Thinking ที่ ความดันโลหิตสูง และมีชวงอายุระหวาง 60 – 80 ป
เรียนรูจ ากคายไปใชจริง ทีน่ อกจากการยืนเลนแลว ยังปรับให
เปนการนั่งเลนได เพื่อรองรับผูสูงอายุที่มีขอจํากัดในการ ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
เคลือ่ นไหวแตกตางกัน สิง่ นีส้ ะทอนใหเห็นวา ทีมนองจุก เขาใจ • ตัวเกมไดมีการออกแบบมาใหผูเลนที่เปนผูสูงอายุที่มีภาวะความดัน
กลุมเปาหมายเปนอยางดี และตองการที่จะสรางนวัตกรรม โลหิตสูงไดเลนอยางปลอดภัย ไมพบอาการแทรกซอนใดๆ ระหวางเลน
สําหรับทุกคนจริงๆ และตั ว เกมถู ก ออกแบบให เ ล น ได ง  า ย และยั ง รองรั บ กั บ
ผูเลนที่มีปญหาทางดานการทรงตัวอีกดวย
การทาทายความสามารถจะเปนพลังมือเล็กๆ • ผู  เ ล น มี ค วามรู  สึ ก ชอบและสนุ ก สนานในการเล น และชื่ น ชอบ
ที่จะทําใหโลกของผูสูงอายุ ยังคงหมุนไป การเลาเรือ่ งราวภายในเกมผานการยอนอดีตซึง่ เปนเรือ่ งราวตรงกันกับ
พรอมพรอมกันกับคนทุกรุน :) ชวงที่กลุมผูเลนยังเปนเด็ก

09 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
นวัตกรรมส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ D-mask ดีมา กกก หนากากอนามัยทีใ่ ชนาํ้ เปนตัวกรอง
จึงชวยลดการทิง้ ไสกรองแบบทัว่ ไปได โดยระบบการกรอง
Water scrubber มีประสิทธิภาพ ทัง้ ชวยกรองฝุน และสารอินทรียท เี่ ปนอันตราย
system face mask เหมาะสําหรับคนทีต่ อ งทํากิจกรรมกลางแจง เชน ตํารวจจราจร
หน้ากากจากระบบบําบัด หรือพนักงานทําความสะอาดถนน ฯลฯ
อากาศแบบเปียก ไปแลวนัน่ เอง จึงอยากพัฒนาตัวกรองอากาศใหไปติดอยูก บั หนากากปกติ
(D-mask ดีม๊ากกก) ซะเลย ซึ่งใชแนวคิดการกําจัดมลพิษเขามารวมดวย เพื่อใหการหายใจ
คลองตัวขึ้นแมจะใสหนากากอนามัยอยูก็ตาม
ทีม วุยก๊กจะเฟื่องฟู ทางทีมยอมรับวาแอบยากเหมือนกัน ตอนนีย้ งั คงพัฒนาจุดยอยๆ
ศัตรูจะแพ้พ่าย ของตัวนวัตกรรมอยู เนือ่ งจากตองทําอุปกรณใหมนั มีขนาดเล็กและเหมาะ
โรงเรียนชลราษฎรอํารุง จ.ชลบุรี สมกับการสวมใส จึงตองคนหากอบโกยความรู และปรึกษาผูร มู ากขึน้ กวาเดิม
นายบัญญพนต คฤหัสนวฤกษ “ หนากากตอบโจทยแบบนี้ จากใจอยากใหออกมา
นายปริวัฒน สอนศิริ
นายเจษฎา รัตนวิจิตร เปนของจริง ใหคนไดใชกัน ”
นางสาวนันทา ศรีแกว (ที่ปรึกษา)
แตเวลาใกลเขามาแลว เลยอยากทําระบบตัวกรองใหแมนกอน
“ เจอโครงการที่อยากจะทํา แมจะไมไดเปนหนากากออกในตอนนีเ้ ลยก็ไมเปนไรครับ ถือวาระหวางทาง
นวัตกรรมอยู่พอดีเลย ” พวกเราทําเต็มทีเ่ สมอ ระหวางทางทีท่ งั้ 3 คนลงมือทําเต็มทีแ่ ลวนัน้ ไมใช
“ เคยทําหนากากกรองฝุนแตไมสําเร็จ แคสว นทีก่ ลับไปนวัตกรรมของตัวเอง แตพอใหเริม่ พูดถึงคายอบรมทีไ่ ด
ไปเจอเพือ่ น ก็มคี นนึงเอยขึน้ วาอยากใหจดั ขึน้ เรือ่ ยๆ “คิดถึงบรรยากาศเนอะ”
เจอโครงการดันตรงกับสิ่งที่อยากทํา
เลยกลับไปหยิบความลมเหลวในวันนั้น “ เจอเพื่อนสายอาชีพเขาจะเกงลงมือปฏิบัติ
ขึ้นมาพัฒนาใหดีกวาเดิม ” เราเกงทฤษฎีก็ไดแชรประสบการณกัน ”
บทสนทนากับ 3 หนุมนักเรียนชั้น ม.6 ที่ ชอบที่มีกระบวนการสอดแทรกความรูในกิจกรรมตางๆ ไวเสมอ
กําลังเขมงวดกับการสอบเขามหาวิทยาลัยอยู แต รูส กึ เอนจอยไมนา เบือ่ เปนคายทีส่ นุก ชวงทีไ่ ดเจอกับเมนเทอร ทีมพูดเปน
ก็พยายามละมือแบงเวลาใหกบั โครงการ ซึง่ นองๆ เสียงเดียวกันวาเหมือนเรียกความมัน่ ใจกลับมาใหพวกเขามาก ตอนนัน้
หยิบเรือ่ งใกลตวั อยางหนากากอนามัยขึน้ มาเลน ยังเปนเพียงแนวคิดอยูเลย แตเมื่อมาไดแชรความรู และไดรับคําแนะนํา
เพราะดั นกลายเป นอวั ยวะอี กส วนของมนุ ษย แลว ตองขอบอกตรงๆ วาทีมมีพลังกลาทีจ่ ะทําอะไรหลายๆ อยางมากขึน้

ที่มา การดําเนินงานและการทดสอบ
จากเหตุการณโรคระบาด COVID-19 ทําใหผูคนตองปรับตัวและ 1. เปลี่ยนขอบเขตของกลุมเปาหมายจากประชาชนทั่วไปภายใต
ใชชีวิตวิถีใหม เชน ใสหนากากตลอดเวลา แตหนากากอนามัยที่มีขายและใช การดําเนินชีวติ แบบวิถใี หม เปนผูท ปี่ ระกอบอาชีพกลางแจงใกลถนน
กันทุกวันนี้ ยังมีปญหาดานความไมสะดวกสบายจากการสวมใสหนากาก เป น เวลามากกว า 5 ชั่ ว โมง บริ เ วณอํ า เภอเมื อ งชลบุ รี
เพราะระบายอากาศยังไมดี ทําใหผใู ชรสู กึ อึดอัดเมือ่ สวมใส รวมทัง้ ประสิทธิภาพ 2. สั ม ภาษณ ก ลุ  ม เป า หมายและกํ า หนดป ญ หาเพิ่ ม เติ ม
ในการกรองฝุน ควัน และสารตางๆ ที่ลอยมาตามอากาศยังไมดีเพียงพอ 3. ศึกษาประสิทธิภาพในการกรองของระบบบําบัดอากาศดวยนํ้า
(Wet scrubbing)
แนวคิดนวัตกรรม 4. เขียนแบบ 3 มิติของหนากากใหโครงสรางยืดหยุนกับใบหนาคน
เพิม่ ความสะดวกสบายในการสวมใสหนากากไดมากขึน้ และพัฒนาการ หลากหลายแบบ ขยายโครงสรางใหมิดชิดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
กรองอากาศใหดขี นึ้ โดยใชแนวคิดจากระบบการกําจัดมลพิษในระบบอุตสาหกรรม การกรอง
มาประยุกตใชกบั การออกแบบ และใชสารไททาเนียมไดออกไซดเคลือบหนากาก 5. เปลี่ยนแปลงระบบยอยของการกรองแบบเปยก จากนํ้าวน
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกรองฝุน ควันใหสูงขึ้น เปนเวนทูรี่ และแบบระบบผสม
6. ทดสอบระบบการกรอง
กลุมเปาหมาย
ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
ผูที่ประกอบอาชีพกลางแจงใกลถนนเปนเวลามากกวา 5 ชั่วโมง
บริเวณอําเภอเมืองชลบุรี ยั ง ไม ไ ด มี ก ารทดสอบใช ง านจริ ง กั บ กลุ  ม เป า หมาย
เนื่องจากสถานการณ COVID-19

10
ที่มา
นวัตกรรมส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ จากสถานการณ COVID-19 ทําใหคนสวนใหญหันมาใช
Heating temperature บริการ Delivery ในการสัง่ อาหารมากขึน้ อีกทัง้ ผูป ระกอบการรานอาหาร
เปดตลาดการรับออเดอรแบบออนไลนมากขึน้ ในระหวางการสงอาหาร
control sensor อาจมีระยะทางไกล รถติด จึงใชเวลาในการสงมากกวาปกติ ทําใหอาหาร
for delivery ที่มาสงไมรอน ไมสดใหม อีกทั้งยังมีเชื้อโรคตางๆ ติดมากับภาชนะ
ใสอาหาร
ทีม ก็จ๊าบอะค้าบ
โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย
นครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช แนวคิดนวัตกรรม
นางสาวพัชราภรณ ขุนพารเพิง พัฒนากลองขนสงอาหารของพนักงานสงอาหาร ดวยการติด
นางสาวพิชสินี สุขแกว แผนเพลยเทียกระจายความรอนเพือ่ รักษาอุณหภูมภิ ายในกลองขนสง
นางสาวอาทิสา ศรีออน อาหาร เพื่ออาหารคงรสชาติใหอาหารอรอยเหมือนที่ราน
นางสาวกุศลิน ทิพยมโนสิงห (ที่ปรึกษา)

กลองใสอาหารทีค่ วบคุมอุณหภูมทิ งั้ ความรอน กลุมเปาหมาย


และความเย็นไดในตัว ทําใหลดการแพรเชือ้ โรค
จุลนิ ทรียต า ง ๆ ในอาหารได เหมาะสําหรับไรดเดอร พนักงานสงอาหารเดลิเวอรี และลูกคาที่สั่งซื้ออาหาร
สงอาหารเดลิเวอรี ในชัว่ โมงแหงความหิว
การไดทานอาหารทีย่ งั สดใหม
จะชวยสรางความประทับใจใหกบั ลูกคาไดอกี ดวย

“ ชั่วโมงบินน้อยแต่ไม่ท้อใจ ”
“ ชอบสั่งเดลิเวอรีมาก แตเคยสั่งพิซซาทีไร
มาถึงเราอาหารไมรอนแลว… ”
ดวยความทีอ่ ยูโ รงเรียนประจํา บางครัง้ ยอมรับวา
เบื่ออาหารจึงชอบสั่งอาหารผานแอปฯ และใหเดลิเวอรี
มาสง ความเฟลอยูที่อาหารนั้นไมรอนทําใหรสชาติไมได
อรอยเหมือนเคย เรื่องใกลตัวแคนี้ แตทําใหพวกเขา
เริม่ คนหาขอมูลจากตางประเทศ และรูว า มีกลองเก็บอาหาร
ที่มีประสิทธิภาพ แลวทําไมไทยจะทําไมได ? การดําเนินงานและการทดสอบ
“ พวกเราคิดงานเปนระเบียบ จัดแจงตัวเองได 1. เปลี่ยนกลุมเปาหมายจากผูบริโภคที่สั่งซื้อสินคาอาหารเดลิเวอรี
เปนทั้งผูสงและผูซื้อ
ดวยแผน Canvas ” 2. เปลี่ยนรูปแบบของตัวกลองจากที่ควบคุมอุณหภูมิความรอนอยาง
กอนหนานี้อาจจะหลงทางไปบาง ขอมูลสะเปะ เดี ย วให ก ลายเป น ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ด ท้ั ง ความร อ นและความเย็ น
สะปะบางแตพอไดเรียนรูกระบวนการ เหมือนเรามีแผน ใช บ อร ด Arduino ในการควบคุ ม มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบ
กระดาษใหญๆ ไวคอยเช็กพอยตไดวาถึงจุดไหนกันแลว การใชเพลยเทียและเพิม่ ฉนวนทีก่ นั ความรอนความเย็นเพือ่ รักษาอุณหภูมิ
ภายในกล อ งปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบแหล ง จ า ยพลั ง งานให เ หมาะสม
ขอมูลมีอะไรบาง ขาดอะไรไหม ตองทําอะไรตอไป พวกเรา
3. เปลี่ยนโคดในการสั่งงานเพื่อใหควบคุมการทํางานภายในกลอง
ไดพเี่ บน (พีเ่ ลีย้ ง) มาชวยเหลือจนตอนนีน้ บั ถือแบบพีช่ าย ใหเปนไปอยางมีระบบ
เลย เพราะหากถึงจุดที่เปนปญหาจะเปนอีกคนที่นึกถึง
พวกเราตืน่ เตนมาก เพราะไมเคยไปคายไหนมากอน ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
จึงรูส กึ เหมือนเปนรุน นองของทุกทีมทีเ่ จอ เพราะชัว่ โมงบิน
นอยไมมีประสบการณเทาไหร เห็นงานเพื่อนบางคน ยังไมมีผลการทดลองใชเนื่องจากสถานการณ COVID-19
มาจากเวทีอนื่ ๆ บาง แตสงิ่ ทีเ่ จอกลับทําใหเราทาทาย อยาก
กลับมาทําของตัวเองใหดีขึ้นกวาเดิมจากที่เปนอยู อีกทั้ง
ประทับใจพี่คายทุกคน เหมือนอยากไดอะไรก็หามาให
อยากขอบคุ ณ ทุ ก แนวคิ ด กระบวนการสอน ที่ ทํ า ให
กาวมาถึงตรงนี้อยางไมลังเลใจ

