You are on page 1of 15

วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ

ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง


.................................................................................................................................................................................................................

การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยา: การศึกษาระยะเริ่มต้น
A development of the delaying gratification scale and its psychometric
properties: A preliminary study

ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง1
Piyapong Saetang

บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจ ในประเด็นของความตรง และความน่าเชื่อถือ
แบบวัดถูกสร้างบนพื้นฐานของแนวคิดเกี่ยวกับความยับยั้งชั่งใจที่มีความหมายถึง “กระบวนการของพลังความมุ่งมั่น
ภายในจิตใจ ที่แสดงออกโดยการอดทนอดกลั้น ต่อต้าน หรือชะลอแรงกระตุ้นที่ผลั กดันให้แสดงพฤติกรรมเพื่อบรรลุความ
พึงพอใจในทันทีทันใด อันเป็นผลที่เกิดจากการคิดไตร่ตรอง และความคาดหวังถึงผลลัพธ์ที่มีคุณค่ามากกว่าในอนาคต”
เก็บข้อมูลจากผู้ร่วมวิจัยจานวน 310 คน ที่เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคาแหง (ชาย 61 คน หญิง
244 คน เพศทางเลือก 4 คน อายุเฉลี่ย 26.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.73) ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจและ
วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักเพื่อสกัดองค์ประกอบของแบบวัดความยับยั้งชั่งใจ ใช้การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา
และการวิเคราะห์ความสอดคล้องภายในเพื่อบ่งชี้คุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยา
ความตรงเชิ ง เนื้ อหาผ่ านการวิ เคราะห์ ดั ช นีความสอดคล้องมี ค่าอยู่ ระหว่ าง 0.6-1.0 ส่ ว นผลการวิ เคราะห์
องค์ประกอบเชิงสารวจพบว่าแบบวัดความยับยั้งชั่งใจมีจานวน 9 องค์ประกอบ จากจานวนคาถาม 36 ข้อ ซึ่งโครงสร้างทัง้
9 องค์ประกอบประกอบไปด้วย (1) พลังความมุ่งมั่น, (2) ความสามารถรอได้, (3) ความอดทนต่อการอยากรับประทาน
อาหาร, (4) ความอดทนต่อสิ่งยั่วยุด้านเพศ, (5) การไม่คานึงถึงผลที่ตามมา, (6) ความอดทนอดกลั้นเพื่อผลสัมฤทธิ์ทาง
การศึกษา, (7) ความอดทนอดกลั้นด้านการเงิน , (8) ความอดทนอดกลั้นเพื่อความสัมพันธ์ทางสังคม, และ (9) อคติส่วน
บุคคล ซึ่งองค์ประกอบทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนสะสมได้ถึงร้อยละ 59.562 แบบวัดความยับยั้งชั่งใจ
มีความน่าเชื่อถือเชิงความสอดคล้องภายในในเกณฑ์ดี (แอลฟ่าครอนบาครวมทั้งฉบับคือ .835 และในรายด้านอยู่ระหว่าง
.564-.841) ดังนั้นจึงสรุปได้ ว่าแบบวัดความยับยั้งชั่งใจสามารถใช้ประเมินความยับยั้งชั่งใจได้ รวมทั้งสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการวิจัยที่เกี่ยวข้องต่อไปในอนาคต

คาสาคัญ: ความยับยั้งชั่งใจ / แบบวัดความยับยั้งชั่งใจ / คุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยา

Abstract
The study aimed to develop the Delaying Gratification Scale (DGS) in terms of validity and
reliability. The test was developed based on the concept of delaying gratification as “The mental process
expressed by patients, resisting or slowing down the impulses that drive behavior to achieve immediate
gratification which results from consideration and expectations of more valuable results in the future”.
Data were collected from 310 Thai undergraduate students at Ramkhamhaeng university (61 males,
1 ภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง

121
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

female 244, and other 4 with average of 26.43 years of age, SD = 7.73). An exploratory factor analysis
(EFA) with extraction method of principle component analysis was performed to develop the DGS.
Content validity and internal consistency were examined to identify the psychometric properties of the
DGS
The content validity was evaluated using item-objective congruence (IOC) value, with the IOC
value of 0.60 - 1.0. The result of the EFA identified a nine factors structure for the DGS with 36 items.
The nine factors including (1) Will power, (2) Waiting ability, (3) Dietary restraint, (4) Sexual restraint, (5)
Regardless of the consequences, (6) Academic restraint, (7) Financial restraint, (8) Social relationship
restraint, (9) Personal bias together explained 59.562% of total variance. The DGS and its factors showed
good internal consistency (Cronbach’s alpha for the full DGS = .835 and ranged from .564 - .841 for the
nine factors). Therefore, it is concluded that the DGS can be used to assess delaying gratification
including able to be applied to related research in the future.

Keyword: Delay of gratification / Delaying gratification scale / psychometric properties

บทนา กระตุ้นที่ผลักดันให้แสดงพฤติกรรมเพื่อบรรลุความพึง
ในยุคที่อินเตอร์เนตเข้ามาเชื่อมโยงกับวัตถุต่าง พอใจในทันที โดยความคาดหวังถึงสิ่งที่มีคุณค่ามากกว่า
ๆ ในโลกของความเป็ น จริ ง ผ่ า นเทคโนโลยี ไ ร้ ส าย ในอนาคต ซึ่งความยับยั้งชั่งใจเป็นองค์ประกอบสาคัญ
อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จึ ง เป็ น สื่ อ กลางของความ ของการกากับควบคุมตนเอง และเอื้ออานวยให้บุคคล
สะดวกสบาย และมีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของ พัฒนาชีวิตในหลายมิติทั้งเชิงสุขภาพ และกลไกปรับตัว
มนุษย์มากขึ้น การเข้าถึงสิ่งต่าง ๆ อย่างสะดวกรวดเร็ว ทางสั ง คม นอกจากนี้ ยั ง ปรากฎงานวิ จั ย ที่ บ่ ง ชี้ ว่ า
ไม่ว่าจะเป็นการสั่งซื้อสินค้าผ่านคลังสินค้าออนไลน์ การ ความสามารถในการยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจช่ ว ยลดแนวโน้ ม
รั บ ส่ ง สิ น ค้ า อย่ า งรวดเร็ ว การรั บ ส่ ง ข้ อ ความ อี เ มล์ พฤติกรรมการใช้ความรุนแรง การติดสารเสพติด และ
รูปภาพ หรือการสนทนาวิดีโอออนไลน์อย่างทันทีทันใด สั ม พั น ธ์ กั บ การประสบความส าเร็ จ ทางวิ ช าการ
สิ่งเหล่านี้ทาให้มนุษย์ได้รับการตอบสนองความต้องการ โดยเฉพาะในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ (Kumar & Pareek,
อย่ า งทั น ที ทั น ใด ปราศจากการรอคอย และค่ อ ย ๆ 2 0 1 8 ; Herndon, Bembenutty, & Gregoire Gill,
สูญเสียความอดทน หรือความยับยั้งชั่งใจลงไป 2015)
ในขณะที่ ก ารใช้ ชี วิ ต ประจ าวั น ของมนุ ษ ย์ มี การกระท าสิ่ ง ต่ า ง ๆ บนหลั กความพึ ง พอใจ
แนวโน้มที่จะเผชิญกับการเลือกที่จะตอบสนองความพึง (Pleasure principle) ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ ซิก
พอใจแบบทันทีทันใด หรือชะลอมัน ออกไป เพื่อให้ได้ มันด์ ฟรอยด์ กล่าวว่า เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากอิทธิพล
ผลลัพธ์ที่ดีมากกว่าในภายหลัง เช่น การเก็บออมเงินไว้ จากสัญชาติญาณ และเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบ
ใช้ ย ามเกษี ย ณ หรื อ ยามฉุ ก เฉิ น แทนที่ จ ะใช้ เ งิ น เพื่ อ ทางบุ คลิ กภาพที่ เรีย กว่ า “Id” ที่ ท าหน้ า ที่ ต อบสนอง
ความสุขในปัจจุบัน หรือการหลีกเลี่ยงที่จะรับประทาน ความพึงพอใจและหลีกเลี่ยงความเจ็บปวด ฟรอยด์ได้
อาหารขยะที่ ท าลายสุ ข ภาพ เพื่ อ จะได้ มี สุ ข ภาพดี ใน เปรียบเทียบหลักความพึงพอใจกับหลักความเป็นจริง
อนาคต พฤติ ก รรมเหล่ า นี้ เ รี ย กว่ า ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจ (reality principle) เพื่ อ อธิ บ ายความสามารถในการ
(Delay of gratification) หมายถึ ง การต่ อ ต้ า นแรง ยับยั้งชั่งใจ เมื่อบางสถานการณ์ไม่สามารถตอบสนอง