11 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
ที่มา
นวัตกรรมส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่
จากการออกเยี่ยมผูปวยในชุมชนตามกิจกรรมของวิทยาลัย
ไม้เท้านําทางอัจฉริยะ พบวา ผูพ กิ ารทางสายตาและผูส งู อายุบางคนมีความจําเปนตองอยูบ า น
(Smart Cane for Blind) ตามลํ า พั ง เนื่ อ งจากผู  ดู แ ลต อ งออกไปทํ า งานหารายได จึ ง มี
ทีม Eye Smart
ความยากลําบากในการใชชีวิต โดยเฉพาะการลุกเดินไปทํากิจวัตร
ประจําวัน ถึงแมจะมีอปุ กรณอาํ นวยความสะดวก แตกย็ งั เกิดเหตุการณ
วิทยาลัยเทคโนโลยีสมุทรปราการ (ช.เทค) จ.สมุทรปราการ
ที่ประสบอุบัติเหตุรายแรงเกินกวาจะแกไขไดทันทวงที
นายเอกราช สีสังข
นายวสันต ขันตี แนวคิดนวัตกรรม
นายอิทธิชัย ทองนอย
นายอัษฎางค อยูศรี (ที่ปรึกษา) การพั ฒ นาอุ ป กรณ ช  ว ยเหลื อ ผู  พิ ก ารทางสายตา และ
ผูสูงอายุในการเดินทาง เพื่อเปนอีกทางเลือกหนึ่งนอกจากไมเทา โดย
ไมเทานําทางสําหรับผูพ กิ ารทางสายตา จะพัฒนาเปน “เข็มขัดติดเซนเซอรนําทางคนที่มีปญหาทางสายตา”
และผูส งู อายุ ทีต่ อบโจทยการเดิน ไมวา จะเปน สามารถปรับตัวในการใชชวี ติ ใหมคี วามปลอดภัย โดยไมตอ งพึง่ พาผูอ นื่
พืน้ ราบหรือจังหวะทีต่ อ งขึน้ บันได มาพรอม กลุมเปาหมาย
ปุม ฉุกเฉินขอความชวยเหลือ จะเดินไปไหนมาไหน
หรือตองอยูบ า นคนเดียว ไมเทานี้ ผูพิการทางสายตา
จะชวยสรางความปลอดภัยได
“ พี่ฟา-เมนเทอร์กําลังใจสําคัญ ”
“ หยิบนวัตกรรมของรุนพี่ขึ้นตอยอดใหดีขึ้นอีกขั้น ”
นองเริ่มแชรประสบการณใหฟงอยางตั้งใจ
เนื่องจากนวัตกรรมนี้ ทีมไดเห็นรุนพี่ในสถานศึกษา
ทําเอาไว รูส กึ วานาสนใจ และคิดวาหากพัฒนาตอไปได
นาจะเปนผลดีขึ้นไปอีก นั่นก็คือไมเทานําทางอัจฉริยะ
สําหรับผูพ กิ ารทางสายตา ทีจ่ ะทําใหการใชชวี ติ นัน้ งาย
ขึน้ แมจะเดินไปไหนมาไหนคนเดียวก็ตาม เพราะระบบ
เซนเซอร จ ะคอยทํ า งานอยู  เ สมอ และรายงาน
คนใกลชิดหากเกิดเหตุฉุกเฉิน
ตอนคุยกับเมนเทอรทําใหทีมรูสึกวาพวกเรา
ทําได ซึง่ เปนโซนใหกาํ ลังใจกันไดดี อีกทัง้ เจอพีเ่ ลีย้ งชวย การดําเนินงานและการทดสอบ
ผอนคลายมากขึน้ และหายเครียด หลังจากมีการปรับ 1. เปลี่ยนกลุมเปาหมายจากผูสูงอายุ และคนที่มีปญหาทางสายตา
เปนผูพิการทางสายตา
ความเขาใจ ซึ่งตอนแรกยอมรับวาอยากกลับดวยซํ้า
2. เปลีย่ นรูปแบบชิน้ งานจากเข็มขัดเปนไมเทา โดยการเพิม่ ระบบเซ็นเซอร
แตพวกพี่ๆ เปนสิ่งที่ทําใหอยากอยูคายตอ พืน้ ราบ และขึน้ บันได เพิม่ ระบบเซ็นเซอรเปน 3 ตัว มีดา นหนาขวา และ
“ ตอนที่เลานวัตกรรมใหเพื่อนฟง ซาย เพิม่ ระบบเซ็นเซอรตรงกลางไมเทา 1 ตัว และปลายไมเทาอีก 1 ตัว
ทัง้ ทีไ่ มไดมาจากกลุม เดียวกัน ไดรวู า เพือ่ นทําอะไรบาง มี ส วิ ต ซ ฉุ ก เฉิ น ด า นบนไม เ ท า เพื่ อ ส ง SMS หรื อ Line notify
ไปแจงใหญาติทราบและสามารถมาชวยเหลือไดทันทวงที
และมองยอนกลับมาดูงานเราเพื่อพัฒนา ” 3. ทําการทดลองไมเทาโดยการติดตั้งระบบเซนเซอรเพิ่มที่ระดับตางๆ
เรื่องที่นาประทับใจฉบับที่เก็บไวคนเดียวไมได สวนชิ้นงานไมเทาอยูระหวางดําเนินการทดลอง
คือทีมรูสึกภูมิใจในตัวเองมากตอนไดพรีเซนตงาน ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
แมจะมีเวลาเตรียมตัวนอย แตก็ดีใจที่เมนเทอรรับฟง ไมมีผลการทดสอบการใชงาน แตมีขอสังเกตเกี่ยวกับการใช
และเปดพื้นที่ใหคิดไดเต็มที่ จากนั้นไดกลับมากําหนด งานในสภาพจริง มีขอควรระวัง คือ ผูใชงานจะตองไดรับการฝกการใช
เปาหมายใหชัดเจนยิ่งขึ้น ไม เ ท า นํ า ทางอั จ ฉริ ย ะจากผู  ส อนที่ ชํ า นาญโดยตรง เพื่ อ ให เ กิ ด
ความคุนเคยกับสภาพแวดลอมและการเคลื่อนไหว จนสามารถใชเปน
“ ทอบางแตดีใจทีไ่ ดทํา ” เครื่ อ งมื อ ในการเดิ น ทางไปยั ง สถานที่ ต  า งๆ ได อ ย า งปลอดภั ย
:)
12
นวัตกรรมส่งเสริมชีวิตวิถีใหม่ เครือ่ งหมักปุย จากเศษอาหาร
ทีช่ ว ยลดปญหาเศษขยะ
เครื่องผลิตปุ๋ยจากเศษอาหาร อาหารกองลน โดยนํามา
สําหรับครัวเรือน วิทยาลัยสารพัดชางสุราษฎรธานี
จ.สุราษฎรธานี
หมักเปนปุย ชีวภาพ
นําไปใชประโยชนใหพชื พันธุ
ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ นายยุทธศักดิ์ รักษแดง งามตาได แถมยังเชือ่ มตอกับ
ทีม SRPC Save นายกองเกียรติ ขุนปกษี
นายสุทธิพล แจมเหมือน
แอปพลิเคชันไลน
the world นายชัยยะ แซเฮง (ที่ปรึกษา)
รายงานการทํางานอยูเ สมอ
“ แฮปปี้เสมอขอแค่มีเพื่อน ” อีกทัง้ ชอบทีไ่ ดเห็นผลงานของเพือ่ นบาง แถม
“ อยากใหเครื่องผลิตปุยถูกนําไปใชไดจริง หมักได ปนได ตัวเองไดฝก พรีเซนตงานในตลาดนัดกลางคืน
อยากใหคนในชุมชนขางโรงเรียน และคนทีข่ ายของในโรงอาหารไดใช ” เปนโซนความรูที่สนุกไปอีกแบบ
จุดเดนทีต่ อ งพูดถึงคือทีมนีท้ าํ งานเปน
พายอนกลับในตอนตนนองเลาวากอนหนานี้ “เจอเศษอาหาร ทีม ทําไรทํากัน ไมเคยทอ และขยันอดทน ทุก
ที่เหลือในโรงเรียนเยอะมาก” เยอะมากจริง ๆ ตอนนั้นยังไมแนใจวาจะ คนในทีมสนิทกันอยูแ ลวการประสานงาน หรือ
ทําอยางไร แตเปนเรื่องที่นานําคิดตอ จึงมีคนนึงไปศึกษาขอมูลตอ บางจังหวะที่ตองการความรูใจกันมันเลยทํา
เลยอยากพากันลองพัฒนาดู จึงคิดนวัตกรรม “เครื่องผลิตปุยจาก ใหงานโฟลวมาโดยตลอดจนถึงตอนนี้ ที่ตอง
เศษอาหารสํ า หรั บ ครั ว เรื อ นด ว ยพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ” ขึ้ น มา ปรับกันอีกหนอยในตัวงานอยางเรื่องระบบ
นอกจากครัวเรือนแลว โรงอาหารในโรงเรียน หรือสถานทีต่ า งๆ สามารถ ควบคุมที่ยังตองคิดกันตอ แตแฮปปเสมอที่
นํ า ไปใช ไ ด เ ช น กั น ซึ่ ง สามารถใช ป ระโยชน จ ากปุ  ย ได ห ลากหลาย ไดทํางานกับเพื่อน ๆ ทุกคนในทีมพูดไปยิ้มไป
“ สิง่ ทีไ่ ดเรียนรูจ ากการมาคายถูกนําไปปรับใชเรือ่ งการตัง้ คําถาม ซึง่ สิง่ นีส้ มั ผัสไดถงึ ความเปนทีมทีเ่ หนียวแนน
และกระบวนอืน่ ๆ ทําใหเราเห็นความจริงมากยิง่ ขึน้ ” สําหรับปหนาหากมีโครงการอีกทีมอยาก
ใหเปดโอกาสรุนนองปวส. ไดมายืนอยูจุดนี้
ตอนนั้นกลุมเปาหมายอาจจะยังไมชัดขนาดนี้ เหมือนรูจักเขา บาง เพราะเปนการเปดโลกใบใหมอกี ใบ ไดมา
แต ก็ ยั ง ไม รู  จั ก ดี พอกลั บ มาจากค า ยเรากํ า หนดเป า หมาย ศึกษาโครงการของเพื่อนคนอื่นๆ เราจะได
ได ชั ด ขึ้ น ทํ า ให รู  ว  า ลู ก ค า หรื อ กลุ  ม เป า หมายต อ งการอะไรกั น แน พัฒนาไปกวาที่เคยเปน : )
ที่มา การดําเนินงานและการทดสอบ
ปญหาการจัดการสิ่งแวดลอมดานขยะมูลฝอยเปนปญหาเรงดวน 1. ปรั บ อุ ป กรณ ใ ห มี ข นาดเหมาะสมกั บ การใช ง านในครั ว เรื อ น
ที่ตองแกไข โดยประมาณครึ่งหนึ่งของขยะที่เกิดจากชุมชนเปนขยะอินทรียที่ 2. ทดสอบการใชงาน
สามารถนํามาทําปุย อินทรีย แตตอ งใชกระบวนการผลิตทีใ่ หอณ
ุ หภูมสิ งู เพือ่ ทดสอบการใชงานในแตละพื้นที่ ชวงเวลา สภาพอากาศ
ฆาเชื้อจุลินทรียกอโรคในวัสดุหมัก เปนสาเหตุใหเกิดการสูญเสียธาตุอาหาร ความรอน องศาการรับแสง แลวบันทึกผลการทดลอง
ที่เปนประโยชนแกพืช ทุก 1 ชั่วโมง สามารถผลิตปุยได
ทดสอบการรับแสง กักเก็บความรอน ถายเทความรอน และ
แนวคิดนวัตกรรม
ความรอนที่ผลิตไดในสภาพแวดลอมที่ตางกัน แลวบันทึก
เพือ่ แกไขปญหาการผลิตปุย ชีวภาพจากเศษอาหารใหมคี ณ ุ ภาพและ ผลการทดลองทุ ก 1 ชั่ ว โมง สามารถผลิ ต ปุ  ย ได
ประสิทธิภาพสูงขึน้ โดยไมตอ งใชพลังงานไฟฟาเพือ่ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม ทดสอบการบดเศษอาการ กลิ่น ขนาด ความเร็วมอเตอร
เชื้อโรคปนเปอนและปญหาทางดานมลพิษ ทางอากาศ เพื่อชวยใหกลุม การทั่วถึง และการกลับชั้นของเศษอาหาร แลวบันทึกผล
เกษตรกรมีรายไดจากการผลิตปุย ชีวภาพและลดปญหาขยะในบานเรือน รวม 10 ครั้ง สามารถผลิตปุยได
ทั้งลดคาใชจายในการซื้อปุยเคมี ลดการตกคางของสารเคมีในสิ่งแวดลอม
ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
กลุมเปาหมาย
ผลิ ต ปุ  ย ที่ มี ส ารอาหารที่ จํ า เป น ต อ การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช
บุคคล เกษตรกร ในพื้นที่ชุมชน ครอบครัว นักเรียน นักศึกษา และ ทุกชนิด สามารถใสเศษอาหารจําพวก กระดูก นํ้าแกง ผลิตเปนปุย
ผูที่สนใจทําปุยหมัก พร อ มใช ภ ายใน 24 ชั่ ว โมง แจ ง เตื อ นผ า นแอปพลิ เ คชั น ไลน
ไม มี ผ ลการทดสอบสารอาหารของปุ  ย ที่ เ ครื่ อ งผลิ ต ได

13 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
นวัตกรรมลด ละ เลิก ที่มา
จากการสํารวจพฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอลทาํ ให
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
พบวา สวนใหญเกิดจากการเขาสังคมพบปะเพือ่ นฝูง หรือเปนการสราง
ระบบส่งเสริมเพื่อลดการบริโภค ความสั ม พั น ธ ก อ ให เ กิ ด อาการเสพติ ด เครื่ อ งดื่ ม มึ น เมาในที่ สุ ด
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ในรูปแบบการแข่งขันเสมือน แนวคิดนวัตกรรม
(Virtual Competition เครื่องมือในการสรางแรงจูงใจใหเลิกการบริโภคเครื่องดื่ม
แอลกอฮอลมีแนวความคิดมาจากการวิ่งมาราธอนแบบออนไลน
Less Alcohol System) (Virtual Run) โดยนําเทคโนโลยีการตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอลใน
ทีม Non-Alcoholic Heart เลือดโดยการเปาลมหายใจผานระบบออนไลน มาผสมผสานกับการ
แขงขันกับบุคคลอื่นและจิตใจของตนเอง เพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่ม
โรงเรียนศึกษานารี จ.กรุงเทพมหานคร
แอลกอฮอล ใ ห ไ ด ใ นระยะเวลานานที่ สุ ด ซึ่ ง ส ง ผลให เ ลิ ก บริ โ ภค
นางสาวอัญมณี อัศววงศเสถียร เครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนการถาวร
นางสาวกัญญาวรัตน วงศวชิระกุล
นายมานะ อินทรสวาง (ที่ปรึกษา)
กลุมเปาหมาย
เครื่องตรวจวัดแอลกอฮอลในเลือดดวย
การเปาลมหายใจทีส่ ามารถเชือ่ มตอกับแอปพลิเคชันใน คนชวงอายุ 20-30 ป ทีม่ คี วามตองการในการลดการบริโภค
สมารตโฟนผานระบบบลูทูธได ผานแอปพลิเคชัน เครื่องดื่มแอลกอฮอล
การแขงขันเสมือน Virtual Less Alcohol
“ ด้วยความห่วงใยจากใจ 2 เพื่อนซี้ ”
“ พวกเราสามัคคีกันมากๆ พอเห็นเพื่อนที่มีงานเยอะ
พอๆ กัน แตกน็ งั่ ทํางานทัง้ วันทัง้ คืน ทําใหรสู กึ ผูกพันกัน
มากๆ เห็นใจเพื่อนมากๆ ดวย ”
แรงบันดาลใจจากนักวิง่ ในชวง COVID-19 ทีไ่ มสามารถ
ออกมาวิง่ นอกบานได แตกว็ งิ่ เก็บแตมผานแอปพลิเคชัน
ซึง่ ถือไดวา เปน New Normal ทีน่ า สนใจ จึงเปนจุดเริม่ ตน
ของ 2 เพื่อนซี้แหงกลุม “Non-Alcoholic Heart”
ทางทีมไดทําการสรางตนแบบเครื่องตรวจวัด
แอลกอฮอลในเลือดดวยการเปาลมหายใจทีส่ ามารถเชือ่ ม การดําเนินงานและการทดสอบ
ตอกับแอปพลิเคชันในสมารตโฟนผานระบบบลูทธู ได เมือ่
1. วางแผนการพบกลุมเปาหมาย
เปดแอปพลิเคชัน Virtual Less Alcohol จะเจอกับหนา 2. พั ฒ นาแอปพลิ เ คชั น โดยใช App inventor โดยได ผ ลงาน
จอหลักของแอปพลิเคชัน เมื่อคลิกเลือกปุมลงทะเบียน ออกมาเปน Application Virtual Less Alcohol
ตองกรอกขอมูลและ เลือกระยะเวลารวมกิจกรรมและระดับ 3. ออกแบบวงจรเครื่ อ งตรวจวั ด แอลกอฮอล ใ นเลื อ ดด ว ย
ในเขารวมแขงขัน ก็สามารถเชือ่ มตอกับนวัตกรรมไดแลว การเปาลมหายใจที่สามารถเชื่อมตอกับแอปพลิเคชันในสมารตโฟน
ผานระบบบลูทูธไดในโปรแกรม Fritzing
ถึงเปนประสบการณเรียนรูใ หมเกือบทัง้ หมดของ 4. ทดสอบระบบการทํางานของแอปพลิเคชัน
ทั้งสอง แตก็ทําเต็มที่ในสวนของตัวเอง แถมยังไดรับคํา 5. คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยการชักชวนในกลุมเพื่อน ในสื่อสังคม
ออนไลน เพื่อหาอาสาสมัครที่จะทดลองใช
แนะนําดีๆ จากเมนเทอร ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานอีกดวย
6. ทดสอบการใชงานกับกลุมตัวอยางจํานวน 4 คน และทําแบบ
จนตอนนีต้ วั ตนแบบ ไดพฒ ั นาไปกวาครึง่ ทางแลว ถือเปน ประเมินความพึงพอใจ
สัญญาณทีด่ ี ตอบรับความตัง้ ใจในเสนทางนวัตกรแหงนี้ ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
เรื่องราวของความประทับใจ อาจไมไดมาจาก แบบประเมินความพึงพอใจผลงานพบวาสามารถกระตุนให
ผลงานทีส่ มบูรณแบบ แตยงั อยูท มี่ ติ รภาพและการไดรจู กั กลุมตัวอยางสามารถลดการบริโภคแอลกอฮอลได
ตัวเองมากขึ้นอีกดวย

14
นวัตกรรมลด ละ เลิก การสูบบุหรี่

เครื่องแจ้งเตือนการสูบบุหรี่
เพือ
่ ลดการสูบบุหรีใ่ นทีส
่ าธารณะ ที่มา
ทีม Change Of The World ปญหาการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะยังมีใหเห็นอยูบอยครั้ง
โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช ทําใหผูที่ไมสูบบุหรี่ไดรับความเดือดรอนจากควันบุหรี่มือสอง
จ.นครศรีธรรมราช
นายภาณุพงศ เชียเชื้อ
แนวคิดนวัตกรรม
นายนนฐวุฒิ หวังดี ประดิษฐเครื่องแจงเตือนการสูบบุหรี่ขึ้นเพื่อลดการสูบบุหรี่
นายอภิสิทธิ์ ทวิชศรี ภายในโรงเรียน โดยมีเซนเซอรตรวจจับควันที่ออกมาจากการสูบบุหรี่
นายอักขรา ธานีรัตน (ที่ปรึกษา)
และจะถายรูปของบุคคลทีส่ บู บุหรี่ หรือนํารูปไปวิเคราะหและเก็บขอมูล
เปนสถิติการสูบบุหรี่ในโรงเรียน นําสถิติไปติดไวในบริเวณที่มีการสูบ
สูบบุหรีใ่ นพืน้ ทีส่ าธารณะ อยาคิดวาใครไมเห็น
บุหรีเ่ พือ่ สรางจิตสํานึกและทําใหปริมาณการสูบบุหรีข่ องนักเรียนลดลง
แตเครือ่ งจับควันบุหรีเ่ ห็น !
เพราะมีระบบเซนเซอรตรวจจับควัน และมีกลองพรอม กลุมเปาหมาย
ถายรูปผูท สี่ บู บุหรี่ จากนัน้ ขอมูลจะถูกสงไปยัง นักเรียนภายในโรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย
เจาหนาทีผ่ เู กีย่ วของ เพือ่ ใหดาํ เนินการตามกฎหมาย นครศรีธรรมราช
อยางทันควันเลยละ แถมใชงา ยแคเสียบสาย USB
เขากับแบตเตอรี่ ภารกิจตรวจจับจะเริม่ ขึน้

“ ทําแพลนดีไม่มีตก ”
ขอยอนกลับไปวานองๆ ทีมนีม้ กั ชอบสังเกต เลย
ไดเห็นปญหาวามีหลายคนสูบบุหรีใ่ นสถานทีส่ าธารณะ
พูดใหงายขึ้นคือไมไดสูบในจุดที่ถูกจัดไวให ทําใหคนที่
อยูใ กลตอ งพลอยไดรบั ควันบุหรีม่ อื สองไปดวย ประเด็น
นี้เองทีมมองเห็นปญหาจึงหยิบหยกเอาองคความรูใน
หองเรียนมาสรางสรรคเปนนวัตกรรม“เครื่องตรวจ
จับควันบุหรี”่ ดูดปุป กลองถายรูปทํางานปบ เตรียมรับ
ใบแจ ง ความผิ ด ถึ ง บ า นได เ ลย โดยนวั ต กรรมนี้
ครูเห็นดวยเปนอยางมาก จึงผานฉลุย ! การดําเนินงานและการทดสอบ
“ นวัตกรรมที่คิดสามารถไดจริง หากทดลองแลวไมมี 1. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณและโปรแกรมการทํางานของ
อุปกรณตางๆ
อะไรผิดพลาดอาจจะตอยอดดวยการเปลี่ยนสถานที่ 2. สํารวจพื้นที่หาพื้นที่เปาหมายและบริเวณเลือกที่จะติดตั้งอุปกรณ
หรือกลุมเปาหมายอื่นๆ ดูบาง ” 3. ทดสอบหาตําแหนงของระดับความสูงในการติดตัง้ : กําหนดความสูง
ทีมนี้จัดระบบการทํางานคอนขางเปนไปตาม ที่จะทดสอบดังนี้ 20 30 40 50 60 70 80 90 และ 100 ซม. จากจุด
แพลน มีการแบงงานอยางชัดเจน แมบางจังหวะจะตอง อางอิงโดยจุดอางอิงจะใชความสูงเฉลี่ยของคนไทยโดยทั่วไปซึ่งอยูที่
ประมาณ 170 ซม. ทดสอบ 3 ครั้ง และทดสอบซํ้าอีก 3 ครั้ง
แบกรับทั้งความกลัว ความกดดันและปจจัยดานลบ 4. ทดสอบและหาองศาของกลองทีส่ ามารถจับภาพไดชดั เจนมากทีส่ ดุ
ตางๆ เอาไวมากมาย แตทีมก็ใชความมุงมั่นที่แนวแน โดยใชความสูงที่ 70 ซม. จากจุดอางอิงซึง่ เปนความสูงทีส่ ามารถอานคา
ฝาฟนอุปสรรคตรงหนามาจนได อีกทัง้ อาจจะเปนเพราะ ควันบุหรี่ไดมากที่สุด: องศาของกลองที่จะทดสอบโดยใหมีองศาที่
มีครูคอยใหกาํ ลังใจซัพพอรต ชวยมองทางแกไขอยูเ สมอ จะทดสอบดังนี้ 20 30 40 และ 50
อยางไมตกหลนและมีเปาหมายทีอ่ ยากจะตอยอดนวัตกรรม ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
ตอไปดวย ขอบคุณครับทีไ่ ดเจอกับคายนี้ เพราะใจก็แอบ การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ที่ ร ะดั บ ความสู ง 70 ซม. เป น ความสู ง ที่
กลัวทีมอืน่ ๆ เหมือนกัน แตไดมาสัมผัสรูส กึ มีกาํ ลังใจขึน้ เหมาะสมเนื่องจากไมสูงหรือตํ่าจนเกินไปจึงทําใหอานคาไดมากที่สุด
มุ ม กล อ งที่ 60 องศาจะสามารถเก็ บ ภาพได ชั ด เจนที่ สุ ด
มาเปนกอง และพวกผมก็ทําได รูสึกวาสิ่งที่ไดเจอ ยั ง ไม มี ผ ลการเก็ บ สถิ ติ เนื่ อ งจากสถานการณ COVID-19
และเรียนรู มันไมไดยากอยางที่คิดไว

15 20 นวัตกรรมสร้าง เสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.


ที่มา
จากการเกิดอุบตั เิ หตุของรถจักรยานยนต สาเหตุหนึง่ ทีส่ าํ คัญ
นอกจากการไมสวมหมวกกันน็อก คือการที่ผูขับขี่ลืมเก็บขาตั้งขึ้น
ผูขับขี่สวนใหญมักลืมตัวแลวขับขี่ออกไป เมื่อถึงจุดที่ตองเลี้ยว ทําให
นวัตกรรมลดอุบัติเหตุทางถนน
ขาตั้งลากกับถนน รถเสียการทรงตัว และอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ
อุปกรณ์เตือนภัยขาตั้ง อยูบอยครั้ง
สําหรับรถจักรยานยนต์ แนวคิดนวัตกรรม
1 ได้ถึง 3 (ขาตั้งสติแตก) อุปกรณแจงเตือนกรณีไมไดเอาขาตัง้ รถจักรยานยนตขนึ้ ขณะ
ขับขี่ นอกจากลดอุบตั เิ หตุทางถนนจากการลืมนําขาตัง้ ขึน้ แลว ยังสามารถ
ทีม iF เตือนกรณีรถลมเพือ่ ใหผพู บเห็นเหตุการณสามารถใหการชวยเหลือได
โรงเรียนวังโพรงพิทยาคม จ.พิษณุโลก อยางทันทวงทีและเปนสัญญาณปองกันการขโมยไดอีกดวย
นายพงศกร คําจันดา กลุมเปาหมาย
นายกิตติธัช จันทรขอม
นางสาวศิรินภา ศรีประสงค ผูขับขี่รถจักรยานยนตประเภทเกียรธรรมดา
นายนพดล วรรณารุณ (ที่ปรึกษา)

อุปกรณเตือนภัยขาตัง้ สําหรับ
รถจักรยานยนต มีชอื่ เลนเรียกวาขาตัง้ สติแตก
เตือนภัยในรูปแบบสีและแสง ใหนาํ ขาตัง้ ขึน้
เตือนกรณีรถลม และเปนสัญญาณปองกันการ
ขโมย จากพลังงานถานแหง

“ บทเรียนจากอุบัติเหตุรอบตัวเรา ”
การดําเนินงานและการทดสอบ
“ เฮยพี่ เอาขาตั้งขึ้น ลืมเอาขาตั้งขึ้น ”
1. การปรับปรุงวงจร การทําใหอุปกรณมีความคงตอการใชงาน
2. การปรับลักษณะภายนอกใหสวยงาม และการเพิ่มความเสถียร
บทสนทนายอดฮิตของผูใชมอเตอรไซค ที่เคยไดยิน ใหกับอุปกรณ
ผานหูกนั ทุกคน อาจเคยเปนทัง้ คนทีค่ อยตะโกนบอกหรือ 3. การทดสอบ
เปนคนที่ลืมเอาขาตั้งขึ้นเองซะเอง และบางทีการตะโกน ทดลองในหองทดลองโดยนําอุปกรณตดิ ตัง้ ไวกบั ขาตัง้ จําลอง
(ขาตัง้ ทีถ่ อดออกจากรถจักรยานยนต) แลวนําไปวางตําแหนง
อาจทําใหคนขับตกใจและเสียสมาธิจนเกิดอุบตั เิ หตุได ที่
เดียวกันกับตําแหนงทีต่ ดิ กับรถจักรยานยนต จากนัน้ เปดเสียง
นาเศราไปกวานั้นคือมีพี่ในโรงเรียนเสียชีวิตเพราะรถลม จําลองสถานการณตา งๆ โดยใชแอปพลิเคชันวัดความดังเสียง
จากการไมนําขาตั้งขึ้น นี่จึงเปนจุดเริ่มตนใหทีม iF อยาก ใหใกลเคียงกับเสียงในสถานการณการจริง แลวใหผทู ดลองที่
แกปญหานี้ สวมหมวกกันน็อกแบบเต็มใบ ยกมือขึน้ หากไดยนิ เสียงเตือน
จากอุปกรณจากสถานการณ 3 สถานการณ คือ บริเวณขณะ
กลุม iF นั้น ไดนําความคิดเห็นของเมนเทอรและ ใช เ ลื่ อ ยไฟฟ า ถนนที่ มี ก ารจราจรหนาแน น ฝนตกหนั ก
เพือ่ นๆ ไปปรับปรุงนวัตกรรมใหเล็กลงเรือ่ ยๆ ตอนนีท้ าํ มา ทดสอบความแข็งแรง ดวยการถีบขาตัง้ ขึน้ และลงเปนจํานวน
4 เวอรชั่นแลว และขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ทําใหใชงานได 300 ครั้ ง เพื่ อ ดู ก ารยึ ด แน น และการทํ า งานของอุ ป กรณ
สะดวก ไมเทอะทะเมื่อนําไปติดกับมอเตอรไซค ตอนนี้ ทดสอบการกันนํ้าดวยเวลา 20 นาที 40 นาที และ 60 นาที
ทดสอบการทนความร อ น (นํ า รถไปจอดไว ก ลางแดด
ก็ทดลองใชเองไปกอน 80% แลว ในชวงเวลาประมาณเที่ยง) ดวยเวลา 20 นาที 40 นาที
“ ชอบมิตรภาพระหวางเพื่อน และ 60 นาที
ชอบกิจกรรมละลายพฤติกรรม ทําใหไมเครียดดี ” ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
“ ชอบตลาดนวัตกรรม เพราะไดฟงความคิดเห็น ไดแรง • จากการทดสอบ ผู  ใ ช ง านสามารถได ยิ น เสี ย งแจ ง เตื อ นจาก
บันดาลใจจากเพื่อน เปลี่ยนมุมมอง เพื่อนๆ เจงมาก ” สถานการณจําลองได 100%
• การทดสอบความแข็ ง แรง การกั น นํ้ า และการทนความร อ น
อุปกรณสามารถใชงานได 100%
• อุ ป กรณ ส ามารถเตื อ นผู  ขั บ ขี่ เ พื่ อ ไม ใ ห ลื ม ขาตั้ ง ขณะขั บ ขี่
รถจั ก รยานยนต ไ ด อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถใช ง านได ใ นชี วิ ต จริ ง
16
ที่มา
นวัตกรรมลดอุบัติเหตุทางถนน สาเหตุหลักทีส่ าํ คัญทีส่ ง ผลตอการเกิดอุบตั เิ หตุบนทองถนน
อยางหนึ่ง คือ การขับรถเร็ว ประมาท รวมกับการไมชํานาญเสนทาง
ตุ๊กตาช่วยเตือนจุดเสี่ยง ไมระมัดระวังเมือ่ พบเจอทางแยก หยุดรถไมทนั สาเหตุเหลานีม้ กั จะเปน
เพื่อความปลอดภัยในการขับรถ สาเหตุหลักของอุบัติเหตุรถยนตที่รุนแรงเสมอ
แนวคิดนวัตกรรม
ทีม Mito Team
โรงเรียนศรีตระกูลวิทยา จ.ศรีสะเกษ ตุก ตาติดรถชวยเตือนจุดเสีย่ งเกิดอุบตั เิ หตุ สําหรับชวยเตือน
นางสาวพิชญาภา สุดสังข ผูใ ชรถขณะขับขีบ่ นทองถนน ใหสามารถเตือนสติผขู บั ขีใ่ หรบั รูแ ละเตรียม
นางสาวอุบลวรรณ มะยม ตัวลดความเร็วรถกอนถึงจุดเสี่ยง หรือจุดที่มีอุบัติเหตุบอย โดยใช
นางสาวพิชชาภา สายจันทร เสียงของคนในครอบครัวเปนเสียงเตือน
นางสุกฤตา บุตรออน (ที่ปรึกษา)
กลุมเปาหมาย
ตุก ตาชวยเตือนจุดเสีย่ ง เพือ่ ความปลอดภัยใน ผูใชรถยนตทั่วไป
การขับรถ มีเสียงคอยเตือนสติผขู บั ขีร่ บั รูแ ละเตรียม
ตัวลดความเร็วลงไดโดยใชตวั บอรดสมองกล
ทํางานควบคูก บั ระบบ GPS