122
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

ความพึงพอใจแบบทันทีทันใดได้ บุคคลจะเรียนรู้ที่จะ ในคดี ย าเสพติดและชีวิ ตร่างกายของเด็กและเยาวชน


ยับยั้งชั่งใจ อดทนเพื่อให้ได้มาซึ่งผลตอบแทนที่ดี อาจ นอกจากนี้ยังระบุว่าลักษณะของการควบคุมตนเองต่า
กล่ า วได้ ว่ ามนุษย์ เกิด มาพร้อมกับพฤติ กรรมที่ อิงหลัก และความหุนหันพลันแล่น ขาดความยับยั้งชั่งใจ นาไปสู่
ความพึงพอใจเพื่อความอยู่รอด แต่เมื่อมนุษย์เติบโตขึ้น การตกเป็ น เหยื่ อ อาชญากรรมได้ ง่ า ยขึ้ น โดยเฉพาะ
ทั้ ง อายุ ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น และวุ ฒิ ภาวะเติ บ โตขึ้ น มนุ ษ ย์ อาชญากรรมไซเบอร์ (Kranenbarg, Holt, & Gelder,
เรี ย นรู้ ที่ จ ะอดทนต่ อ ความไม่ ส ะดวกสบายทั้ ง ด้ า น 2017)
ร่ า งกายและจิ ต ใจ รวมทั้ ง ใช้ ค วามยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจ เพื่ อ จากที่กล่าวมาจึงพิจารณาได้ว่า ความยับยั้งชั่ง
เป้าหมายที่มีคุณค่า เช่น การทางานหนัก หรือทางานใน ใจ ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการพัฒนาคุณลักษณะ
สิ่งแวดล้อมที่อันตราย (Cohen, 2017) ภายในของบุคคลให้เติบโตไปสู่การเป็นทรัพยากรบุคคล
ความต้ อ งการการตอบสนองความพึ ง พอใจ ที่มีคุณค่า แต่ทว่าในประเทศไทยยังขาดเครื่องมือสาหรับ
อย่ า ง ทั น ที ทั น ใ ด ไ ม่ ส า ม า ร ถ รั้ ง ร อไ ด้ ( instant การประเมินความยับ ยั้งชั่ง ใจ เพื่อใช้ในการวิจั ย หรือ
gratification) หรือการขาดความสามารถในการยับยั้ง ประกอบการประเมินบุคคลเพื่อการกาหนดแผนพัฒนา
ชั่ ง ใ จ ( inability of delaying gratification) มี ศักยภาพส่วนบุคคล แม้ว่าจะมีการแปลแบบทดสอบจาก
ความหมายโดยนัยยะเช่นเดียวกับความหุนหันพลันแล่น ฉบั บ ต่ า งประเทศมาใช้ อ ยู่ บ้ า งในการวิ จั ย แต่ ก ารใช้
(impulsivity) กล่าวคือ เป็นพฤติกรรมที่อยู่ตรงกันข้าม เครื่องมือหรือแบบทดสอบที่แปลจากภาษาต่างประเทศ
กับการควบคุมตนเอง และสะท้อนถึงพฤติกรรมเชิงลบ ที่มาจากบริบทที่แตกต่าง อาจมีข้อจากัดเชิงวัฒนธรรม
เช่ น การที่ บุ ค คลท าสิ่ ง ต่ า ง ๆ โดยปราศจากการคิ ด และภาษาที่ ต้ องพึ งระวัง ในการแปลผล ด้ ว ยเหตุ ผลที่
ไตร่ตรอง ขาดการวางแผน ไม่มีเป้าหมายเป็ นที่ตั้ง ไม่ กล่าวมาทาให้ผู้วิจัยสนใจพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน
คานึงถึงอนาคต บุคคลกลุ่มนี้จะมีความโกรธและคับข้อง ความยั บ ยั้งชั่ งใจที่ มีคุณภาพ และเหมาะสมกับบริบท
ใจได้ง่าย มีการใช้จ่ายเงินโดยไม่ตระหนักถึงความจาเป็น ของประเทศไทย เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ทางเลื อ กให้
หรือผลที่ตามมาในอนาคต และมีงานวิจัยที่พบว่าบุคคล นักจิตวิทยา หรือผู้วิจัยที่สนใจศึกษาประเด็นนี้ต่อไป อัน
ที่ขาดความยับยั้งชั่งใจมักมีความสัมพันธ์กับปัญหาและ จะเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการศึ ก ษาเพื่ อ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นา
ความผิ ด ปกติ ท างจิ ต ต่ า ง ๆ เช่ น โรคซนสมาธิ สั้ น คุณลักษณะของความยับยั้งชั่งใจต่อไปในอนาคต
(attention deficit / hyperactivity disorder) การติด
สารเสพติ ด (substance abuse) การติ ด การพนั น วัตถุประสงค์ในการวิจัย
(pathological gambling) การกินที่ผิดปกติ (เช่น โรคบู เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณสมบัติในการวัด
ลิ เ มี ย ) (eating disorder e.g. bulimia nervosa) โรค ทางจิตวิทยาของแบบวัดความยับยั้งชั่งใจในด้านความ
ลั ก ข โ ม ย ( kleptomania) โ ร ค ถ อ น เ ส้ น ผ ม ตรง และความน่าเชื่อถือ
(trichotillomania) หรื อ แม้แต่ โ รคอ้ ว น ( obesity)
(Dawd, 2017) วิธีดาเนินการวิจัย
การขาดความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจยั ง เป็ น สาเหตุ ข อง ประชากร
ปัญหาพฤติกรรมต่าง ๆ เช่น การไม่เข้าคิวต่อแถว การ ประชากร คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี
ขั บ ขี่ ร ถที่ ข าดวิ นั ย จราจร ตลอดจนปั ญ หาสั ง คมและ มหาวิทยาลัยรามคาแหง จานวน 173,203 คน ข้อมูล ณ
พฤติกรรมกระทาผิดต่าง ๆ เช่น การศึกษาของเสกสิทธิ์ วั น ที่ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2562 (งานนโยบายและแผน
สวรรยาธิปัติ (2554) พบว่า องค์ประกอบความหุ นหัน สานักงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2562)
พลันแล่นด้านกระบวนการคิดมีอิทธิพลต่อการกระทาผิด