“ ตุ๊กตาเตือนภัยเพื่อคนที่คุณรัก ”
“ เวลานัง่ รถหรือขับรถมีความเสีย่ ง ยิง่ เวลาไมชาํ นาญเสน
ทาง ก็เบรคไมทนั เกิดอันตราย ทัง้ คนขับคนนัง่ เลยอยาก
ทําสิ่งนี้ขึ้นมา ” การดําเนินงานและการทดสอบ
1. สํ า รวจกลุ  ม เป า หมายใหม แ ยกออกเป น ครู ผู  มี ร ถยนต
“ ตุก ตาชวยเตือนจุดเสีย่ งเพือ่ ความปลอดภัยในการ ชาวบานผูขับรถยนต ทั่วไปและเพิ่มเติม คือ เจาหนาที่ตํารวจจราจร
ขับรถ ” เกิดขึน้ มาจากการศึกษาพฤติกรรมการใชรถใชถนน เจาหนาที่พยาบาลแผนกฉุกเฉิน
พบวาสาเหตุหลักสําคัญของการเกิดอุบตั เิ หตุบนทองถนน 2. สํ า รวจจุ ด เสี่ ย งกั บ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง (สถานี ตํ า รวจ
คือการขับรถเร็ว ประมาท รวมกับการไมชาํ นาญเสนทาง ภูธรปรือใหญ สถานีตาํ รวจอําเภอขุขนั ธ สํานักงานปองกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวัดศรีสะเกษ และโรงพยาบาลขุขันธ) เฉพาะจุดที่เกิด
เมื่ อ พบเจอทางแยก หรื อ ทางเลี้ ย วทํ า ให ห ยุ ด รถ อุบัติเหตุมาแลว 3 ครั้ง ขึ้นไป บันทึกเปนขอมูลละติจูด และลองติจูด
ไมทัน จึงอยากใหตุกตาชวยเตือนจุดเสี่ยงตางๆ 3. ออกแบบอุปกรณติดตั้ง แบบกลองสี่เหลี่ยมดวยเครื่องพิมพ 3D
“กอนหนานีค้ อื จะทําอะไรก็ทาํ เลย แตพอไดมาเขา เชื่ อ มต อ เซ็ น เซอร และบอร ด ESP8266 และโมดู ล GPS
4. ออกแบบเสียงไวทั้งหมด 4 รูปแบบ คือ
คาย ก็รับรูถึงกระบวนการเขาถึงกลุมเปาหมาย และการ • อีก 200 เมตร ทางโคงอันตราย (บนทางโคง)
คิ ด ตั ว ต น แบบทํ า ให ค วามคิ ด เราเป ด กว า งมากขึ้ น ” • อีก 200 เมตร จุดเสี่ยงอันตราย (บนทางตรง)
• อีก 200 เมตร สามแยกอันตราย (บนทางสามแยก)
Mito สะทอนถึงการทํางานของตัวเอง ทีต่ อนแรก • อีก 200 เมตร สี่แยกอันตราย (บนทางสี่แยก)
จะมีกลุม เปาหมายกวางมาก ก็ไดขยับปรับลดลง หลังจาก 5. ออกแบบการแจงเตือนดวยแสงไฟ สามารถเลือกปดระบบแจงเตือน
ด ว ยเสี ย งได จะเหลื อ การแจ ง เตื อ นเฉพาะแสง โดยเมื่ อ เจอ
ที่ไดเรียนรูวิธี Design Thinking เพื่อใหทุกคนไดใช จุ ด เสี่ ย งจะเปลี่ ย นเป น ไฟสี แ ดง เมื่ อ พ น จุ ด เสี่ ย งจะเปลี่ ย นสี เ ขี ย ว
นวัตกรรมนี้อยางทั่วถึงจริงๆ Mito ยังไดเรียนรูดวยวา 6. การทดสอบ
นวัตกรรมไมไดหมายถึงแคลงมือทําแลวจบ แตหมายถึง • ทดลองกอนใชจริง ทั้งหมด 10 ครั้ง มีการแจงเตือน 30 จุด
จากทั้งหมด 31 จุด (96.77%) และ 1 จุดที่ไมแสดงผล เปนจุดที่
การประสานกับผูอื่นดวย ไมมีสัญญาณโทรศัพท
“ เราออกแบบและดูวิธีทําตัวตนแบบดวยกัน • ทดลองใชงานโดยกลุมเปาหมาย: กลุมเปาหมายติดตั้ง
จํ า นวน 10 คน และขั บ รถตามเส น ทางที่ เ ป น จุ ด ทดสอบระบบ
จากใน YouTube คะ ” ในอําเภอขุขันธ และบันทึกขอมูล มีการแจงเตือน 30 จุด จากทั้งหมด
31 จุด ที่ปกไว (96.77%)
เรื่องราวประทับใจของ Mito คือการนั่งเรียนรูไป
ดวยกัน ลองผิดลองถูก และฝาดานยากๆ ไปดวยกัน จนถึง ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
ตุก ตาสามารถชวยเตือนจุดเสีย่ ง กอนถึงจุดทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุบอ ย
วั น ที่ ผ ลงานเริ่ ม ออกมาเป น รู ป เป น ร า ง ก็ ทํ า ให ครั้งในระยะ 200 เมตร ใหผูขับขี่ทราบวา ขางหนาประมาณ 200 เมตร
ชื่นใจ แลวเจอกันในวันแสดงผลงานนะ :) ตองใชความระมัดระวังมากขึ้น

17 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
นวัตกรรมลดอุบัติเหตุทางถนน ที่มา
SBS Project Alpha version ครอบครัวที่มีเด็กเล็กที่อยูในวัยเรียนหลายครอบครัว ไมมี
(Safety for bus student เวลาในการรับสงบุตรหลานที่โรงเรียนดวยตนเอง จําเปนตองพึ่งพา
บริการรถรับสงเด็กนักเรียน ไมวาจะเปนบริการของทางโรงเรียนหรือ
alpha version) การวาจางคิวรถตู ซึ่งบริการรถรับสงมีความเสี่ยงในหลายเรื่อง เชน
ทีม GO GO SMA KB คนขั บ ลื ม เด็ ก นั ก เรี ย นไว ใ นรถ ในบางครั้ ง ที่ ช  ว ยไม ทั น เป น เหตุ
โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จ.ยะลา ใหเด็กเสียชีวิต
นายนิพิฐพนธ พุมเฉิดฉัน แนวคิดนวัตกรรม
นายนาคินทร ศรปญญา
นายกฤษณะ สุขใส ระบบติดตามและแจงเตือนการขึ้นและลงรถรับสงนักเรียน
นางสาวมัสณา ทรงนาศึก (ที่ปรึกษา) (รถตู) แบบ Real-Time ดวยระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวในรถเพื่อ
แจงเตือน และใหคําแนะนําการใชงานอุปกรณและการแจงเตือน
ระบบติดตามและแจงเตือนการขึน้ และลง
รถโดยสารประจําทางแบบ Real Time พรอมกับ ผาน Line Chat bot
ระบบตรวจจับการเคลือ่ นไหวในรถ มีการแบงคลาสของ
อุปกรณและซอฟตแวร ออกเปน 3 ระดับคลายวรรณะของ กลุมเปาหมาย
มด และพัฒนาการสือ่ สารระบบ เฉพาะดวย Esp Now ผูปกครอง (ชวงอายุ 18 ปขึ้นไป) ของนักเรียน
(ชวงอายุ 4 – 9 ป)
“ ไปด้วยกันอย่างปลอดภัย ”
“ ตอนเด็กๆ ผมเคยติดอยูในรถครับ แตดีวามีชอง
หนาตางใหหายใจนิดนึง โดนทิ้งไวนานมาก รูสึก Panic
ที่จะขึ้นรถไปเลย ”
คําบอกเลาเหตุการณของลูกพลับ ตัวแทนจาก
กลุม GO GO SMA KB กับเหตุการณความหลังฝงใจในวัย
เด็ก ทีช่ ว ยเปดตอมเอะ และปุม ความสงสัยใหกบั ทีม ทาง
GO GO SMA KB กลับคิดเห็นตรงกันวา อยากประดิษฐ
นวัตกรรมที่ชวยเหลือเด็กดวยเหตุนี้
“ระบบติดตามและแจงเตือนการขึ้นและลงรถ
โดยสารประจําทางแบบ Real Time” จึงเกิดขึน้ บนความ
หวั ง ว า ให เ กิ ด ข อ ผิ ด พลาดน อ ยที่ สุ ด เพราะนั่ น อาจ
หมายถึ ง หนึ่ ง ชี วิ ต ที่ ท างที ม อาจช ว ยเหลื อ ไว ไ ด
การดําเนินงานและการทดสอบ
“ มีนองเดินเขามาบอกวานาิกาตนแบบ นารัก
1. เปลี่ยนกลุมเปาหมายหลักจากเด็กนักเรียน เปนผูปกครอง โดยมี
อยากใส แลวก็ถามใหญเลย ” การพัฒนาใหอุปกรณมีความเปนมิตรกับผูใช (นักเรียน) แตอยูใน
การทํา Prototype เปนสิ่งที่ GO GO SMA KB ความเห็นชอบของผูปกครอง
ไดเรียนรูไปจากคาย จนพัฒนาออกมาเปนตัวตนแบบ ที่ 2. การพัฒนารูปแบบการสงผานขอมูลผานโดยการศึกษารูปแบบ
สรางความสนใจใหกบั กลุม เปาหมาย ความสงสัย ของกลุม การทํางานของมด (Ant data transmission) โดยมีการแบงคลาสของ
เปาหมาย ทําให เกิดเปนความประทับใจเล็กๆ และความ อุปกรณและซอฟแวร ออกเปน 3 ระดับคลายวรรณะของมด และ
พัฒนาการสื่อสารระบบเฉพาะดวย Esp Now ซึ่งทําใหอุปกรณมีระยะ
ภูมใิ จ ของสมาชิกในทีม ทีร่ สู กึ วาตนเองไดจดุ ประกายและ
การสงขอมูลทีไ่ กลและไมมผี ลการทบอันเกิดจากสัญญาณรบกวนตางๆ
สงตอความคิดที่จะรวมแกปญหาสังคมใหแกกัน และมี 3. ทดสอบการใชงานจากหองแล็ป และทดสอบกับกลุมเปาหมาย
ความหวังในการขยายเปาหมายนีไ้ ปไดเรือ่ ยๆ กวาจะไดมา จริง 4 คน
เปนตัวตนแบบนวัตกรรม ก็แก Coding อยูห ลายวัน วน ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
ซํา้ ไปเรือ่ ยๆ สิง่ ที่ GO GO SMA KB ไดฝากไวใหเรานัน้ เปน
อุปกรณ M.C. กับ V.P ที่ใหนักเรียนกลุมตัวอยางใช นักเรียนรูสึก
ประโยคเทๆ ที่สะทอนแนวคิดของทีมไดดี ชวนใหเราคิด
สนใจในตัวอุปกรณเปนอยางมากดวยขนาดที่เบาและเล็กกะทัดรัด
ตาม และพยายามขึ้นไปอีกหลายเทา ขอบคุณมากนะ :) ในสวนของผูป กครองและคนขับรถทีใ่ ชอปุ กรณและ Line Chat bot
“ ไมมีคําวาทําไมได มีแตสิ่งที่เราถนัดที่สุด ก็ ชื่ น ชอบในการใช ง านที่ ง  า ยและติ ด ตั้ ง สะดวก สรุ ป โดยรวม
และถนัดนอยที่สุด ” อุปกรณบรรลุเปนไปไดตามจุดมุงหมายที่ตั้งเปาใว 90%
ทีมกลาวทิ้งทายดวยสายตามุงมั่น
18
นวัตกรรมลดอุบัติเหตุทางถนน ที่มา
สัดสวนผูเ สียชีวติ ดวยอุบตั เิ หตุทางถนนของประเทศไทย เปน
อุปกรณ์แจ้งเตือนสัญญาณ ผู  เ สี ย ชี วิ ต จากรถจั ก รยานยนต ม ากที่ สุ ด จึ ง เล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ
ของปญหาการเกิดอุบตั เิ หตุของผูใ ชรถจักรยานยนตทงั้ แบบ 2 ลอ และ
ความปลอดภัย เพื่อลดอุบัติเหตุ แบบ 3 ลอพวงขาง (ซาเลง) เพื่อจําหนายสินคาในพื้นที่ตาง ๆ ที่เสี่ยง
ทางถนน “รถจักรยานยนต์ ใหเกิดอุบัติเหตุในการใชรถใชถนน

สามล้อพ่วงข้าง (ซาเล้ง) แนวคิดนวัตกรรม


จําหน่ายสินค้า” อุปกรณสง สัญญาณเตือนเพือ่ ความปลอดภัย จากดวยระบบ
ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย เชน สัญญาณไฟเลี้ยว ไฟหนา ไฟเบรก
ทีม เครื่องกลลูกพระธาตุ 1 ไฟทาย เพือ่ ลดปญหาการเกิดอุบตั เิ หตุของกลุม พอคาแมคา และประชาชน
วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม จ.นครพนม ที่ใชรถสามลอพวงขาง (ซาเลง) ในการจําหนายสินคาในพื้นที่ตางๆ
นายสุรพงษ ยนตลอย
นายพัฒนวิทย รักษาพล กลุมเปาหมาย
นายเจษฎา ครโสภา พอคาแมคาที่ใชรถจักรยานยนตสามลอพวงขาง (ซาเลง)
นายรชต มณีโชติ (ที่ปรึกษา)
และประชาชนทั่วไป
อุปกรณแจงเตือนสัญญาณความปลอดภัย เพือ่
ลดอุบตั เิ หตุสาํ หรับรถพวงขาง (ซาเลง) จําหนาย
สินคา ตอบโจทยความตองการของผูใ ชงาน
กลุม แมคา พอคายามคํา่ คืน ดวยระบบชารจโดย
ใชไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย
จะเปนอยางไร ถาไฟรถซาเลง กลายมาเปนแรง
บันดาลใจในการสรางนวัตกรรม
สิง่ หนึง่ ทีส่ รางความสงสัยใหกบั ทีมคือ ถาพอคาแมคา
ตองขับรถพวงขางขายของ กลับบานในเวลากลางคืน ตําแหนง
ไฟทาย ของทั้งซาเลงพวงและรถมอเตอรไซค ที่ตองมีถึง 4 การดําเนินงานและการทดสอบ
ตา อาจทําใหเกิดอุบตั เิ หตุได เพราะพบเห็นอยูห ลายครัง้ รูส กึ 1. เก็บขอมูลเพิ่มเติม โดยการคนหาขอมูลขาวสารที่เปนสาเหตุของ
วาเปนความเสีย่ งทีค่ วรไดรบั การแกไข จึงจุดประกาย ความ การเกิดอุบตั เิ หตุของรถจักรยานยนตสามลอพวงขาง (ซาเลง) จําหนาย
อยากรู อยากลงมือทํา ตามแบบฉบับนวัตกรขึ้นมา เปน สินคา และการลงพื้นที่สอบถามขอมูลเพิ่มเติมจากกลุมเปาหมาย
“อุ ป กรณ แ จ ง เตื อ นสั ญ ญาณความปลอดภั ย เพื่ อ ลด ในเขตพื้นที่อําเภอธาตุพนม
2. อุปกรณประกอบดวย โซลาชารจเจอร 30 A. 12 V. แผงโซลาเซลล
อุ บั ติ เ หตุ ท างถนนของรถจั ก รยานสามล อ พ ว งข า ง 20 W (แบบ Mono) แบตเตอรี่แหง (Battery) NV 12 V. 12 A.
ที่จําหนายสินคา” ขึ้นมา เพื่อลดปจจัยเสี่ยงตอการเกิด สปอตไลต เล็ก 12 V. ไฟสตอปแลมปกลม และไฟทาย RN 10
อุบัติเหตุใหนอยลงที่สุด 3. ติดตัง้ อุปกรณกบั รถซาเลงทีเ่ ขารบการทดสอบ ไดแก ระบบชารจไฟ
ทีมเครื่องกลลูกพระธาตุ ไดมาเขาคาย และไดรับ จากพลั งงานแสงอาทิตย อุปกรณระบบไฟภายในรถจักรยานยนต และ
ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ร ะบบไฟแจ ง เตื อ นความปลอดภั ย บนท อ งถนน
ความรูจ ากพีๆ่ วิทยากร กระบวนกร และพีๆ่ เมนเทอรมากมาย ไดแก ระบบไฟเลี้ยว ไฟหรี่ และไฟสองสวาง
สวนทีไ่ ดนาํ ไปปรับใชเต็มๆ คือการศึกษาขอกฎหมายเกีย่ วกับ ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
การใชรถใชถนน เปนอีกหนึง่ มิตทิ นี่ วัตกรตองศึกษาหาความ
มีระบบแสงสวางในการจําหนายสินคาในชวงกลางคืน มีระบบ
รู รวมไปถึงการพูดคุยกับพอคาแมคา เพื่อคนหาขอมูลจริง การชาร จโทรศั พท มือถื อและมี ระบบไฟแจ งเตื อนในขณะขั บขี่ รถ
กอนนํามาพัฒนาออกแบบผลงาน เพื่อใหผลงานที่ผลิตขึ้น จักรยานยนตพวงขาง (ซาเลง) จําหนายสินคาทั้งชวงกลางวันและ
มานําไปใชงานไดจริง กลางคืน มั่นใจในการขับขี่ชวงกลางคืนมากกวาตอนที่ยังไมมีอุปกรณ
ชุดนี้มาใชงาน
“ ไมไดก็ไมเปนไร ขอแคไดเขารวมก็พอ ”
สิ่ ง ที่ ที ม หวั ง มากที่ สุ ด อาจไม ใ ช ร างวั ล แต เ ป น
ประสบการณ รอยยิม้ และการพูดคุย กับกลุม เปาหมายตาง
หากที่บอกวาวันนี้ เครื่องกลลูกพระธาตุ มาไกลแคไหน

19 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
ที่มา
ปญหาจากการใชรถในถนนทีม่ ชี อ งจราจรเดียว ในซอยแคบที่
เปนมุมอับ ไมสามารถมองเห็นรถทีจ่ ะเลีย้ วเขา/ออก ทําใหเกิดอุบตั เิ หตุ
หรือการทะเลาะวิวาทของผูใชรถใชถนน

นวัตกรรมลดอุบัติเหตุทางถนน แนวคิดนวัตกรรม

FIFO light ระบบจั ด ลํ า ดั บ สั ญ ญาณไฟจราจรในถนนเลนเดี ย ว


(พื้นที่ที่มีชองจราจรเดียว) ในซอยแคบ ดวยระบบตรวจจับวัตถุดวย
ทีม R-lu-mi-right ภาพ AR และเซนเซอรตรวจจับวัตถุดว ยคลืน่ เสียง (IR) เชือ่ มโยงกับการ
ออกแบบแหลงจายไฟฟาทีต่ ดิ ตัง้ ไดสะดวก ใชงานงาย และมีประสิทธิภาพ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา จ.สงขลา
นายธนดล ศรีเพชร
นายภูมิพัฒน คงหนู กลุมเปาหมาย
นายเอกศักดิ์ เทพยา (ทีป่ รึกษา)
กลุมคนที่ใชรถใชถนนตรงพื้นที่ซอยแคบ

“ FIFO light ” ระบบ AR และเซ็นเซอรเพือ่ ลด


อุบตั เิ หตุ แถมยังชวยลดการโตเถียงการขัดแยง
ระหวางผูใ ชรถใชถนนอีกดวย แกปญ  หาจากการใช
รถใชถนนทีม่ ชี อ งจราจรเดียวในซอยแคบหรือบริเวณ
ทีเ่ ปนมุมอับ ไมสามารถมองเห็นรถทีจ่ ะเลีย้ วเขา
เลีย้ วออกได
“ นวัตกรรมในซอยแคบ ”
เคยไหม ที่บางที ขับรถเขาไปในซอยแคบ แถมมี การดําเนินงานและการทดสอบ
หลายแยกอี ก ด ว ย ไม รู  ว  า จะมี ร ถสวนมาหรื อ เปล า 1. ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจากระบบที่ใชจัดการจราจรแบบสลับกันไปมา
ขับออกไปจะเจอรถคันอื่นขับตัดหนาหรือไม ของตางประเทศตามคําแนะนําของเมนเทอร
2. ลงสํารวจพื้นที่จํานวน 3 แหงและเลือกมา 1 แหง คือ ทางเขาออก
อู หนึ่งในตัวแทนของทีมกลาววา พอไดฟงอาจารย เก า เส ง เพื่ อ เป น พื้ น ที่ จํ า ลองที่ จ ะใช คิ ด ต น แบบของตั ว กระบวน
เลาถึงปญหา ก็เกิดความสนใจวาจะสามารถแกไขไดอยางไร การทํางาน
บาง เพราะเปนการไดยนิ ปญหาจากกลุม เปาหมายโดยตรง 3. ทําแบบสอบถามชาวบานในพืน้ ที่ และทํา User Journey เพือ่ หาความ
นัน่ เอง “ FIFO light ” ดวย AR และเซ็นเซอร เกิดขึน้ เพือ่ ต อ งการและออกแบบระบบให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการ
ของผูใชพื้นที่นั้น
ลดอุบตั เิ หตุ แถมยังชวยลดการโตเถียง การขัดแยงระหวาง 4. ศึกษาและทดลองเพือ่ หาขอดีขอ เสียและขอจํากัดของ Sensor แตละ
ผูใ ชรถใชถนนอีกดวย ตัวอูเ องถนัดทํา Coding ไดประสาน ชนิดโดยการตรวจจับรถยนต รถจักรยานยนต และคนเดินถนน โดย
พลังกับรุน พีม่ าชวยในการตอวงจรไฟฟา และนําไปทดลอง Sensor 3 ชนิดที่ไดนํามาใชทดสอบ ไดแก IR Ultrasonic และ
ในชวงเชาและเย็นทีก่ ารจราจรติดขัดอยางมาก เพือ่ ใหเห็น Photoelectric 3 แบบ ในที่ สุ ด ได ข  อ สรุ ป ที่ จ ะเลื อ กใช
Photoelectric sensor ในโหมด Diffuse และโหมด Reflect
ผลการใชจริงในสภาพแวดลอมจริง ที่จะชวยสรางผล 5. ออกแบบพัฒนา Algorithm ที่จะใชสําหรับการเขียนโปรแกรม
การเรียนรูใหนําไปพัฒนาตอไป โดยสมมติเหตุการณที่จะเกิดขึ้น แลวนํามาเขียนเปนโปรแกรม
“ พยายามซึมซับสิ่งดีๆ ไอเดียดีๆ จากเพื่อนและพี่เลี้ยง 6. ทดสอบในพื้นที่จริง
ไดความเปนนวัตกรดวย ”
สิง่ ทีอ่ แู ละเพือ่ นๆ สัมผัสไดคอื การเติมเต็มความรู ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
ตั้ ง ต น ให เ ข า ใจง า ยมากยิ่ ง ขึ้ น ผ า นกิ จ กรรม ผลการทดสอบในพื้นที่จริงโดยใชเครื่องตรวจจับ 1 ชุดในการ
Design Thinking ในรู ป แบบที่ แ ปลกใหม จ าก ตรวจนับรถยนต พบวา ผลการทดสอบเปนทีน่ า พอใจ ขอมูลทีไ่ ดมคี วาม
กระบวนการ รวมถึงไดรับฟงความคิดเห็น เห็นมุมมอง ผิดพลาดไมเกิน 5% สาเหตุมาจากการหันตําแหนงของตัวรับสัญญาณ
ไปในทิศทางที่แสงแดดสองมา และการที่รถมอเตอรไซคซอนคันทําให
ที่ตางออกไปจากเพื่อนๆ และพี่เลี้ยง ทําใหนอกจากมือ ตัวรับสัญญาณเขาใจวาเปนรถยนต สวนการประกอบและติดตัง้ ครบชุด
จะทํานวัตกรรมแลว สายตายังเปดกวางที่จะตอยอด กับการทดสอบเต็มระบบยังไมสามารถดําเนินการไดเนือ่ งจากอยูร ะหวาง
และสรางประโยชนใหกับคนอื่นอีกดวย การทดสอบอุ ป กรณ เ ชื่ อ มต อ สั ญ ญาณในระบบเครื อ ข า ยไร ส าย
20
นวัตกรรมสร้างเสริม ที่มา
ความเข้าใจสุขภาวะทางเพศ ปจจุบนั วัยรุน มีความเขาใจในเรือ่ งเพศนอย ประกอบกับสังคม
การพัฒนาเกม STS ไทยยังไมเปดกวางในเรือ่ งเพศมากเทาทีค่ วร เชน การพูดคุยเรือ่ งเพศกับ
(Seek the Sex) คนในครอบครัว ไมมีความรูดานการปองกัน ทําใหเกิดปญหาการทอง
เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ กอนวัยอันควรและโรคทางเพศสัมพันธ และทัศนคติตอเพศทางเลือก
ถาเด็กและวัยรุนไมไดรับความรูเรื่องเพศอยางเพียงพอ อาจกอใหเกิด
แก่เด็กและวัยรุ่นในเรื่องเพศ ปญหาในอนาคต
ทีม ลูกแม่แก้ว แนวคิดนวัตกรรม
โรงเรียนวิเชียรมาตุ จ.ตรัง
พัฒนาเกมเพือ่ ใหความรูค วามเขาใจแกเด็กและวัยรุน ในเรือ่ ง
นายบัญญวัฒ นวลนาค
นายกฤตเมธ ศรีแกว เพศ ซึง่ เปนเกมแนวสตอรีเ่ กม (Story Game) โดยผูเ ลนสามารถเลือก
นางสาวพิชญาภัค แกวสม เสนทาง และดึงดูดใหผูเลนตองยอนกลับมาหาตอนจบใหครบทุกเสน
นางพรลดา แกวพิทักษ (ที่ปรึกษา) ทาง เพื่อลุนในการเก็บคาประสบการณ (EXP.) ใหเพิ่มขึ้น หลังจาก
ไดศึกษาความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องเพศ
เกม STS (Seek the Sex) เพือ่ ใหความรูค วาม
เขาใจแกเด็กและวัยรุน ในเรือ่ งเพศ แนว Story กลุมเปาหมาย
Desire เกมทางเลือกเรือ่ งเพศทีอ่ ยากใหไดทงั้ เด็กและวัยรุนชวงอายุ 13 – 16 ป
ความรูแ ละนาติดตาม เพือ่ ความเขาใจในเรือ่ งสุข
ภาวะทางเพศมากยิง่ ขึน้
เมื่อลูกแม่แก้ว…พูดเรื่องเพศ
เรือ่ งราวของเพือ่ นๆ ทีม่ ที งั้ ปญหายาเสพติดและเรือ่ ง
เพศ ไมใชเรื่องที่ควรมองขาม ไมวาจะเปนการตองออกจาก
ระบบไปเพราะปญหายาเสพติดหรือปญหาการทองกอนวัย
อันควร เปนสิง่ ทีป่ อ งกันได ถามีใครสักคนทีเ่ ขาใจ และเยาวชน
ไดเรียนรูวิธีการรับมืออยางปลอดภัย
“ เราเรียนอยูห อ งหลังๆ มีปญ  หาเกีย่ วกับเรือ่ งเพศเปนประจํา
เคยคิดวาถาเพื่อนไดรูกอน อาจจะมีโอกาสเห็นโลกมากขึ้น
และตัดสินใจไดเหมาะสมมากขึ้น ”
การสือ่ สารเรือ่ งเพศกับคนในครอบครัว การปองกัน
โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และทัศนคติตอ เพศทางเลือก เปน การดําเนินงานและการทดสอบ
สิง่ ทีว่ ยั รุน ทุกคนตองรู เพือ่ ปองกันปญหาทีจ่ ะเกิดในอนาคต
บวกกับความสนใจในดานเกม จึงแปรเปลีย่ นเปนนวัตกรรม 1. ปรับแนวทางการเกมจากเกม Role-playing game (RPG) เปน
เกมแบบนิยายแบบโตตอบ (Interactive fiction: IF) กับผูเลน
ที่ ช  ว ยสร า งการสื่ อ สารและการตั ด สิ น ใจทางเพศอย า ง 2. สร า ง Story game ปรั บ ปรุ ง แก ไ ข และพั ฒ นาให ต รงกั บ
เหมาะสม เปนจุดเริ่มตนของเกม STS (Seek the sex) กลุม เปาหมายไดมากขึน้ ประกอบดวย บทละคร โครงเรือ่ ง บทสนทนา
เพื่อใหความรูความเขาใจแกเด็กและวัยรุนในเรื่องเพศ จาก ทั้งหมด 91 ฉาก
แนวคิดเกม RPG ในตอนแรก ปรับเปลีย่ นใหเปนแนว Story 3. นํ า บทละครไปเผยแพร แ ละทดสอบกั บ กลุ  ม เป า หมาย เพื่ อ
Desire เกมทางเลื อ กเรื่ อ งเพศที่ อ ยากให ไ ด ทั้ ง ความรู  หาขอเสนอแนะและนํามาปรับปรุง แกไข
และนาติดตาม 4. สรางเกมดวยโปรแกรม Flame engine flutter
และ Visual studio
สิง่ ทีท่ มี ลูกแมแกวไดเห็น นอกจากนวัตกรรมทีเ่ ริม่ เปน 5. ทดสอบเกมกั บ กลุ  ม เป า หมาย โดยจั ด ทํ า เป น เกมลงระบบ
รูปเปนรางทาทายความสามารถของทีมแลว คือการเรียนรูต วั ปฏิบัติการแอนดรอยด
เอง พอเรามีความกลาทีจ่ ะเดินออกมาจาก Comfort Zone
ยอมพบกับความเสี่ยงความเฟลเปนธรรมดา เพราะฉะนั้น ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
เสี่ยงเลยตอนนี้ดีกวาใหโอกาสหลุดลอยไป สํารวจความพึงพอใจ
• ดานความนาสนใจของเนื้อหาเกม ระดับมากที่สุด คิดเปน
“ นวัตกรรมของเราขับเคลื่อนดวยความผิดพลาด ” 81.5% ระดับมาก คิดเปน 13% และระดับปานกลาง คิดเปน 4.5%
“ ขอบคุณโครงการนี้ที่ทําใหมีโอกาสไดมารวมงาน • ดานความนาสนใจในรูปแบบการเลน ระดับมากทีส่ ดุ คิดเปน
กับคนอื่นคะ ” 83% ระดับมาก คิดเปน 11% และระดับปานกลาง คิดเปน 3.5%
มุกกลาวทิ้งทาย
21 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
ที่มา
นวัตกรรมสร้างเสริม จากสถิตปิ ก ารศึกษา 2562 พบวานักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยี
โปลิเทคนิคลานนา มีอตั ราการทองในวัยเรียน และมีนกั ศึกษากลุม เสีย่ ง
ความเข้าใจสุขภาวะทางเพศ จํานวนมาก เพราะการขาดการไดรบั คําแนะนําทีเ่ หมาะสม และจากการ
SOT เพื่อนใจในเรื่องรัก สํารวจพบวา นักศึกษาเหลานีข้ าดวุฒภิ าวะในการไดรบั ความรูเ รือ่ งเพศ
ที่ถูกตองและไมไดรับคําแนะนําในการจัดการกับปญหาชีวิตที่เกิดขึ้น
ทีม Can't stop, but can fix
หยุดไม่ได้แต่แก้ไขได้ แนวคิดนวัตกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา จ.เชียงใหม แนวคิ ด การสร า งแอปพลิ เ คชั น ที่ มี ชื่ อ ว า “SOT เพื่ อ นใจ
นายปยะ อินทรพรม ในเรื่องรัก” เพื่อใหคําปรึกษาและใหขอมูลเรื่องสุขภาวะทางเพศ ซึ่ง
นางสาวประภาวรินทร รัตนโพธิ์ธา แอปพลิเคชัน จะนํามาใชปองกันและแกปญหาเรื่องเพศ โดยเริ่มที่
นางสาวชัญญานุช วัฒนานิวัต ตัวนักศึกษากอนเปนอันดับแรก
นางสาวรัชนีกร แกวเปา (ครูที่ปรึกษา)
กลุมเปาหมาย
เรือ่ งเพศจะไมใชเรือ่ งเขินอายอีกตอไป นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม
เพราะ SOT เพือ่ นใจในเรือ่ งรัก
แอปฯ ทีท่ าํ หนาทีป่ อ งกัน ใหคาํ ปรึกษา และแกไข
ปญหาเรือ่ งเพศอยางครบถวน โดยใชหลัก
จิตวิทยาเขามาชวยดวย ทัง้ สะดวก
ประหยัดเวลา และสบายใจขึน้ เปนกอง
คําว่า “ เพศ ” มันใกล้ตัว
พวกหนูไมมีอะไรเลยในหัวตอนแรก คอยมาโยนไอเดียชวย
กันทีหลัง… แมจะเปดฉากบทสนทนาดวยคําวา ‘ไมร’ู แตสงิ่ ทีน่ อ งทีม
นีไ้ ดชว ยกันคิดไอเดียนัน้ ไมธรรมดาเลย ในเมือ่ ไมรกู ค็ อ ยๆ เริม่ มองจาก
เรื่องใกลตัวกันกอน เพราะคิดวานาจะงายสําหรับการทํางานดวย การดําเนินงานและการทดสอบ
จึงลอมวงคุยกับเพื่อนและคุณครู และไดรูขอมูลจริงๆ วาวิทยาลัยที่ 1. คัดเลือก Advisor Volunteer ใหคาํ ปรึกษาในรูปแบบเพือ่ นชวยเพือ่ น
ตัวเองเรียนอยูนั้น มีหลายคนทองกอนวัยเรียนและตองออกจาก โดยรับสมัครจากอาสาสมัครที่เปนนักศึกษาของวิทยาลัย
โรงเรียนกลางคัน เพราะขาดความรูเรื่องเพศศึกษา 2. อบรม Admin และ Adviser Volunteer ประเด็ น สุ ขภาวะ
ทางเพศ และการใหคําปรึกษา
แตปกติแลวสิง่ ทีโ่ รงเรียนทํามาไดดตี ลอด คือการแจกถุงยาง 3. ปรับแอปพลิเคชัน ใหมีการรักษาขอมูลสวนบุคคล การเก็บขอมูล
ใหฟรี ซึง่ แจกทีแถวจะยาวมาก ทีมจึงคิดวานาจะทําแอปพลิเคชันสําหรับ สถิติ เพื่อใหองคกรตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เชน โรงพยาบาล
ขอรับถุงยาง เพื่อบางคนที่เขินหรือไมกลามารับดวยตัวเองจะไดใช นครพิงค มูลนิธเิ อ็มพลัส มูลนิธฟิ า สีรงุ Lovecare Station เยาวชนจิต
พื้นที่นี้ สุดทายคุยกันไปคุยกันมาก็ยังรูสึกวาประเด็นยังเบาอยูมาก อาสาเชียงใหม กรมควบคุมโรคที่ 10 ศูนยแมและเด็ก มาศึกษาและ
จึงเสริมใหแอปฯ กลายเปนที่ปรึกษาดานเพศศึกษาทุกแงมุม รวมแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
4. เปลี่ ย นรางวั ล ผู  ที่ ใ ห คํ า ปรึ ก ษาในทางบวก คื อ การให
หากยอนกลับไปวันคายและถามวาจริงๆ แลวมีความหวัน่ ใจ
ประกาศนียบัตรแทนถุงยางอนามัย
ไหม ทีเ่ จอเพือ่ นเยอะ และเห็นนวัตกรรมคนอืน่ มากขึน้ นองคนนึงตอบ 5. วางแผนพัฒนาแอปพลิเคชันใหยั่งยืน โดยอนาคตจะสามารถ
ดวยเสียงมั่นใจวาทีมเตรียมตัวมาดี ทําใหรูสึกวามีความพรอมระดับ แกปญหาอื่นได เชน ปญหาการทะเลาะวิวาทในวิทยาลัย การติดสุรา
หนึ่ง และมั่นใจในเรื่องที่นําเสนอไป แตพอไดมาเจอเพื่อนๆ ในคาย เที่ยวกลางคืน สารเสพติด เปนตน
ยิง่ วันเปดตลาดนัดใหเราไปชอปปงดูงานเพือ่ น และใหเพือ่ นมาดูงาน
เรา ขอเสนอแนะในวันนัน้ เรานํามาปรับปรุงงาน แถมรูส กึ ไดวา ตอนฟง ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
เราเปดใจรับขอมูลทีมอื่นมากเปนพิเศษ และอีกเรื่องที่ชอบมาก
Adviser Volunteer ที่ผานการฝกอบรมแลวประมาณ 10 คน
“ ยกให Design Thinking เพราะ นั กศึ กษาให ความร ว มมื อในการทดลองใช แ อปพลิ เ คชั น 96%
ลดขั้ น ตอนและประหยั ด เวลาในการขอรั บ ถุ ง ยางอนามั ย 86%
นําไปตอยอดในงานวิชาอื่นไดดีมาก
ทั้งการวางแผนการจัดการ องคกรภายนอกใหความรวมมือ 4 หนวยงาน ไดแก สาธารณสุข
อีกทั้งเอาไปเลาตอใหเพื่อนคนอื่นฟง จั ง หวั ด มู ล นิ ธิ เ อมพลั ส เลิ ฟ แคร ส เตชั น และสมาคมฟ า สี รุ  ง
และลองทําดวย ”