123
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

กลุ่มตัวอย่าง งานวิจัย และแบบจาลองที่เกี่ยวข้องกับความยับยั้งชั่งใจ


การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง (sample size) โดยการวิ จั ย ครั้ง นี้ ไ ด้ กาหนดนิ ย ามเชิ ง ปฏิบั ติ การของ
ผู้วิจัยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตามแนวคิด ความยับยั้งชั่งใจบนฐานของข้อมูลการวิจัยที่ผ่านมา จึง
ของ Hair, Black, Babin, & Anderson (2010) ซึ่งระบุ สรุปนิยามของความยับยั้งชั่งใจ ดังนี้ “กระบวนการของ
เกณฑ์ ใ นการก าหนดขนาดกลุ่ ม ตั ว อย่ า งส าหรั บ การ พลังความมุ่งมั่นภายในจิตใจ ที่แสดงออกโดยการอดทน
วิเคราะห์องค์ประกอบให้พิจารณา 2 ประการคือ อดกลั้น ต่อต้าน หรือชะลอแรงกระตุ้นที่ผลักดันให้แสดง
1. กลุ่มตัวอย่างควรมีจานวนไม่น้อยกว่า 50 คน และ 2. พฤติกรรมเพื่อบรรลุความพึงพอใจในทันทีทันใด อันเป็น
อัตราส่วนกลุ่มตัวอย่างต่อจานวนตัวแปรควรมีอัตราส่วน ผลที่ เ กิ ด จากการคิ ด ไตร่ ต รอง และความคาดหวั ง ถึง
5 ต่อ 1 เป็นอย่างน้อย หรือที่พึงประสงค์คืออั ตราส่วน ผลลัพธ์ที่มีคุณค่ามากกว่าในอนาคต” ผู้วิจัยใช้นิยามนี้
15 ต่อ 1 ซึ่งในการวิจัยนี้จะยึดอัตราส่วน 5 ต่อ 1 เป็น เป็นพื้นฐานในการพัฒนาข้อคาถามชุดนี้
เกณฑ์กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างขั้นต่า ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาข้อคาถาม และวิเคราะห์ความ
ในการวิจัยครั้งนี้เริ่มจากการศึกษาความตรง ตรง
เชิงเนื้อหาโดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านจิตวิทยาและจิต เวช ในการวิ จั ย นี้ ผู้ วิ จั ย ได้ พั ฒ นาข้ อ ค าถามจาก
ศาสตร์จานวน 5 คน เป็นผู้พิจารณาความสอดคล้องของ นิยามเชิงปฏิบัติการ จานวน 57 ข้อ โดยใช้ระบบคะแนน
เนื้ อ หาค าถามกั บ นิ ย าม และวิ เ คราะห์ ดั ช นี ค วาม ลิเคิร์ท 5 ระดับ และนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิท ยา
สอดคล้ อ ง (index of item-objective congruence) หรื อ จิ ต เวชศาสตร์ จ านวน 5 คน ตรวจสอบและ
เสร็จสิ้น มีจานวนตัวแปร หรือข้อคาถามเท่ากับ 50 ข้อ วิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา (content validity) ด้วย
เมื่อพิจารณาขนาดกลุ่มตัวอย่างตามอัตราส่วน 5 ต่อ 1 ดัชนีความสอดคล้อง โดยตัดข้อคาถามที่มีดัชนีต่ากว่า
เป็นจานวนขั้นต่า จึงสรุปจานวนขั้นต่าของกลุ่มตัวอย่าง 0.60 ออก และปรับปรุงเนื้อหาตามข้อเสนอแนะของ
ที่ควรใช้ในการวิจัยครั้งนี้เท่ากับ 250 คน โดยผู้วิจัยใช้ ผู้เชี่ยวชาญ จึงเหลือข้อคาถามทั้งสิ้น 50 ข้อ
วิ ธี การเก็บ รวบรวมข้อมู ล ด้ ว ยแบบสอบถามออนไลน์ ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการ
เป็นเวลา 1 เดือน ระหว่างวันที่ 21 กันยายน 2562 – วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ
21 ตุลาคม 2562 มีผู้ตอบจานวน 310 ราย เมื่อได้ข้อคาถามที่มีความตรงเชิงเนื้อหาแล้ว
วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (sampling method) จึ ง น าแบบวั ด ไปเก็ บ ข้ อ มู ล และน ามาวิ เ คราะห์
ในงานวิ จั ย นี้ คั ด เลื อ กกลุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบ องค์ประกอบเชิงสารวจ ซึ่งเป็นวิธีวิเคราะห์ที่มีอานาจ
เฉพาะเจาะจง (purposive sampling method) โดย การทดสอบสู ง สามารถใช้ จั ด กลุ่ ม ตั ว แปรที่ มี ค วาม
ก าหนดเกณฑ์ คั ด เข้ า (inclusion criteria) ให้ ก ลุ่ ม เกี่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ กั น ให้ อ ยู่ ก ลุ่ ม เดี ย วกั น ได้ อ ย่ า งเป็ น
ตัวอย่างเป็น (1) นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย ระบบ ช่ ว ยลดจ านวนตั ว แปรและทราบน้ าหนั ก ตั ว
รามค าแหง และ (2) ช่ ว งอายุ ร ะหว่ า ง 18 ปี ขึ้ น ไป ประกอบแต่ ล ะตั ว อย่ า งไรก็ ต ามการวิ เ คราะห์
กล่าวคืออยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย และวัยผู้ใหญ่ และ องค์ประกอบจาเป็นต้องตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นก่อน
(3) มีความยินยอมเข้าร่วมการวิจัย การวิเคราะห์ ดังนี้
1) ตัวแปรต้องมีลักษณะต่อเนื่องและมีการแจก
ขั้นตอนการพัฒนาแบบวัด แจงแบบปกติ
ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนวรรณกรรม และกาหนดนิยาม 2) การกระจายตัวแปรหนึ่งในทุกค่าของอีกตัว
เพื่อให้การพัฒนาแบบทดสอบตั้งอยู่บนพื้นฐาน แปรหนึ่งมีค่าไม่แตกต่างกัน
ของความเป็ น วิ ท ยาศาสตร์ จึ ง ต้ อ งทบทวนทฤษฎี

124
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

3) ตั ว แปรที่ วั ด มี คุ ณ ลั ก ษณะเดี ย วกั น และ จริย ธรรมการวิ จั ย ในมนุ ษ ย์ มหาวิ ท ยาลั ย รามค าแหง
สั ม พั น ธ์ กั น โดยตรวจสอบจาก Bartletts test of และปรับปรุงโครงร่างวิจัยตามข้อเสนอคณะกรรมการฯ
sphericity โดยคณะอนุกรรมการจริยธรรมการวิจัยประจาสาขาที่
4) ประเมิ นความเหมาะสมของข้อมู ลในการ เกี่ยวข้องกับมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้รับรอง
วิเคราะห์องค์ประกอบจาก ดัชนี Kaiser-Meyer-Olkin โครงการวิจัยนี้ตามรหัสการรับรอง RU-HS-RESC/xd-
ขั้ น ตอนที่ 4 จั ด โครงสร้ า งของข้ อ ค าถามโดยการ 0177/62
วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ 3. การเผยแพร่แบบวั ด ออนไลน์ แบ่ ง เป็ น 2
จุดประสงค์หลักของการทาการวิเคราะห์ปัจจัย ช่องทาง
องค์ประกอบคือการจัดกลุ่มและลดขนาดของตัวแปรให้ 3.1 เผยแพร่ QR code ในห้องบรรยาย โดย
อยู่ในขอบเขตของ “องค์ประกอบ” ที่เกิดจากการแยก เริ่มต้นจากกระบวนการขอความยินยอมจากนักศึกษา
ความแปรปรวนของตัวแปร ทาให้รูปแบบความสัมพันธ์ โดยผู้วิจัยหรือผู้ช่วยวิจัย ซึ่งติดต่อขออนุญาตอาจารย์ใน
ของตัวแปรง่ายต่อการตีความ ในการใช้การวิเคราะห์ กระบวนวิชาต่าง ๆ ของภาควิชาจิตวิทยา กระบวนการ
องค์ประกอบเชิงสารวจเพื่อพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่ง ขอความยินยอมเริ่มภายหลังการบรรยายเสร็จสิ้น โดย
ใจครั้ ง นี้ จะสกั ด องค์ ป ระกอบด้ ว ยวิ ธี Principle ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการวิจัย และเปิดโอกาสให้สอบถาม
component analysis หมุนแกนโดยวิธี Promax จากนั้นจึงการเผยแพร่แบบวัดออนไลน์ผ่าน QR code
ขั้ น ตอนที่ 5 ศึ ก ษาคุ ณ สมบั ติ ใ นการวั ด ด้ า นความ ทั้งนี้ในกระบวนวิชาที่ผู้วิจัยเป็นผู้สอน ผู้ช่วยวิจัยจะเป็น
น่าเชื่อถือ ผู้ขอความยินยอมแทนเท่านั้น โดยให้ผู้วิจัยออกจากห้อง
เมื่ อ จั ด องค์ ป ระกอบแล้ ว ผู้ วิ จั ย จึ ง ท าการ บรรยายเพื่อเลี่ยงโอกาสเกิดความขัดแย้งของประโยชน์
วิเคราะห์คุณสมบัติ ในการวัดด้านความน่าเชื่ อถื อของ ทับซ้อน และเปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างสามารถเลือกที่
แบบวั ด ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจ ใช้ วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ ค วาม จะเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการวิจัยได้อย่างอิสระ
สอดคล้ องภายใน (internal consistency reliability) 3.2 เผยแพร่ QR code ผ่ า นระบบเครือข่าย
โดยสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอน บาค (Cronbach’s สังคมออนไลน์ ผู้วิจัยแนบไฟล์เอกสารชี้แจงผู้เข้า ร่ว ม
alpha coefficient) ซึ่ ง สะท้ อ นความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ วิจัย และใบอนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรมการ
จานวนข้อคาถามทั้งหมด และความน่าเชื่อถือรายด้าน วิจัยและจรรยาบรรณทางวิชาการ เพื่อแสดงรายละเอียด
ตามการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจในขั้นตอนที่ เกี่ยวกับโครงการวิจัย ให้ผู้ร่วมวิจัยได้พิจารณา
ผ่านมา 4. ในแบบวัดออนไลน์จะปรากฎข้อความเพื่อ
ขอความยินยอมเข้าร่วมการวิจัย หากนักศึกษาประสงค์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล เข้าร่วมการวิจัยให้เลือกคาว่ายินยอม จากนั้นระบบจะ
ในการด าเนิ น การเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล จะมี น าเข้ า สู่ ก ารตอบแบบวั ด ต่ อ ไป หากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งไม่
ขั้นตอนในการดาเนินการดังนี้ ประสงค์เข้าร่วมการวิจัยให้เลือกคาว่าไม่ยินยอม ระบบ
1. น าแบบวั ด ต้ น ฉบั บ ที่ ใ ห้ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น การตอบแบบวัดจะยุติลง
จิตวิทยาหรือจิตเวชศาสตร์จานวนรวม 5 ท่านตรวจสอบ 5. นาผลการตอบแบบวัดมาทาการวิเคราะห์
ความตรงเชิงเนื้อหา และปรับปรุงตามข้อเสนอแนะแล้ว องค์ประกอบเชิงสารวจเพื่อจัดโครงสร้างแบบวัดความ
จัดทาเป็นแบบวัดในระบบออนไลน์ ยับยั้งชั่งใจ
2. นาโครงร่างวิจัยและแบบวัดความยับยั้งชัง่ ใจ 6. วิ เคราะห์ ความน่า เชื่อถือของแบบวัดด้วย
ต้ น ฉบั บ เข้ า พิ จ ารณาในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ ก า ร ห า ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ แ อ ล ฟ า ข อ ง ค ร อ น บ า ค