22
นวัตกรรมสร้างเสริม
ความเข้าใจสุขภาวะทางเพศ
I you know go tell ที่มา
ทีม Amico การเรียนการสอนเรือ่ งสุขภาวะทางเพศในโรงเรียนอาจยังไม
วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา จ.สงขลา ตอบโจทยวัยรุนยุคนี้ เพราะขาดการนําเสนอที่สรางแรงจูงใจ นาสนใจ
ทําใหวยั รุน ขาดความตระหนักในเรือ่ งการปองกันระหวางมีเพศสัมพันธ
นางสาวพรรวษา แหวนเงิน
นางสาวนันทวัน บัวพัว หรือหาขอมูลเองจากอินเทอรเน็ต นํามาสูการเขาใจที่คลาดเคลื่อน
นางสาวรุงไพลิน ชุมทอง หรือเขาใจผิดได
นางสาวสวลี จุลนิล (ครูที่ปรึกษา)

I you know go tell บอรดเกม แนวคิดนวัตกรรม


เรือ่ งเพศสําหรับวัยรุน เพือ่ ความเขาใจ พัฒนาผลงานในรูปแบบของบอรดเกมเรือ่ งสุขภาวะทางเพศ
เรือ่ งสุขภาวะทางเพศ และหวงเวลา จะทําใหผเู ลนในวัยรุน มีปฏิสมั พันธแลกเปลีย่ นกันมากขึน้ และเปนเครือ่ ง
แหง “ การตัดสินใจในเรือ่ งเพศ ” มือที่ชวยใหผูเลนไดเห็นผลกระทบจากการตัดสินใจ หรือไดเรียนรู
ความผิดพลาดจากการเลนของตนเองและเพื่อนดวย

กลุมเปาหมาย
เยาวชนอายุ 14 - 18 ป

“ พวกเราทั้งสามคนไดเปนตัวแทนของโรงเรียน
ในการใหคาํ ปรึกษาเพือ่ นๆ ดานจิตวิทยาและเพศสัมพันธอยูแ ลว
การอบรมทําใหเราไดเห็นเคสเรื่องเพศบอยๆ ”
Amico มีความคิดเห็นวาเรื่องสุขภาวะทางเพศที่มีสอนใน
โรงเรียนอาจยังไมตอบโจทยวยั รุน ในยุคนีเ้ พราะขาดการนําเสนอทีส่ ราง
แรงจูงใจและนาสนใจ วิธที าํ ใหวยั รุน ไววางใจทีจ่ ะปรึกษา จึงพัฒนาผล
งานชิน้ นีใ้ นรูปแบบบอรดเกมเรือ่ งสุขภาวะทางเพศ นอกจากจะทําให
มีปฏิสัมพันธไดแลกเปลี่ยนพูดคุยกันมากขึ้นแลว ยังเปนเครื่องมือที่
ชวยใหผเู ลนไดเห็นผลกระทบจากการตัดสินใจของตัวเองจากการเลน การดําเนินงานและการทดสอบ
เกม เรียนรูความผิดพลาดบนกระดาน ยังแกไขงายกวาไปผิดพลาด 1. สัมภาษณกลุมเปาหมาย
ในชีวิตจริง 2. ปรับเปลี่ยนการออกแบบและกติกาของเกม
3. ทดสอบ:
Amico ไดพฒั นาผลงานเพือ่ นําไปทดลองกับกลุม เยาวชนใน • กลุมในโรงเรียน และกลุมนักเรียนตางสถาบัน และตาง
จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูลโดยไดรบั การชวยเหลือจากอาจารยที่ จังหวัด 7 ครั้ง
ปรึกษาที่ไปประชุมในจังหวัดใกลเคียง Amico ก็ขอนําบอรดเกมนี้ไป • ผูเชี่ยวชาญดานบอรดเกมและผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยา
ทดสอบกับกลุมเปาหมายของตัวเองดวย ในทุกๆ ขั้นตอนไดนําเรื่อง 2 ครั้ง
Design Thinking มาปรับใชโดยเฉพาะการเลือกกลุมเปาหมายให
แคบลงโดยใช เ ครื่ อ งมื อ Persona ที่ ไ ด ม าจากการเข า ค า ย ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
“ แตกอนพวกหนูเปนกลุมที่ไมเอาการเอางานอะไรเลย กลุมนักเรียน: เกมสนุก เขาใจงาย ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ
เรียนแยดวย ” เพื่ อ นๆ ทํ า ให ไ ม เ ขิ น อายที่ จ ะพู ด เรื่ อ งเพศกั บ เพื่ อ นหรื อ คนอื่ น ๆ
เรือ่ งราวทีอ่ ยูใ นใจไดผดุ ขึน้ มา ตัวแทนทีมเลาวาแตกอ นนีท้ กุ กลุ  ม ผู  เ ชี่ ย วชาญ: ไอเดี ย ที่ นํ า มาทํ า ดี สามารถนํ า มาเป น
คนไมตงั้ ใจทําอะไรเลย เปนกลุม ทีม่ กั จะไมไดรบั ความสนใจ แตพอมอง เครื่ อ งมื อ ที่ ส ามารถจะปรั บ พฤติ ก รรมได แต ค วรปรั บ Design
และกลไกการเลนเกมที่งายตอการเลนมากกวานี้
ยอนกลับไป ทุกคนกลับเห็นวาตัวเองมาไกลมาก พูดเกงขึน้ ทําอะไรดี
ขึน้ มาไกลมากจริงๆ บอกเลยคะ วาโอกาสชวยสงเสริมและสรางสรรค
เยาวชนไดจริงๆ
23 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
นวัตกรรมสร้างเสริม ที่มา
ความเข้าใจสุขภาวะทางเพศ เมือ่ วัยรุน เขาไปรับการรักษา หรือขอคําปรึกษาจากหนวยงาน
SEX EDUBOT หรือสถานพยาบาลเกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา มักเกิดปญหาที่ทําใหรูสึก
อาย หรือถูกตัดสิน ตีตราจากผูคนรอบขาง วัยรุนจึงมักศึกษาหาความ
ทีม BizcomPN รูเรื่องเพศจากอินเทอรเน็ต ซึ่งบางขอมูลไมมีแหลงอางอิงที่ถูกตอง
หรือมีความนาเชื่อถือนอย
วิทยาลัยการอาชีพปตตานี จ.ปตตานี
นายอัษฎา จระกา แนวคิดนวัตกรรม
นายฮารูน ซีเดะ
นายอีลาฟ อาแวกะจิ (ที่ปรึกษา) แนวคิดการสราง “Chat bot” ใหคําปรึกษา ความรู ตอบขอ
สงสัยเรื่องเพศศึกษาใหแกวัยรุน และสรางแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ
Sex Edubot ชวนใหวยั รุน ลดความอายเรือ่ งเพศศึกษา ผานการตรวจสอบขอมูลที่ถูกตอง
มากขึน้ ดวย Chat bot ตอบกลับได 24 ชม. เปนสือ่
การศึกษา เปนเพือ่ นคุยเปนเพือ่ นเลนได พรอมใหขอ มูล กลุมเปาหมาย
เรือ่ งเพศทัง้ เรือ่ งการปองกัน สถานพยาบาล รานขายยา
หรือปรึกษาปญหากับทีป่ รึกษาทางใจ กลุม เปาหมายวัยรุน ทีม่ อี ายุ ตัง้ 15 – 18 ป และกลุม เปาหมาย
ทีต่ อ งการศึกษาเรือ่ งเพศศึกษา หรือผูท ตี่ อ งการปรึกษาและถามคําถาม
“ อยากเห็นการคุยเรื่องเพศ เรื่องเพศศึกษา เชน เรื่องกังวล เรื่องจิตใจ ลดความอาย หาเพื่อนคุย
อย่างตรงไปตรงมา ” เปนตน

“ เวลาเห็นคนรอบตัวมีปญ  หาทองกอนวัยอันควร ก็เกิด


จากการทะเลาะกับคนในครอบครัวแลวไมมีที่ปรึกษานี่
แหละครับ ”
จากเรือ่ งเลาของ “ฮารูน” กับประสบการณทเี่ คย
พบเจอ ทําใหฉุกคิดไดวา เรื่องเพศนั้นอยูรายลอมตัวเรา
เปนเรือ่ งของเราทีค่ วรจะไดรบั การแกไข และอีกเสียงหนึง่
ของ “ฮาน” ไดมาสนับสนุน ขอคนพบนี้ หันมองไปรอบ
ตัว เห็นเพือ่ นๆ วัยรุน วัยเดียวกับเขา ยังมีความเขินอายที่
จะปรึกษาเรื่องนี้กับคนในครอบครัว
“ หลังคายไดเรียนรูอะไรเยอะขึ้น รูสึกสนุก
เปดสมอง เหมือนไดไตเลเวลขึ้นไปเรื่อยๆ ”
ฮานและฮารูนบอกกับเรา จากที่คิดวาคงเหมือน
คายทีเ่ คยๆ เขามา กลับชอบมากชอบทีส่ ดุ ก็ตอนทีไ่ ดเรียน
รูเ รือ่ งการคุยกับกลุม เปาหมายรวมถึงเวลาทีไ่ ดพบกับผู การดําเนินงานและการทดสอบ
เชีย่ วชาญ เหมือนเปนงานแรกทีม่ าเขาคายแบบนีไ้ ดพดู คุย 1. ปรับลดกลุมเปาหมายจากเด็กประถมปลาย เปนวัยรุนที่มีอายุ
ตั้งแต 15 – 18 ป
กับเพือ่ นเยอะกวาคายอืน่ ๆ แถมเรายังไมไดมองเพือ่ นเปน 2. จั ด ทํ า เนื้ อ หา กลุ  ม เป า หมาย ให ส ามารถเข า ใจได ม ากยิ่ ง ขึ้ น
คูแ ขงหรือศัตรู หรือรูส กึ ถึงบรรยากาศการแขงขันเหมือน และเพิ่มเนื้อหากลุม LGBT+
เวทีอื่นๆ เวทีนี้ใหมิตรภาพ ใหมุมมองใหมๆ ในการหา 3. ปรั บ ระบบของ Chat bot ให ผู  ใ ช รู  สึ ก คุ ย แล ว สนุ ก ไม น  า เบื่ อ
เปาหมาย จากกวางมากกลายเปนเฉพาะเจาะจงและเจาะ สามารถเปนเพื่อนคุยได
4. จัดทํา DEMO เพื่อทดลองใช
กลุมเปาหมายไดจริงๆ รวมถึงเทคนิคการทํา Content 5. เผยแผ ผ ลงานใน Facebook Fanpage และวิ ท ยาลั ย
ที่ทางทีมสนใจเปนพิเศษ เนื่องจาก Chat bot นั้นตองมี เพื่อใหมีกลุมผูใชเพิ่มขึ้น
ความเข า ใจทั้ ง ในแง เ นื้ อ หาและความสามารถใน ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
การปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผู  ค นที่ แ วะเวี ย นมาทั ก ทาย
ยังไมมีผลการทดลองใช
Chat bot อีกดวย
24
นวัตกรรมเพิ่มการบริโภคผักผลไม้
และอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
RANFOOM (แอปพลิเคชัน
ช่วยเลือกมื้ออาหาร)
ทีม Platea
โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
จ.นครศรีธรรมราช
นายอริญชย สุวรรณ
นายทนงศักดิ์ อนุรักษ ที่มา
นายตนุสรณ เดชะบุญชนะ
นายภานุวัฒน ทองวล (ที่ปรึกษา) ในปจจุบนั ความหลากหลายทางดานอาหารมีเพิม่ มากขึน้ มีทงั้
อาหารทีม่ คี ณ
ุ คาทางโภชนาการสูงและมีคณุ คาทางโภชนาการตํา่ เพราะ
"RANFOOM" แอปพลิเคชันชวยเลือกเมนูอาหาร ตาม ฉะนั้นควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย และทําให
มาตรฐานขอมูลบุคคล จะชวยเลือกอาหารทีถ่ กู หลัก รางกายไดรับพลังงานที่เพียงพอ ซึ่งจะชวยลดจํานวนของประชากรที่
โภชนาการพรอมกับสารอาหารทีเ่ หมาะสมเฉพาะบุคคล เปนโรคขาดสารอาหารได และสิ่งที่สําคัญไปกวานั้นคือ ตองมีพื้นฐาน
โดยใชเกณฑในการจัดหมวดหมูอ าหารทีเ่ หมาะสมจัดฐาน ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
ขอมูลแถมเสริมเกร็ดความรูเ พือ่ สรางความเขาใจ
ในการบริโภคอาหาร แนวคิดนวัตกรรม
“ วันนี้กินอะไรดี ” แอปพลิเคชันชวยเลือกมือ้ อาหารตามฐานขอมูลบุคคล เลือก
นี่คงเปนคําถาม ที่ทุกคนถามตัวเองอยูบอยๆ เปน อาหารทีถ่ กู หลักโภชนาการ อาหารทีใ่ หสารอาหารทีเ่ หมาะสมกับคนนัน้ ๆ
ปญหาที่ดูเหมือนจะเล็กนอยแตรบกวนใจอยูไมใชนอย การ โดยใชเกณฑในการจัดหมวดหมูอาหารที่เหมาะสม เสริมเกร็ดความรู
เลือกอาหารการกินในแตละวัน นอกจากความชอบและรสชาติ เพื่อสรางความเขาใจในการบริโภคอาหารใหกับผูใช
แลว ก็ตองมีความหลากหลาย แตถาจะใหดีที่สุด ก็อยากให
มีประโยชนดวย แตไมใชวาทุกมื้อเราจะเลือกไดทุกอยางที่ดี กลุมเปาหมาย
ได ทําใหปญหานี้ยิ่งซับซอนกวาที่คิด โดยเฉพาะคนที่มีเวลา
พนักงานประจํา และพนักงานออฟฟศ เปนตน
พักเที่ยงเพียงนอยนิด อยางมนุษยออฟฟศในเมืองใหญ
“RANFOOM” แอปพลิเคชันชวยเลือกเมนูอาหาร ตาม
มาตรฐานขอมูลบุคคล จะชวยเลือกอาหารทีถ่ กู หลักโภชนาการ
พรอมกับสารอาหารทีเ่ หมาะสมเฉพาะตัว โดยใชเกณฑในการ
จัดหมวดหมูอ าหารทีเ่ หมาะสมจัดฐานขอมูลแถมเสริมเกร็ด
ความรู  เ พื่ อ สร า งความเข า ใจในการบริ โ ภคอาหาร
Platea บอกวา เปนการทําแอปพลิเคชันครัง้ แรกของ
ทีมเลย ธรรมดาใชแตโปรแกรมอื่นๆ ตอนที่ไดเขารอบก็รูสึก
ตกใจและลนลานเหมือนกันนะ แตก็คิดวานี่คือโอกาสใน
การเร ง รั ด การเรี ย นรู  มองเห็ น อนาคต และลงมื อ ทํ า
“ ตอนกอนเขาคาย มึน ๆ งง ๆ และกังวล แตพอไดมาเขารวม
การดําเนินงานและการทดสอบ
จริงๆ ก็ไดเห็นวาคนอื่นก็มาเริ่มตนพรอมกันกับเรา 1. รวบรวมฐานขอมูลอาหาร:
และพี่ ๆ ก็สอนความเปนนวัตกรตั้งแตเริ่มตน ” จัดทําฐานขอมูลอาหารมากกวา 100 ชนิด และมีขอมูลของ
อาหารแตละชนิด คือ ชื่อ รูปภาพ ปริมาณแคลอรี่ของอาหาร
เสี ย งสะท อ นอี ก อย า งหนึ่ ง จากที ม Platea คื อ ซื้อฐานขอมูล Inmucal (ฐานขอมูลดานอาหาร)
ความรูสึกอุนใจที่มีพี่เลี้ยงประจํากลุม รูสึกมีคนเคียงขาง
อุน ใจ แนะนําทางเลือกใหเห็น รูส กึ เหมือนมีทปี่ รึกษาสวนตัว 2. พัฒนาแอปพลิเคชันสุมอาหาร
ประจํากลุมเลยก็วาได จุดนี้เปนสิ่งที่สมาชิกทุกคนตางเห็น
พองตองกันวา อยากใหมีในทุกๆ คาย ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
“ จงสรางเสนทางของตัวเอง แลวเดินตามมันไป ” ยังไมมีผลการทดสอบเนื่องจากสถานการณ COVID-19
Platea ทิ้งทาย ใหทุกคนอยาลืมเสนทางของตัวเอง แลว
เดินไปตามที่ตัวเองตั้งใจ สูๆ นะ :)
25 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
ที่มา
นวัตกรรมเพิ่มการบริโภคผักผลไม้ เยาวชนสวนใหญในปจจุบัน นิยมรับประทานอาหาร Fast
และอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ Food ไมรบั ประทานอาหารใหครบ 5 หมูห รืออาหารตามหลักโภชนาการ

ถ้าคิดว่าแน่อย่าแพ้โภชนาการ แนวคิดนวัตกรรม
ทีม SBA การสรางบอรดเกม “ถาคิดวาแนอยาแพโภชนาการ” สามารถ
วิทยาลัยเทคโนโลยีสหวิทยบริหารธุรกิจ จ.สุพรรณบุรี ใชเปนสือ่ การเรียนการสอนในการเรียนวิชาสุขศึกษา เพือ่ ใหผเู ลนเกมมี
นางสาวชลธิชา จําปาแขม ความเพลิดเพลินและสนุกพรอมทั้งไดความรูในดานโภชนาการมาก
นางสาวปุญญิสา ไตรสังข ยิ่งขึ้นและหันมารับประทานอาหารใหครบ 5 หมู
นางสาวนัทธมนต งามดีธนาภัทร (ที่ปรึกษา) กลุมเปาหมาย
บอรดเกม “ถาคิดวาแนอยาแพโภชนาการ” ครูผูสอนวิชาสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และนักเรียนชั้น
ทีจ่ ะเขามาเปลีย่ นการเรียนวิชาสุขศึกษาใหสนุกขึน้ มัธยมศึกษาปที่ 1
เพราะชัว่ โมงนีข้ อพืน้ ทีใ่ หบอรดเกมเพือ่ การเรียนรู
ทีส่ อดแทรกเนือ้ หาใหเด็ก
รูจ กั เลือกรับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชนกบั รางกาย
โดยครูสามารถหยิบไปใชแทนการสอนบนสไลดไดเลย

“ อยากใหเด็กมีความรูค วามสนุก เพราะเรียนแตใน


หนังสือ บอรดเกมนาจะตอบโจทยพวกเขา ”
ความตัง้ ใจผสานกับประสบการณทหี่ นึง่ คนในทีม
ไมชอบกินผักมาตัง้ แตเด็ก การปลูกฝงเรือ่ งโภชนาการจึง
นาจะเปนสิ่งสําคัญ

บวกกับครูเคยบอกวาวิชาสุขศึกษายังคงเปน การดําเนินงานและการทดสอบ
การเรียนผานหนังสือ และใหดูสไลดบนจอ จนรับรูไดวา
เด็กเบื่อหนายแนนอน พอยทตรงนี้จึงถูกเลือกขึ้นมา วา 1. ปรับกลุมเปาหมายจากนักเรียนมาเปนคุณครู เพื่อสรางบอรดเกม
กลุ  ม เป า หมายจะเป น คุ ณ ครู ผู  ส อน และตั ด สิ น ใจ ใหคุณครูใชในการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษา
ทําบอรดเกม “ถาคิดวาแนอยาแพโภชนาการ” 2. ลงสัมภาษณครูผูสอนวิชาสุขศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส พบวา บรรยากาศการสอนวิชาสุขศึกษา
ยังคงเปนการเรียนผานหนังสือเรียนและสื่อการสอนที่ครูใชก็จะเปน
ระหวางทางมีความกังวลใจวาจะไมเสร็จอยูเ สมอ
โปรแกรม PowerPoint ทําใหเด็กๆ เกิดความรูสึกเบื่อ และไมเกิด
เพราะรวมกันก็มีแค 4 มือ สิ่งที่ทําไดดีที่สุดคือจัดสรร
กระบวนการเรียนรู
เวลา เพราะบอรดเกมตองมีการทดลองหลายครั้ง และ 3. ศึกษาขอมูลเนื้อหาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ไดเรียนในวิชา
ปรับเปลี่ยนใหตรงกับสิ่งที่กลุมเปาหมายตองการ หาก สุขศึกษา และนําขอมูลมาออกแบบเกม จากนั้นสรางแบบจําลองเกม
ทํ า เวลาได ไ ม ดี ที ม อาจจะพลาดบางจุ ด ไปก็ ไ ด 4. ทดลองใชกับกลุมเพื่อน และกลุมเปาหมาย นักเรียนชั้น
“ ใบ Canvas หนึง่ ในการเรียนรูจ ากคายทีต่ อบโจทยมาก ” มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนดังกลาว
เพราะเวลากางใบนีอ้ อกมา เหมือนมีพลังทีเ่ ราอยาก ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
จะทําตอๆ ไป จังหวะไหนติดปญหา เรากลับมาดูกี่ครั้ง นักเรียนมีความพึงพอใจตอบอรดเกม ในระดับมากที่สุด โดยมี
ก็ได จะปรับเปลี่ยนตรงไหนก็ใชโพสตอิทแปะไดเลย การ คาเฉลี่ยที่ 4.56 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยูที่ 0.59
จัดแจงความคิดของทีมเลยคอยกาวอยางคอยเปนคอยไป นักเรียนมีความสนใจใฝรู และเกิดกระบวนการเรียนรูหลังจาก
หากถามความรูส กึ ตอนนีพ้ ดู ไดเปนเสียงเดียวกัน ไดใชบอรดเกมเปนสื่อการเรียน
เลย วาเหนือ่ ยมาก ยังไมไดนอน แตกอ็ ยากใหจดั โครงการ
อีกตอไปเรื่อยๆ เพราะตอนที่ไดเห็นนวัตกรรมของเพื่อน
เรามีพลังขึน้ กวาเดิม และบอกกันวา “เราจะอยูแ คนไี้ มได
แลว เพราะกลุม อืน่ เจงมาก” จึงคิดวาอยากใหมโี ครงการ
แบบนี้ทุกป

26
นวัตกรรมเพิ่มการบริโภคผักผลไม้ ที่มา
และอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ จากการลงพื้นที่โรงเรียนวัดพืชนิมิต จังหวัดปทุมธานี พบวา

Nursery farm 4.0


เด็กรับประทานผักนอย ประกอบกับผูอํานวยการอยากสงเสริมให
เด็กวัยเรียนไดบริโภคผักและผลไมที่เพียงพอและใชเวลาวางใหเกิด
ทีม RCC ประโยชน จึงมีแนวคิดที่จะจัดกิจกรรมการปลูกผักภายในโรงเรียน แต
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดําเนิน จ.กรุงเทพมหานคร พื้นที่ภายในโรงเรียนที่มีจํากัดและงบประมาณไมเพียงพอ รวมถึง
ขาดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในดานเทคโนโลยี
นายนฤพนธ โคจริก
นายชาคริส แทงทอง แนวคิดนวัตกรรม
นางสาวอลิสา อยูสําราญ
นางสาวยุพิน แฉงฉวี (ที่ปรึกษา) สราง Nursery farm 4.0 นําเทคโนโลยีมาประยุกตใชกับ
การเกษตร โดยใหนกั เรียนชัน้ ประถมฯ โรงเรียนดังกลาวเปนผูด แู ล และ
Nursery farm 4.0 นําเทคโนโลยีมาประยุกตใช นําผักที่ปลูกเองมาทําอาหารกลางวันเพื่อใหเด็กไดรับประทาน โดยผู
กับการเกษตรอยางลงตัวซึ่งลงมือทําทั้งเซนเซอร รับผิดชอบโครงการจะออกแบบนวัตกรรมใหใชพื้นที่ในการเกษตรที่มี
วัดคาความชื้นในดิน มีปุมกดรดนํ้าผัก แถมมี จํ า กั ด อย า งเพี ย งพอ ง า ยต อ การใช ง าน และส ง เสริ ม การเรี ย นรู 
การปลอยละอองนํา้ เพือ่ ลดอุณหภูมิ และเก็บสายไฟ ในการทําการเกษตรใหกับเด็กในชวงปฐมวัย
มาใหเรียบรอย เมื่อผักโตเต็มที่จากฝมือการปลูก กลุมเปาหมาย
ของเด็กๆ แมครัวจะนําผักมาทํากับขาวใหเด็กกิน
เปนอาหารกลางวันอีกกิจกรรมหนึ่งที่ชวนใหเด็ก นักเรียนโรงเรียนวัดพืชนิมิต
บริโภคผักเพิ่มขึ้น

ปลูกเองกินเองฝึกวินย
ั ในการกินผัก
ประจวบเหมาะกับผูอ าํ นวยการโรงเรียน ยอมรับวา
ไมมคี รูสอนเกษตร และขาดความรูด า นเทคโนโลยี จึงอยาก
สงเสริมเด็กๆ ดานนี้
“ ทีมใชเทคโนโลยีการเขียนโปรแกรมไดเปนอยางดี
เลยอยากเอาเทคโนโลยี และศักยภาพของทุกคนมา
ทําใหเกิดประโยชน ”
ทีมไมเคยเขาคายแบบนีม้ ากอนเลย แตหากถาม
วาทีมนี้มั่นใจในเรื่องอะไรสุด ทุกคนก็พยักหนาและตอบ การดําเนินงานและการทดสอบ
ตรงกัน วาเรือ่ งเขียนโปรแกรมนัน้ ไมเปนรองใคร ยิง่ เจอ
1. ลงพื้นที่เก็บขอมูลจากนักเรียนโรงเรียนวัดพืชนิมิตเพิ่มเติม
กิ จ กรรมโต ะ VIP มี ก ารแทรกความรู  ทั้ ง หมดอย า ง 2. จัดทําอุปกรณที่จะใชทดลอง และพัฒนาเครื่องรดนํ้า
ครอบคลุม พอทําหลายกระบวนการเขามันคอยๆ ชัดเจน ปลูกผักในโรงเรียน เพิ่มฟงกชัน แสงสี เสียง เพื่อเพิ่มความนาสนใจ
ขึน้ วาเราจะไปในรูปแบบไหน ยิง่ ตอนกลับมาทําเกีย่ วกับ 3. ทดลองปลูกตนถั่วเขียว ทดลองระบบฉีดนํ้าและวัดความชื้นในดิน
กลุมเปาหมายเองพวกเราเขากับเด็กไดดีไปอีกขั้น มีการ ผลการทดลองใช การตอบโจทยการสรางเสริมสุขภาพ
สังเกตเขามากขึ้น เพราะบางทีนองเด็กไปอาจจะไมกลา ไมมีผลการทดสอบกับเด็กนักเรียนเนื่องจากสถานการณ
บอกความตองการทีแ่ ทจริง สวนนีจ้ งึ เปนเครือ่ งมือสําคัญ COVID-19
สําหรับพวกเรา
ขอบคุณเมนเทอรทเี่ ปดโลกเรือ่ งโภชนาการให ซึง่
เปนเรื่องลึกลงไปอีก ถาไปหาอานเองคงอาจเขาใจผิดๆ
ทั้งแนะนําการสื่อสารกับเด็ก หรือชวนตั้งคําถามวาหาก
ปลูกผักนานเกินไปเด็กอาจจะเบือ่ ไหม ทีมเลยปรับมาเลือก
ชวนใหเด็กปลูกผักที่โตไวขึ้น… ขอบคุณมากครับ

27 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
ครู = โค้ช
เรียนรู้อย่างเปิดใจ และ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