125
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

(Cronbach’s alpha coefficient) ของคะแนนรายด้าน เวลา 127 ราย (ร้อยละ 41.1) อายุเฉลี่ยเท่ากับ 26.43 ปี
กับคะแนนรวมของแบบวัดทั้งฉบับ และมีค่าเฉลี่ยของเกรดเฉลี่ยรวมเท่ากับ 2.91 ซึ่งจานวน
กลุ่มตัวอย่างเพียงพอต่อการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง
สถิติที่ใช้ในงานวิจัย สารวจ
1. เพื่อพรรณนาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทั่วไป ในขั้นตอนแรกผู้วิจัยสร้างข้อคาถามขึ้นจานวน
ของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ 57 ข้ อ ตามนิ ย ามที่ ไ ด้ จ ากการทบทวนวรรณกรรมที่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวข้องกับความยับยั้งชั่งใจ จากนั้นจึงให้ผู้เชี่ยวชาญ
2. เพื่ อวิ เคราะห์ ความตรงเชิ ง เนื้ อหาใช้ ก าร ด้านจิตวิทยาและจิตเวชศาสตร์ จานวน 5 ท่านเป็นผู้
วิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้อง ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับนิยาม โดย
3. เพื่อจัดกลุ่มและลดขนาดตัวแปรที่ศึกษาโดย ใช้ดัชนีความสอดคล้องที่มีเกณฑ์ขั้นต่าที่ 0.6 ขึ้นไป เมื่อ
ใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ พิ จ ารณาแล้ ว จึ ง เหลื อ ข้ อ ค าถามที่ มี ค วามสอดคล้ อ ง
4. เพื่อวิเคราะห์ความน่าเชื่ อถือใช้การหาค่า ระหว่างเนื้อหาและนิยามอยู่ทั้งสิ้น 50 ข้อ เพื่อนาเข้าสู่
สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ในคะแนนรวมและ การวิเคราะห์องค์ประกอบเพื่อค้นหาแนวทางลดขนาด
คะแนนรายด้านของแบบวัดทั้งฉบับ ข้อมูลจากตัวแปรเดิมที่มีอยู่ให้กลายเป็นองค์ประกอบ
และจัดหมวดหมู่ของคาถามให้สอดคล้องกัน ดังนั้นจึง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3 ตอน ดังนี้
กลุ่ ม ตั ว อย่ า งในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ป ระกอบด้ ว ย ตอนที่ 1 ตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการ
นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคาแหง จานวน 310 คน ส่วน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ
ใหญ่เป็นเพศหญิงจานวน 244 คน (ร้อยละ 79.0) ส่วน ก่ อ นการวิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบเชิ ง ส ารวจ
ใหญ่สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ 243 คน (ร้อยละ 79.4) มี จาเป็นต้องตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นก่อน เนื่องจาก
รายได้ต่อเดือนอยู่ในช่วง 5,001-15,000 บาท (ร้อยละ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจให้ความสาคัญกับ
37.2) มีรายจ่ายต่อเดือนอยู่ในช่วง 5,001-15,001 บาท คุ ณ ลั ก ษณะของตั ว แปร ผู้ วิ จั ย จึ ง ตรวจสอบข้ อ ตกลง
(ร้อยละ 51.5) ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นนักศึกษาเรี ยนเต็ม เบื้องต้น ดังนี้
ตาราง 1 แสดงค่า Anti-image Correlation Matrices รายข้อ
ข้อที่ MSA ข้อที่ MSA ข้อที่ MSA ข้อที่ MSA ข้อที่ MSA
1 .816 11 .862 21 .784 31 .649 41 .868
2 .797 12 .917 22 .735 32 .836 42 .862
3 .764 13 .879 23 .781 33 .759 43 .884
4 .794 14 .863 24 .765 34 .705 44 .872
5 .735 15 .789 25 .784 35 .851 45 .734
6 .755 16 .813 26 .827 36 .756 46 .722
7 .840 17 .812 27 .823 37 .819 47 .711
8 .831 18 .790 28 .816 38 .748 48 .785
9 .886 19 .758 29 .768 39 .819 49 .740
10 .858 20 .840 30 .746 40 .872 50 .713

126
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

จากตาราง 1 แสดงค่า Measure of Sampling จึ ง พิ จ ารณาได้ ว่ า ข้ อ มู ล ชุ ด นี้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น เพี ย ง


Adequacy (MSA) จ า ก Anti-image correlations พอที่จะใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบได้
matrix diagonals พบว่ า ไม่ มี ข้ อ ใดที่ แ สดงค่ า ต่ ากว่ า
0.5 โดยค่าที่ได้อยู่ระหว่าง 0.649-0.917 จากที่กล่าวมา

ตาราง 2 แสดงค่า Kaiser-Meyer-Olkin (KMO) และ Bartlett Test of Sphericity

Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy 0.813


Bartlett’s Test of Sphericity Approx. Chi-Square 5104.320
df 1225
Sig. .000

จากตาราง 2 แสดงค่า Kaiser-Meyer-Olkin 2.1 การคั ด เลื อ กข้ อ ค าถาม หลั ง ผ่ า นการ
Measure of Sampling Adequacy (KMO) เ ท่ า กั บ วิ เ คราะห์ ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ งจากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท าง
0.813 ซึ่ ง มากกว่ า 0.5 และถื อ ว่ า อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี ม าก จิตวิทยาและจิตเวชจานวน 5 ท่าน โดยข้อที่มีค่าดัชนี
(Hair et. Al, 2010) ประกอบกับค่า Bartlett’s Test of ความสอดคล้องต่ากว่า 0.6 จะถูกตัดออก จึงมีข้อคาถาม
Sphericity เท่ า กั บ 5104.320 (P<.000) แสดงว่ า คงเหลือ 50 ข้อ จากฉบับดั้งเดิม 57 ข้อ ต่อมาเมื่อทา
เมตริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแตกต่างจากเมตริกซ์ การวิเคราะห์องค์ประกอบ ผู้วิจัยจะคัดเลือกข้อคาถามที่
เอกลักษณ์อย่างมีนัยสาคัญ และมีความเหมาะสมที่จะใช้ มีค่าน้าหนักองค์ประกอบที่ได้จากการสกัดองค์ประกอบ
การวิเคราะห์องค์ประกอบได้ (extraction) มากกว่า 0.4 เอาไว้ ซึ่งจากการพิจารณา
ตอนที่ 2 ผลการจัดองค์ประกอบเชิงสารวจ ค่า Communalities ของคาถามทั้ง 50 ข้อ พบว่าในทุก
ของแบบวัดความยับยั้งชั่งใจ ข้ อ มี ค่ า ระหว่ า ง 0.480-0.793 ดั ง นั้ น จึ ง สามารถใช้
เป้าหมายสาคัญของการวิเคราะห์องค์ประกอบ คาถามทั้ง 50 ข้อในการวิเคราะห์องค์ประกอบได้
เชิงสารวจคือ การค้นหาแนวทางลดขนาดข้อมูลจากตัว 2.2 การกาหนดจานวนองค์ประกอบ ในการ
แปรเดิมที่มีอยู่ให้กลายเป็น “องค์ประกอบ” หรือ “ชุด วิ จั ย ครั้ ง นี้ พิ จ ารณาจากค่ า Eigenvalue และ Scree
ตัวแปรใหม่ที่มีขนาดเล็กลง หรือมีมิติที่ย่นย่อลง” โดยคง test โดยใช้ เ กณฑ์ ใ นการตั ดสิ น ใจคื อ (1) มี ค่ า
ความสามารถในการอธิบายข้อมูลให้มากที่สุด กล่าวคือ Eigenvalue มากกว่ า 1 และ (2) พิ จ ารณาจานวนจุด
การค้ น หาโครงสร้ า งใหม่ บ นพื้ น ฐานของตั ว แปรเดิ ม แบ่งบนเส้น Scree plot ก่อนช่วงจุดแบ่งที่เป็นแนบราบ
(Hair et. al, 2010) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ ในขั้นตอน ซึ่งแสดงดังภาพ 1
การวิเคราะห์องค์ประกอบสารวจครั้งนี้ประกอบไปด้วย
ขั้นตอนต่อไปนี้