28
ครูพรลดา แกวพิทักษ
“ เราไกดเองไมไดทั้งหมด ตองมี
โรงเรียนวิเชียรมาตุ จ.ตรัง ทีมลูกแมแกว
การตัดสินใจรวมกัน มีเปาหมายชัดเจน
ครูเปนอีกหนึ่งทานที่โทรมาสอบถามราย แกปญหาใหทัน ”
ละเอียดกับโครงการหลายๆ ครัง้ ซึง่ เปนทีมทีต่ อนแรก ตัง้ แตลองมาจับกระบวนการการเปนโคช การมีสติกลาย
คิดวาอาจจะถอนไปแลวดวยซํา้ เพราะภารกิจงานคอน
เปนวาจะอยูใ นทุกจุดของการทํางาน การตัง้ คําถามเพือ่ ใหเกิดการ
ขางเยอะมาก สุดทายตัดสินใจจัดสรรเวลาพาเด็กๆ
และตัวเองใหมาเจอกันจนไดในคายแหงนี้ พอครูเจอ แชรไอเดีย หรือแกปญหารวมกัน และที่สําคัญตอนนี้ครูเปดใจ
กระบวนในคายแลวจึงอยากแชรประสบการณวา กวางมากขึ้น ฟงดวยใจ ฟงอยางมีเหตุผล วาลึกๆ แลวลูกศิษย
“คุมคา” กับการตัดสินใจในวันนั้น เราตองการอะไรกันแน หรือปญหาทีเ่ ขาเจอแตยงั เอาออกมาไม
“ ปกติ ค รู จ ะบอกเด็ ก ทํ า แบบนี้ สิ ลู ก ไม ทํ า ล ะ ? หมดมีอะไรบาง จากที่ไดคุยกับครูพรลดามาสักพักนํ้าเสียงของ
ตอนนี้ฟงเหตุผลเขามากขึ้น วาเขาตองการอะไร ฟง ครูในชวงนีจ้ ะดูสดใสเปนพิเศษ ผสานกับความตืน่ เตนเสมือนวา
ดวยใจวาปญหาหรือสิ่งที่เขาตองการคืออะไร ” ดีใจที่ทําได
ครูบางทานอาจจะเคยเปนแบบครูพรลดา “ เปลี่ยนไปมาก เปดใจใหเด็กเต็ม 10 เลย ”
ทีบ่ างจังหวะของงานเราก็พาตัวเองลงไปอยางเต็มที่ ครูพรลดาเลาตอวาคะแนนเต็ม 10 คือใหตัวเองและให
โดยบางทีลมื หันหลังมามองคนสําคัญทีร่ ว มทํางาน เด็กๆ มันคุมคามากที่ครูไดมองเห็นปญหาของตัวเอง และแก
กั บ เราด ว ยนั่ น ก็ คื อ ‘นั ก เรี ย น’ การมาโครงการ ปญหาไดตรงจุด พอมาถึงจุดนี้การไดรางวัล ครูไมไดคาดหวัง
ThaiHealth Inno Awards 3 เมือ่ ดูตารางกิจกรรม มันมากเทากับตอนแรกๆ แลว แตครูรูสึกไดวาความผิดพลาด
แลวครูเริ่มมีความกลัวอยูบาง เพราะโครงการที่ทํา ระหวางทางทั้งตัวเอง และเด็กๆ ที่ไดเจอมันคือรางวัลมากกวา
เกีย่ วกับเกมครูมคี วามรูน อ ยมากบวกกับทีโ่ รงเรียน คิดอีกมุมโครงการนี้เปนโครงการแรกของนักเรียน นองไมเคย
ไมมคี รูเชีย่ วชาญดานนีเ้ ลย และนีอ่ าจจะเปนเหตุผล ได ทํ า กิ จ กรรมแบบนี้ ม าก อ น พอกลั บ มามี ไ ฟลุ ก โชนมาก
หนึง่ ทีเ่ กือบจะถอดใจดวย แตเมือ่ ผลประกาศออกมา ประทับใจคือการจัดแจงโครงงาน และแบงเวลาในชีวติ ประจําวัน
วาโรงเรียนเขารอบ นักเรียนนัน้ ดีใจกระโดดจนตัวลอย ไดดีขึ้น ถามกี่ครั้งก็บอกวาอยากมาอีก แตขอทําตรงนี้ตอนนี้
เลยคิดกับตัวเองวา สลัดความกลัว กาวออกมา ให สุ ด พลั ง ก อ น ครู ฟ  ง แค น้ี ก็ รู  แ ล ว ว า ค า ยนี้ ต อบโจทย
พรอมจับมือนักเรียนไปสูเปาหมาย กับเด็กๆ แคไหน
ครูรัชนีกร แกวเปา และครูณัฐพล อุนภักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา จ.เชียงใหม
ทีม Can't Stop, but can fix หยุดไมไดแตแกไขได

คุ ณ ครู โ รงเรี ย นนี้ เ คยเป น โค ช ในกระบวนเด็ ก


มาอยูบาง แตยังไมไดลงลึกเทาที่ควรในดานของ Design
thinking พอไดมาอบรมพรอมกับเด็กๆ กระบวนการ
ที่คอยๆ ถูกปอนขอมูลทําใหตัวครูมองเห็นภาพชัดเจน
ยิ่งขึ้น วาตัวเองควรอยูระยะไหน ควรพูดกับเขาอยางไร
เพือ่ เปนตัวเชือ่ มทีด่ รี ะหวางเด็กและนวัตกรรมใหเขาหากัน
“ Brainstorm ชวยเปดไอเดียใหเด็กกลาพูด กลาเสนอ
โดยไมเขินหรือเกรงใจครู ”
สุดทายการคุย ครูและนักเรียนจะชวยกันเลือกวา
ครูอักขรา ธานีรัตน เห็นดวยกับวิธไี หน และทําอยางไรตอดี ซึง่ นอกจากไอเดีย
โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย
นครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช แลวสิง่ ทีค่ รูคดิ วาตองมีในตัวผลงาน และในตัวของเด็กเอง
ทีม Change Of The World คือฝกใหเขาออกแบบความคิดทีส่ รางสรรค เมือ่ กอนเด็กยัง
เราเรียกครูสั้นๆ วาครูอัก ซึ่งครูอักเปนคนที่เห็น ดูงงๆ พูดคุยกันบางครัง้ วนอยูท เี่ ดิม พอไดอบรมเรียนรูไ ป
ศักยภาพของนองๆ ทีมนีต้ งั้ แตแรก เพราะเด็กเลาใหฟง วา พรอมๆ กัน เราทั้งสองฝายคิดเปนระบบมากขึ้นมีไอเดีย
ไมอยากทําโครงงานทีท่ าํ ไปแลวก็ผา นไปเลย เหมือนจะได มีดีไซนเยอะขึ้นกวาเดิม
ความรูที่จบไปแคนั้น เชนมาเขาคายก็จบไป ความคิดนี้ โครงการนี้ดีมากสําหรับครูและนักเรียน ไดลอง
ครูรูสึกไดวาเด็กทุกคนเกงและจะไดเขารอบ เพราะมี ลงมือทําจากการสังเกตซึง่ สามารถเปนไดทงั้ นักคิดนักทํา
ความมุง มัน่ ผสานความตัง้ ใจ ซึง่ สุดทายพวกเขาก็ไดเขารอบ และนักพูด แถมเปดโลกใบใหมที่กวางมากสําหรับเด็ก
จริงๆ อยางที่คิด สิ่งที่ภูมิใจคือเด็กเห็นคุณคาในตัวเองวา “ ฉันก็ทําได
“ เรียกครูวาพี่ คุยกับเด็กใหเหมือนเปนเพื่อน ” และฉันคิดได ” มีคุณคา และเปนประโยชนจริงๆ กับพื้นที่
ชวงแรกครูอกั ถึงกับเอยปากวา ไมรเู ลยวาจะคุยกับ ทีเ่ ขาตองการเปลีย่ นแปลง และตอนนีเ้ ด็กๆ ไดเริม่ กระจาย
เด็กอยางไร ? จะพาเด็กไปถึงเปาหมายที่เขาตองการ ความรูนวัตกรรมเลาใหเพื่อนๆ ฟงมากขึ้นอีกดวย
ไดไหม หรือจะแนะนําเขาไดมากนอยเทาไหร เขาคิดตอนนัน้
เต็มหัวไปหมด ความหวั่นไหวขางในเลยเกิดขึ้น แตพอได
มาคายอบรมและไดเลนกิจกรรมสี่เหลี่ยมแตก คลายวา
มีปุมมาปลดล็อกตัวเองใหมั่นใจวานาจะโคชได
“ ไมบล็อกความคิด ใหตัดสินใจไดเต็มที่
หาวิธีมาซัพพอรต ”
เมือ่ คอยๆ จับจุดไดแลว ทักษะทีค่ รูอกั ใชกบั เด็กกลุม
นี้คือ สังเกตภาษากาย คําพูด วิเคราะหตาม ไมขัดระหวาง
ที่เขาพูด ทําใหเด็กกลาเขาหามากขึ้น ไมใชวาเราชี้ผิด
หรือถูก แตเปนการเปดวงแชรกนั มากกวา และหาทางเลือก
วาแลวทําอยางไรไดบา ง ทุกกระบวนการนักเรียนก็จะไดคดิ
อยางลงลึก ครั้งหนาอยากจะลองไดเปนทั้งฟาและโคชที่
ใช เ วลาอยู  กั บ เด็ ก มากกว า นี้ เพื่ อ ความสั ม พั น ธ แ ละ
การทํางานที่ดีขึ้น
29 20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
บรรณานุกรม

ชลทิศ อุไรฤกษกุล. (2529). Ottawa Charter. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). (2561).


ปฐมบทของการสงเสริมสุขภาพ. สืบคนจาก ถอดรหัสนวัตกรรม สสส. เลม 3. สืบคนจาก
http://doh.hpc.go.th/bs/issueDisplay.php?id=191&catego- http://llln.me/5J09Hj2
ry=A06&issue=Global%20Health%20Promotion%
20Conference สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). (2561).
นวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ ไอเดียเปลีย่ นโลก ฝมือเยาวชน. สืบคน
นลินี เรืองฤทธิศักดิ์. (2562). ThaiHealth Health Promotion จาก http://llln.me/JPYGMJP
Innovation. นวัตกรรมการสรางเสริมสุขภาพ หลักการ แนวคิด ความ
หมาย ประเภท ตัวอยาง และเครื่องมือชวยคิดนวัตกรรม. Bootleg. (2561). D.SCHOOL BOOTLEG DECK. สืบคนจาก
สํานักวิชาการและนวัตกรรม. https://dschool.stanford.edu/resources/
design-thinking-bootleg และ
นิยาม "นวัตกรรมของ สสส." และ ระดับของการพัฒนานวัตกรรม. https://static1.squarespace.com/static
สํานักวิชาการและนวัตกรรม. /57c6b79629687fde090a0fdd/
t/5b19b2f2aa4a99e99b26b6bb/1528410876119/dschool
ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา, และชูจิต ตรีรัตนพันธ. _bootleg_deck_2018_
DESIGN THINKING:LEARNING BY DOING การคิดเชิงออกแบบ: final_sm+%282%29.pdf
เรียนรูดวยการลงมือทํา. สืบคนจาก
http://resource.tcdc.or.th/ebook/ OTTAWA CHARTER FOR HEALTH PROMOTION 1986
Design.Thingking.Learning.by.Doing.pdf (สมาคมสงเสริมความรอบรูดานสุขภาพไทย, แปล). สืบคนจาก
http://doh.hpc.go.th/data/HL/Ottawa
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ สสส. (2563). Charter1986_thai.pdf
คูมือนิยามศัพทของ สสส.
(ประกอบการจัดทําแผนและกําหนดตัวชี้วัดของ สสส.). (2562). ความหมายของนวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพ. สืบคนจาก
https://www.thaihealth.or.th/Con-
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). (2560). tent/48763-ความหมายของนวัตกรรม
ถอดรหัสนวัตกรรม สสส. เลม 2. สืบคนจาก สรางเสริมสุขภาพ.html
http://llln.me/NwbLfWU

30
20 นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 20 ปี สสส.
พิมพครั้งแรก มีนาคม 2564 ผูจัดทํา
จํานวน 1,500 เลม ที่ปรึกษา ดร.ณัฐพันธุ ศุภกา
ISBN 978-616-393-339-3 กองบรรณาธิการ มูลนิธิวายไอวาย
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) วนัสนันท ศรีไพศาล
สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สุรเชษฐ พิทยาพิบูลพงศ พชร สุวรรณดิษ
โดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สิริสกุล มยุรีสวรรค พรเพ็ญ เธียรไพศาล
จัดพิมพและเผยแพรโดย สุภาพันธุ บุนนาค ดวงรักษ เลิศมั่งมี
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) นลินี เรืองฤทธิศักดิ์ อัจฉราวดี ศรีสรอย
อาคารศูนยเรียนรูสุขภาวะ 99/8 อาคารศูนยเรียนรูสุขภาวะ ซอยงามดูพลี ปทมา ทุมาวงศ นภรณ ดีนอก
ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กทม. 10120 ปทิตตา วรสติ ปฐวี กาญจนีย
โทรศัพท: 023431500 เว็บไซต: thaihealth.or.th/inno
ภาพประกอบ กราฟก พิสูจนอักษร
ดําเนินการผลิตโดย ลลิตา วิจิตอมรวงษ รัตนากร ซุนสุวรรณ อัจฉราวดี ศรีสรอย
มูลนิธิวายไอวาย (why i why Foundation) ศศิปรียา เขียวศิริ วนัสนันท ศรีไพศาล
2044/23 ถ.เพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กทม. 10310
โทรศัพท: 02-049-8823 เว็บไซต: whyiwhy.org ทีมจัดประกวด ThaiHealth Inno Awards 3 มูลนิธิวายไอวาย
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) (why i why Foundation)
ดร.ณัฐพันธุ ศุภกา สุภาพันธุ บุนนาค และเพื่อนเครือขาย
พิมพที่ นลินี เรืองฤทธิศักดิ์ ปทมา ทุมาวงศ Facilitator,
บริษัท พิมพดี จํากัด ปทิตตา วรสติ วนิดา วะชังเงิน Note taker,
30/2 หมู 1 ถ.เจษฎาวิถี ต.โคกขาม อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000 ภมรศรี แดงชัย สิริสกุล มยุรีสวรรค Visual note taker
โทรศัพท: 080-230-6817, 02-401-9401 ตอ 111 ชนากานต ปานทองดี ดอกฟา สินทราไชยสิทธิ์ ทั้ง 27 ชีวิต
โทรสาร:02-401-9417 เว็บไซต: pimdee.co.th เจนจิรา ศรีธนาวิโรจน

คณะกรรมการตัดสิน
สาขาความเชี่ยวชาญ ระดับมัธยมปลาย ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.)
การสรางเสริมสุขภาพ นพ.อัครินทร นิมมานนิตย นางสาวปรีชภาวรรณ ไตรพรยุวสิน
ผูชวยคณบดีฝายพัฒนาคุณภาพ นักพัฒนาธุรกิจ สํานักเคเอกซ
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

ไอเดียนวัตกรรม ดร.กฤษฎชัย สมสมาน นางธีรีสา มัทวพันธุ


รองผูอํานวยการ สํานักงานเลขาธิการรัฐมนตรีศึกษา รองผูอํานวยการดานยุทธศาสตรองคกร
แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)

หนวยงานการศึกษา ดร.ปรีดา พัชรมณีปกรณ นายสมภพ สมประสงค


นักวิชาการสาขาฟสิกสและวิทยาศาสตรโลก ผูอํานวยการกลุมวิจัยสงเสริมและพัฒนานวัตกรรม
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

ภาคเอกชน นางฉวีวัณณ วิชชุภานันท นายปาพจน ตันสุวรรณ


ที่ปรึกษาอาวุโส สํานักงานผูชวยผูจัดการใหญบริหารกลาง ผูชํานาญการ (โครงการพิเศษ) ศูนยสงเสริมองคกรคุณภาพ
บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท ซีพีออลล จํากัด (มหาชน)

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร.ออมใจ ไทรเมฆ ดร.พัชราภรณ วงษา


ผูชวยผูอํานวยการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร ผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานธุรกิจชีววิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (องคการมหาชน)

Design Thinking รศ.ดร.ชูจิต ตรีรัตนพันธ รศ.นัททนี เนียมทรัพย


รองคณบดีฝายวิจัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร หัวหนาภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม
และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สสส. นางสาวณัฐยา บุญภักดี นางเข็มเพชร เลนะพันธ


ผูอํานวยการสํานักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชนและครอบครัว สสส. ผูอํานวยการสํานักสรางสรรคโอกาส สสส.

ดวยความขอบคุณ
คณะกรรมการผู  ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผู  เ ชี่ ย วชาญ (พี่ ๆ เมนเทอร ) จากภาคส ว นต า งๆ ที่ ก รุ ณ ามาร ว มด ว ย
ชวยกันดูแลและฟูมฟกนองๆ เยาวชนใหเปนเมล็ดพันธุสรางเสริมสุขภาพที่มีคุณภาพ และผูเขารวมประกวด
ทุกทาน ทั้งนองๆ เยาวชนและคุณครู อาจารย ที่มุงมั่น ตั้งใจพัฒนาผลงานนวัตกรรมสรางเสริมสุขภาพอยางดี
ที่สุด ทําใหการประกวดครั้งนี้มีคุณคา และเปนความทรงจําที่ดีของพวกเราทุกคน

You might also like