127
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

ภาพ 1 ภาพ Scree plot ของแบบวัดความยับยัง้ ชั่งใจจานวน 50 ข้อ

จากภาพ 1 แสดงให้เห็นว่าจุดแบ่งความลาดชัน คาถามที่น้อยกว่า 3 ข้ อคาถาม ผู้วิจัยจึงตัดข้อคาถาม


(break point) ที่ เ หมาะสม เมื่ อ พิ จ ารณาร่ ว มกั บ ค่ า เหล่านั้น ได้แก่ ข้อที่ 1, 2, 3, 13, 16, 25, 26, 27, 32,
Eigenvalues ที่ เกิน 1 ขึ้นไปนั้ น อยู่ ที่ 14 องค์ประกอบ 33, 39, 45, 46 และ 47 และวิ เ คราะห์ ผ ลใหม่ ด้ ว ย
และตามจานวนจุดข้อมูลที่อยู่ด้านบนของจุดแบ่งความลาด จานวนคาถาม 36 ข้อ โดยผลจากการวิเคราะห์ซ้าพบว่า
ชัน ดังนั้นค่าเป็นไปได้จึงอยู่ระหว่าง 5-14 องค์ประกอบ ค่ า MSA ไม่ มี ข้ อ ใดที่ แ สดงค่ า ต่ ากว่ า 0.5 (โดยมี ค่ า
แต่ เ นื่ อ งจากภาพ Scree plot มี ข้ อ มู ล รวมกลุ่ ม กั น ระหว่ า ง 0.661-0.906) ค่ า KMO เท่ า กั บ 0.803
ค่อนข้างมาก ณ จุดโค้งลง ทาให้การพิจารณาจุดแบ่งความ ค่า Bartlett’s Test of Sphericity เท่ากับ 3556.962
ลาดชันในข้อมูลชุดนี้ค่อนข้างคลุมเครือ ผู้วิจัยจึงพิจารณา (P<.000) ซึ่ ง ถื อ ว่ า ข้ อ มู ล มี ค วามเหมาะสมในการ
จากค่ า Eigenvalues ที่ เกิ น 1 ร่ วมกั บการสะสมความ วิ เ ค ร า ะ ห์ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ เ ชิ ง ส า ร ว จ ส่ ว น ค่ า
แปรปรวนของจ านวนองค์ ประกอบที่ ร้ อยละ 60 และ Communalities ของคาถามทั้ง 36 ข้อ พบว่าในทุกข้อ
กาหนดจานวนองค์ประกอบสาหรับแบบวัดความยับยั้งชั่ง มี ค่ า อยู่ ร ะหว่ า ง 0.421-0.745 ในขณะที่ จ านวน
ใจไว้ 9 องค์ประกอบ องค์ ป ระกอบที่ พิ จ ารณาจากค่ า Eigenvalue เกิ น 1
3.3 การสกัดองค์ประกอบ หมุนแกน และการ ร่วมกับการสะสมความแปรปรวนที่ใกล้เคียงกับร้อยละ
แปลผล การสกัดองค์ประกอบในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการ 60 ขึ้นไป ยังคงอยู่ที่ 9 องค์ประกอบเช่นเดิม
วิ เคราะห์ องค์ป ระกอบหลั ก (Principle component จากการสกัด องค์ประกอบครั้งแรก มั กจะไม่
analysis) เพื่อแยกความแปรปรวนสูงสุ ดจากชุดข้อมูล ชั ด เจนว่ า ตั ว แปรใดเป็ น สมาชิ ก ในองค์ ป ระกอบใด
ในแต่ละองค์ประกอบ และลดจานวนตัวแปรให้ เหลื อ จึ ง ต้ องมี การหมุ น แกนเพื่ อท าให้ เกิด ความชั ด เจนโดย
น้อยที่สุด (Tabachnick & Fidell as cited in Yong & พิจารณาจากน้าหนักองค์ประกอบของแต่ละตัวแปร ใน
Pearce, 2013) ในการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าในบางข้อมี การวิ จั ย นี้ เ ลื อ กใช้ ก ารหมุ น แกนแบบมุ ม แหลม
ค่าน้าหนักองค์ประกอบต่ากว่า 0.4 ถือว่าค่อนข้างต่า ( oblique) แ บ บ Promax ซึ่ ง จ ะ ท า ใ ห้ ไ ด้ เ ม ต ริ ก
อาจไม่สะท้อนถึงแนวคิดเกี่ยวกับความยับยั้งชั่งใจได้ดี ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งองค์ ป ระกอบ รวมทั้ ง แสดงค่ า
พอ และข้อคาถามที่มีลักษณะข้ามองค์ประกอบ (cross ความน่ า เชื่ อ ถื อ ทั้ ง ฉบั บ และรายด้ า น ซึ่ ง แสดงผลใน
loading) รวมทั้ ง องค์ ป ระกอบที่ มี ก ารรวมกลุ่ ม ของ ตาราง 3

128
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

ตาราง 3 ค่า Eigenvalue, ความแปรปรวน ความแปรรวนสะสม น้าหนักองค์ประกอบรายข้อหลังการหมุนแกน


และค่าความน่าเชื่อถือทั้งฉบับและรายด้าน
ข้อที่ คาถามย่อ องค์ประกอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
41 ความมุ่งมั่นตั้งใจที่มี ต่อเป้า หมายช่วยให้ฉั นอดทนและสม .884
ปรารถนาในอนาคต
42 ยามที่ ต้ อ งฝื น ใจท าสิ่ ง ใด ฉั น จะคิ ด ถึ ง ผลที่ จ ะได้ ต ามมา .816
ภายหลัง
43 ยิ่งเป้าหมายมีคุณค่ามากเพียงใด การอดทนยิ่งจาเป็นเท่านั้น .800
44 การวางแผนทาให้ฉันอดทนและไปสู่เป้าหมายที่ต้องการได้ .694
40 หากเป้าหมายที่ตั้งไว้ต้องใช้ ความอดทนและใช้เวลายาวนาน .692
ฉันก็สามารถมีความสุขกับการรอคอยได้
14 ฉั น มี วิ ธี ก ารหลี ก เลี่ ย งสิ่ ง ล่ อ ใจต่ า ง ๆ ที่ ท าให้ ไ ขว้ เ ขว่ จ าก .548
เป้าหมายที่ตั้งไว้
08 ฉันสามารถรอคอยสิ่งต่าง ๆ ได้โดยไม่หงุดหงิด .835
09 แม้ว่าการรอคอยจะทาให้อึดอึ ดใจ แต่ก็คุ้มค่ากั บผลลั พ ธ์ที่ .687
ได้มา
11 ฉันเห็นด้วยกับคากล่าวที่ว่า “ช้า ๆ ได้พร้าเล่มงาม” .655
10 ความสุ ข และความพอใจมั ก เกิ ด ขึ้น ภายหลั ง การใช้ ค วาม .592
อดทนอดกลั้น
7 คาว่า “อดเปรี้ยวไว้กินหวาน” เป็นหลักที่ฉันคานึงถึงเสมอ .568
12 ยามที่ ต้ อ งอดทนอดกลั้ น ฉั น มี วิ ธี จั ด การกั บ อารมณ์ แ ละ .457
ความรู้สึกตนเอง
23 แม้ว่าจะมีน้าหนักตัวมาก แต่การรับประทานขนมหวานเป็น .787
สิ่งที่ฉันไม่สามารถตัดออกไปได้
24 เวลาที่ฉันจะตั้งใจควบคุมน้าหนักตัว แต่ฉันก็อดใจไม่ได้ที่กิน .779
อาหารทอด
22 ฉันไม่สามารถหักห้ามใจตนเองได้เมื่อเจออาหารที่ชอบ .756
21 ถึงจะรู้ว่าเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่าและอาจให้ .739
โทษ แต่ฉันมักจะรับประทานเพราะรสชาติอร่อย
30 หากพอใจ ฉันอาจจะมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่คบหากันไม่นาน .792
31 เมื่อคบหาคู่รักจนรู้จักกันดีแล้ว ฉันจึงจะยอมมีเพศสัมพันธ์ .757
กับเขา
29 ถ้ า ฝ่ า ยตรงข้ า มยั่ ว ยวนเชิ ญ ชวนทางเพศ ฉั น ยิ น ดี จ ะมี .599
เพศสัมพันธ์กับเขาทันที
28 ฉันไม่เคยคิดจะชิงสุกก่อนห่าม แม้ว่าจะทาได้ก็ตาม .592
05 หากมีโอกาสฉันจะแซงคิวคนอื่นเป็นบางครั้ง .765
06 ฉันมักแสดงความเห็นโต้แย้งทันทีทันใด แม้จะยังไม่ถึงคิวที่ .727
ฉันจะแสดงความเห็น
04 ฉันขับรถฝ่าไฟแดงบ้าง หากไม่ทาให้ใครเดือดร้อนหรือเป็น .688
อันตราย

129
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

18 เวลาเข้าห้างสรรพสินค้าฉันมักซื้อสินค้ าที่นอกเหนือจากแผน .509


ที่วางไว้เสมอ
50 ฉันเลือกจะใช้เวลาสนุกกั บเพื่อนก่อนแล้วค่อยอ่านหนัง สือ .827
เรียนภายหลัง
49 ฉันเลือกที่จะใช้เวลาเที่ยวเตร่กับเพื่อน แม้ว่าจะทาให้เกรด .772
เฉลี่ยน้อยลงก็ตาม
48 ในเวลาที่ใกล้สอบฉันเลือกที่จะอ่านหนังสืออยู่ที่บ้านมากกว่า .662
ไปทากิจกรรมอื่น
19 ฉันมักแบ่งเงินรายได้บางส่วนไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน .864
15 ฉันเป็นคนที่ชอบเก็บออมเงินและวางแผนใช้จ่ายเงินเสมอ .847
20 เงินโบนัสหรือเงินรางวัลที่ได้มาแบบไม่คาดคิด สมควรถูกใช้ .428
จ่ายตามใจตนเอง
38 ฉันให้อภัยเพื่อนที่ทาไม่ดีกับฉันได้เสมอ .786
36 เมื่ อ คิ ด ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ใ นระยะยาว ฉั น จะอดทนและ .655
มองข้ามข้อเสียของคนอื่นไป
37 ฉันมักไตร่ตรองว่าการกระทาหรือคาพูดของตนเองทาร้าย .615
ความรู้สึกของผู้อื่น
34 การเลิกสูบบุหรี่ หรือหยุดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นเรื่องที่ .903
หักห้ามใจได้ยาก
17 แม้จะรู้ว่าการผ่อนสินค้าเกินก าลังจะทาให้แต่ละเดือนต้อง .487
อัตคัดขัดสน แต่ฉันไม่ลังเลที่จะซื้อสินค้านั้น
35 คุณยอมกระทาสิ่งที่ผิดกฎระเบียบเพื่อรักษาความสัมพันธ์กับเพื่อน .423
ค่า Eigenvalue 6.51 3.53 2.43 1.90 1.69 1.52 1.45 1.25 1.15
ค่าร้อยละความแปรปรวนที่อธิบายได้ (% of variance 18.0 9.82 6.75 5.29 4.69 4.24 4.03 3.46 3.20
explained) 8
ค่าร้อยละความแปรปรวนสะสม (% of cumulative variance 18.0 27.9 34.6 39.9 44.6 48.8 52.9 56.3 59.5
explained) 8 5 4 3 7 6 6
Cronbachs Alpha (ทั้งฉบับเท่ากับ 0.835) .841 .791 .767 .684 .564 .682 .610 .610 .594

จากนั้ น ผู้วิ จัย จึงแปลผล ให้ นิ ย าม และตั้งชื่อ ล่วงไป โดยอดทนอยู่กั บสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนกระทั่งสิ่งที่รอ


องค์ประกอบดังนี้ คอยมาถึง ประกอบด้วยข้อที่ 7, 8, 9, 10, 11, และ 12
องค์ ป ระกอบที่ 1 พลั ง ความมุ่ ง มั่ น ( will องค์ ป ระกอบที่ 3 ความอดทนต่ อ การอยาก
power) คือ สมรรถนะทางจิตใจที่มีความตั้งใจแน่ว แน่ รับประทานอาหาร (dietary restraint) ความสามารถ
ต่ อเป้ า หมาย แสดงออกโดยการควบคุม ความคิดและ ในการต่อต้านหรือหักห้ามใจต่อความอยากรับประทาน
พฤติกรรมตนเองได้ ประกอบด้วยข้อที่ 14, 40, 41, 42, อาหาร ประกอบด้วยข้อที่ 21, 22, 23, และ 24
43, และ 44 องค์ประกอบที่ 4 ความอดทนต่อสิ่งยั่วยุด้าน
องค์ประกอบที่ 2 ความสามารถรอได้ (waiting เพศ (sexual restraint) ความสามารถในการต่ อ ต้ า น
ability) คือ ความสามารถส่วนบุคคลที่ยอมให้เวลาผ่าน ห รื อ หั ก ห้ า ม ใ จ ที่ มี ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า ง เ พ ศ
ประกอบด้วยข้อที่ 28, 29, 30, และ 31

130
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

องค์ ประกอบที่ 5 การไม่ คานึ งถึงผลที่ ตามมา (α=.684), ด้ านที่ 5 การไม่ ค านึ งถึ งผลที่ ตามมา (α=.
(regardless of the consequences) คือ การหลีกเลี่ ยง 564), ด้ านที่ 6 ความอดทนอดกลั้ นเพื่ อผลสั มฤทธิ์ทาง
ที่ จ ะคิ ด ไม่ ค านึ ง ถึ ง หรื อขาดตระหนั กถึ ง ผลลั พ ธ์ อั น การศึกษา (α=.682) , ด้านที่ 7 ความอดทนอดกลั้นด้าน
สืบเนื่องจากการกระทาของตนในอนาคต ประกอบด้วยข้อ การเงิ น (α=.610), ด้ านที่ 8 ความอดทนอดกลั้ นเพื่ อ
ที่ 4, 5, 6, และ 18 ความสัมพันธ์ทางสังคม (α=.610), และด้านที่ 9 อคติส่วน
องค์ ป ระกอบที่ 6 ความอดทนอดกลั้ น เพื่ อ บุคคล (α=.594) โดยค่าความน่าเชื่อถือระหว่าง 0.50-
ผลสั มฤทธิ์ ทางการศึ กษา ( academic restraints) 0.70 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (Hinton, Brownlow,
ความสามารถในการต่ อต้านหรือหั กห้ามใจโดยเล็ งเห็ น McMurray, & Cozen, 2004)
ผลลัพธ์หรือให้ความสาคัญกับการศึกษา ประกอบด้วยข้อ
ที่ 48, 49, และ 50 การอภิปรายผล
องค์ ป ระกอบที่ 7 ความอดทนอดกลั้ น ด้ า น 1. ประเด็ นระหว่ า งแนวคิด พื้นฐานที่ ใ ช้ พั ฒ นาและ
การเงิน (financial restraint) คือความ สามารถในการหัก แบบวัดความยับยั้งชั่งใจ
ห้ า มใจเพื่ อ อดออมและเพื่ อ ความมั่ ง คั่ ง ด้ า นการเงิ น แบบวั ด ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจที่ พั ฒ นาขึ้ น ฉบั บ นี้
ประกอบด้วยข้อที่ 15, 19, และ 20 เกิดขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งนิยาม
องค์ ป ระกอบที่ 8 ความอดทนอดกลั้ น เพื่ อ เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารบนพื้ น ฐานงานวิ จั ย ต่ า ง ๆ แม้ ว่ า จะมี
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม ( social relationship การศึกษาเรื่องความยับยั้งชั่งใจมานานตั้งแต่ปี 1989 โดย
restraint) ความสามารถในการต่อต้านหรือหักห้ามใจ Walter Mischel และผู้ ร่วมงาน โดยท าการศึกษาอย่าง
เพื่อการคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ประกอบด้วย ต่อเนื่อง แต่ยังปัจจุบันไม่มีทฤษฎีเกี่ยวกับความยับยั้งชั่ง
ข้อที่ 36, 37, และ 38 ใจโดยตรง ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่ ความยั บยั้ งชั่ งใจมั กจะถู ก
องค์ ประกอบที่ 9 อคติ ส่ วนบุ คคล (personal อธิ บ ายโดยใช้ ท ฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ท างปั ญ ญา สั ง คม
bias) คื อความคิ ดโน้ มเอี ยงที่ เชื่ อว่ าการได้ รั บความพึ ง ( social cognitive theory) ข อ ง Albert Bandura
พอใจทันทีทันใดเป็นสิ่งมีคุณค่ามากกว่าการรอคอย และ (สมโภชน์ เอี่ ย มสุ ภ าษิ ต , 2556) เพื่ อ อธิ บ ายการ
ความเชื่ อ ว่ า ความอดทนอดกลั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ คุ้ ม ค่ า เปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมของมนุษย์ โดยผ่านแนวคิดของ
ประกอบด้วยข้อที่ 17, 34, และ 35 การก ากั บ ตนเอง (self-regulation) ที่ เ ชื่ อ ว่ า มนุ ษ ย์
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของแบบวัด สามารถท าบางสิ่ ง บางอย่ า งเพื่ อ ควบคุ ม ความคิ ด
ความยับยั้งชั่งใจ ความรู้สึก และการกระทาของตนเอง ด้วยผลกรรมที่เขา
การวิเคราะห์ ความน่ าเชื่ อถือด้ วยวิธี วิ เคราะห์ หามาเอง รวมถึงทฤษฎีในเชิงอาชญาวิทยาเช่น ทฤษฎีการ
สัมประสิทธิ์ความสอดคล้องภายในของแอลฟ่าครอนบาค ควบคุม (containment theory) ของ Reckless (อุ นิ ษา
ดังแสดงในตาราง 3 พบว่าแบบวัดความยับยั้งชั่งใจฉบับ เลิศโตมรกุล และอัณณพ ชูบารุง, 2561) ที่กล่าวถึงกลไก
เต็ ม มี ค่ า ความน่ า เชื่ อ ถื อ เท่ า กั บ .835 อยู่ ในเกณฑ์ ดี ในการควบคุมพฤติกรรมที่อ่อนแอ ไม่สามารถต่อต้านแรง
ส่วนในรายองค์ประกอบพบว่ามี 3 องค์ประกอบที่ มี ค่า กดดันภายนอก แรงดึงดูดจากภายนอก และแรงผลักดัน
ความน่าเชื่อถือในระดับดี ได้แก่ ด้านที่ 1 พลังความมุ่งมั่น จากภายใน เป็ น ที่ ม าของการกระท าผิ ด กฎหมาย
(α=.841), ด้านที่ 2 ความสามารถรอได้ (α=.791) และ ซึ่ งแนวคิดเกี่ ยวกับแรงผลั กดั นภายในตั วปั จเจกบุ ค คล
ด้านที่ 3 ความอดทนต่อความอยากรับประทานอาหาร ครอบคลุ ม ถึ ง ความสามารถในการควบคุ ม ตนเอง
(α=.767) ส่วนด้านที่มีความน่าเชื่อถือในระดับยอมรับได้ และความอดทนอดกลั้นเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงความยับยั้งชั่ง
มี 6 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 4 ความอดทนต่อสิ่งยั่วยุด้านเพศ ใจเช่นกัน นอกจากนี้ทฤษฎีเกี่ยวกับการยับยั้งชั่งใจเรื่อง

131
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

การกินและการจากัดอาหาร (restraint theory) เกิดขึ้น อ ด ท น อ ด ก ลั้ น เ พื่ อ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า


เพื่ อให้ ค าอธิ บ ายพฤติ ก รรมการกิ น การรั บ รู้ น้ าหนั ก (3) องค์ประกอบที่ 7 ความอดทนอดกลั้ นด้ านการเงิ น
และโครงสร้างทางสรีระในฐานะตัวทานายพฤติกรรมการ และ (4) องค์ ป ระกอบที่ 8 ความอดทนอดกลั้ น เพื่ อ
กิน และการจากัดอาหาร เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความ ความสัมพันธ์ทางสั งคม แสดงให้ เห็ นว่าองค์ประกอบที่
ยับยั้งชั่งใจของบุคคลและนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาขึ้นจากการวิจัยครั้งนี้เป็นชุดของรูปแบบพฤติกรรม
ดูแลพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคอ้วน (Ogdon, 1994) ที่เกี่ยวข้องกับความยับยั้งชั่งใจที่สะท้อนคุณลักษณะใน
จึงพิจารณาได้ว่าความยับยั้งชั่งใจมิได้ปรากฏ การยั บยั้ งชั่ งใจของปั จเจกบุ คคลในหลากบริบท ความ
ขึ้ น ในฐานะของทฤษฎี ร ะดั บ มหภาพที่ ใ ช้ อ ธิ บ ายได้ สอดคล้องต้องกันของแบบวัดที่พัฒนาขึ้นใหม่กับแบบวัด
โดยทั่วไป แต่ความยับยั้งชั่งใจถูกหลอมรวมอยู่ในแนวคิด DGI ที่ มี อยู่ เดิ มได้ สะท้อนถึงความยับยั้งชั่งใจออกมาใน
หรื อ ทฤษฎี ต ามบริ บ ทต่ า ง ๆ ของสั ง คมและการใช้ ตัวอย่างพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกันแม้ว่าจะพัฒนาขึ้นต่าง
ประโยชน์ เช่น ด้านสุขภาพ การเรียนรู้ การกิน อาชญา บริบททางสังคมวัฒนธรรม
วิทยา เป็นต้น ดังนั้นแบบวัดความยับยั้งชั่งใจที่ออกแบบ ส่ วนแบบวั ดความยั บยั้ งชั่ งใจที่ Liu, Wang, &
มาเพื่อวัดพฤติกรรมในหลากหลายบริบทย่อมสะท้อนถึง Jiang (2013) น ามาพั ฒ นาคื อ Generalizability of
คุ ณ ลั ก ษณะของความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ Deferment of Gratification Questionnaire (GDGQ) ที่
พฤติกรรมการดาเนินชีวิตในทุกด้าน พบว่าโครงสร้างของความยับยั้งชั่งใจประกอบไปด้วย 2
2. ประเด็นการเปรียบเทียบแบบวัดความยับยั้งชั่งใจ องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การควบคุมความหุนหันพลันแล่น
กับแบบวัดฉบับอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน (Controlling-Impulse) และ (2) การรอคอยกั บ การ
เมื่ อ เปรี ย บเที ย บแบบวั ด ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจที่ วางแผน (Planning and Waiting) ซึ่งทั้งสององค์ประกอบ
พัฒนาขึ้นกับแบบวัดอื่น ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เช่น สอดคล้ องกับโครงสร้างของแบบวั ดความยั บยั้ งชั่ งใจที่
Delaying Gratification Inventory (DGI) ของ Hoerger, พั ฒ นาขึ้ น ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ อ ยู่ 2 องค์ ป ระกอบ คื อ
Quirk & Weed (2011) ซึ่งเป็นแบบวัดความยับยั้งชั่งใจที่ (1) องค์ ป ระกอบที่ 2 ความสามารถรอได้ และ
ใช้กันอย่างกว้างในสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่น ๆ มีค่า (2) องค์ประกอบที่ 5 การไม่คานึงถึงผลที่ตามมา ดังนั้น
ความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาคเท่ากับ 0.91 การที่แบบวัดความยับยั้งชั่งใจในการวิจัยครั้งนี้สะท้อนถึง
อยู่ ในเกณฑ์ ดี มาก และเคยถูกน ามาแปลใช้ ในการวิ จั ย องค์ประกอบที่คล้ายคลึงกันในแบบวัด GDGQ ที่ถูกสร้าง
ระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย 1 เรื่อง คือการวิจัยเรื่อง ขึ้นต่างวัฒนธรรม จึงพอสรุปได้ว่าองค์ประกอบเหล่านี้มี
ผลการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีเกสตัลท์ต่อการยับยั้งชั่งใจ ความสาคัญและสามารถสะท้อนโครงสร้างของความยับยั้ง
ของเยาวชนที่กระทาผิดซ้า (ณัชชา ชุมช่วยเจริญ, 2554) ชั่งใจได้
แบบวัด DGI มีจานวน 35 ข้อ (ฉบับย่อมี 10 ข้อ) ประกอบ 3. ประเด็นคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาของแบบวัด
ไปด้ วยโครงสร้าง 5 ด้ าน ๆ ละ 7 ข้อ ได้ แก่ (1) ความ ความยับยั้งชั่งใจ
ยับยั้งชั่งใจด้านอาหาร (2) ความยับยั้งชั่งใจด้านสรีระ (3) ผู้ วิ จั ยหาค่ าความตรงเชิ ง เนื้ อหาของแบบวั ด
ความยั บยั้ งชั่ งใจด้ านสั งคม (4) ความยั บยั้ งชั่ งใจด้ าน ความยับยั้งชั่งใจ โดยการนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจไป
การเงิ น และ (5) ความยั บยั้ งชั่งใจด้านความส าเร็จ ใน ตรวจคุ ณภาพกั บผู้ เชี่ ยวชาญด้ านจิ ตวิ ทยาและจิ ตเวช
ประเด็นของความคล้ายคลึงพบว่ามี 4 องค์ประกอบใน ศาสตร์ รวม 5 ท่าน เพื่อพิจารณาความสอดคล้องแล้วนา
แบบวัดความยับยั้งชั่งใจที่พัฒนาขึ้นครั้งนี้ใกล้เคีย งกับ ผลการพิ จารณามาค านวณหาค่าดั ชนี ความสอดคล้ อง
มาตรวัด DGI ได้แก่ (1) องค์ประกอบที่ 3 ความอดทนต่อ พบว่าได้ข้อคาถามที่มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ จานวน 50 ข้อ
การอยากรับประทานอาหาร (2) องค์ประกอบที่ 6 ความ มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 ขึ้นไป และตัดทิ้งจานวน 7 ข้อ

132
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

เนื่ องจากแบบทดสอบที่ ถือว่ ามี ความตรงเชิ งเนื้ อหาใน การเป็ น นั กศึกษาที่ยั งไม่ มี รายได้ของตนเอง อาจเป็น
ระดับดีสามารถนาไปวัดผลได้ต้องมีค่า IOC เกินกว่า 0.5 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการยับยั้งชั่งใจ จึงอาจ
ขึ้นไป (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล, 2555) จากนั้นผู้วิจัยจึงทา กาหนดเป็นตัวแปรในการศึกษาครั้งต่ อไป นอกจากนี้
การปรับปรุงข้อคาถามตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ จึง ปั จ จั ย อื่ น ๆ เช่ น ปั ญ หาเชิ ง สุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิ ต
กล่าวได้ว่าข้อคาถามทั้ง 50 ข้อมีคุณภาพความสอดคล้อง ความสนใจ รวมทั้งความแตกต่างกันของบริบทเชิงสังคม
กับวัตถุประสงค์ถือว่ามีความตรงเชิงเนื้อหาสามารถนาไป และวัฒนธรรม อาจมีผลต่อความยับยั้งชั่งใจเช่นกัน
วัดความยับยั้งชั่งใจได้ โดยสรุป แบบวั ด ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจฉบั บ นี้มีค่า
ส่วนค่าความน่าเชื่อถือของแบบวัดความยับยั้ง ความตรงและค่าความน่าเชื่อถือที่ดีตามเกณฑ์ที่กาหนด
ชั่งใจโดยการคานวณสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค โดย ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติสาคัญของเครื่องมือวัดที่มีคุณภาพ
คะแนนรวมของแบบวั ดทั้ งฉบั บได้ ค่ า ความน่ า เชื่ อถื อ แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจใน
เท่ากับ .835 จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดี และค่าความน่าเชื่อถือ ครั้งนี้เป็นการพัฒนาในระยะเริ่มแรก จึงมีจุดที่ควรนามา
ของแบบวัดเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 พลังความมุ่งมั่น, ปรับปรุงพัฒนาต่อไป
ด้านที่ 2 ความสามารถรอได้, ด้านที่ 3 ความอดทนต่อการ
อยากรับประทานอาหาร มีค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ .841, ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย
.791, และ .767 ตามล าดั บ จั ดว่ ามี ความน่ าเชื่ อถือใน ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจเป็ น คุณ ลั ก ษณะที่ ส าคั ญ ใน
เกณฑ์ดีทั้ง 3 ด้าน ส่วนในแบบวัดรายด้านอื่น ๆ ได้แก่ การดาเนินชีวิต ดังจะเห็นได้จากข้อคาถามของแบบวัดที่
ด้านที่ 4 ความอดทนต่อสิ่งยั่วยุด้านเพศ, ด้านที่ 5 การไม่ สะท้อนความยับยั้งชั่งใจออกมาได้จากหลายกิจ กรรม
คานึงถึงผลที่ตามมา, ด้านที่ 6 ความอดทนอดกลั้ นเพื่ อ การใช้ชีวิต ทั้งการเรียน การสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา, ด้านที่ 7 ความอดทนอดกลั้น การกิน การดูแลสุขภาพ เป็นต้น ดังนั้นจึ งควรส่งเสริม
ด้ า นการเงิ น , ด้ า นที่ 8 ความอดทนอดกลั้ น เพื่ อ พัฒนาความยับยั้งชั่งใจตั้งแต่เป็นนักศึกษาผ่านโปรแกรม
ความสั มพั นธ์ ทางสั งคม, และด้ านที่ 9 อคติ ส่ วนบุ คคล ส่งเสริมพัฒนาทางจิตวิทยา และใช้แบบวัดความยับยั้ง
รวมจานวน 6 ด้านมีค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ .684, .564, ชั่งใจเป็นเครื่องมือในการประเมินระดับความยับยั้งชั่งใจ
.682, .610, .610, และ .594 ตามล าดั บ โดยค่ าความ จะเป็นประโยชน์ต่อการให้ความช่วยเหลือ การพัฒนา
น่าเชื่อถือระหว่าง 0.50-0.70 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับ แนวทางหรื อ โปรแกรมส่ ง เสริ ม พั ฒ นาศั ก ยภาพของ
ได้ (Hinton, Brownlow, McMurray, & Cozen, 2004) บุคคลต่อไป
ในด้ านข้ อจ ากั ดของการพั ฒนาแบบวั ดความ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป
ยับยั้งชั่งใจฉบับนี้ ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็น ควรน าแบบวั ด ความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจฉบั บ นี้ ไ ป
นักศึกษาที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และตอบแบบสอบถามผ่าน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันเพื่อตรวจสอบความตรง
ระบบออนไลน์ แม้ว่าลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ เชิงโครงสร้างของแบบวัด และพัฒนาคุณสมบัติของแบบ
นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคาแหงจะมีความหลากหลาย วั ด ในด้ า นอื่ น ๆ รวมทั้ ง การพั ฒ นาเกณฑ์ ม าตรฐาน
ทั้งสถานภาพการทางาน และอายุ แต่กลุ่มตัวอย่างส่วน ตลอดจนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริม
ใหญ่เป็นเพศหญิงจึงขาดความสมดุลเรื่องเพศ ส่วนด้าน ความยับยั้งชั่งใจตามบริบทที่เหมาะสมกับสภาพการณ์
การประกอบอาชีพ และการมีรายได้เป็นของตนเองกับ

133
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

รายการอ้างอิง
ณัชชา ชุนช่วยเจริญ. (2557). ผลการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีเกสตัลท์ต่อการยับยั้งชัง่ ใจของเยาวชนที่กระทาผิดซ้า.
วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย: คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสกสิทธิ์ สวรรยาธิปัติ. (2554). การกระทาผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตและร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและ
เยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล: การศึกษาวิจัยโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง. วิทยานิพนธ์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2556). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อุนิษา เลิศโตมรกุล และอัณณพ ชูบารุง. (2561). อาชญากรรมและอาชญาวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Cohen, I. S. (2017). The benefits of delaying gratification: Are you avoiding pain or living with purpose?.
Retrieved July 14, 2019, From https://www.psychology today.com/intl/blog/your-emotional-
meter/201712/the-benefits-delaying-gratification
Dawd, A. M. (2017). Delay of gratification: predictors and measurement issues. ActaPsychopathologica,
3,(S2:81) 1-7.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (seventh-
edition). Upper Saddle River, New Jersey: Pearson education
Herndon, J. S., Bembenutty, H. & Gregoire Gill, M. (2015). The role of delay of gratification, substance
abuse, and violent behavior on academic achievement of disciplinary alternative middle
school students. Personality and Individual Differences, 86, 44-49.
Hinton, P. R., Brownlow, C., McMurray, I., & Cozen, B. (2004). SPSS explained. London: Routledge
Hoerger, M., Quirk, S. W., & Weed, M. C. (2011). Development and validation of the Delaying
Gratification Inventory. Psychol Assess, 23(3), 725-738.
Kranenbarg, M. W., Holt, T. J., & Gelder, J. L. (2017). Offending and victimization in the digital age:
comparing correlates of cybercrime and traditional offending-only, victimization-only and the
victimization-offending overlap, Deviant Behavior, DOI: 10.1080/01639625.2017.1411030
Kumar, S. & Pareek, K. (2018). Role of ability to delay gratification and regulate emotions in
adolescents’ psychological well-being. Indian journal of positive psychology, 9(2), 215-218.
Liu, X., Wang, L. & Jiang, J. (2013). Generalizability of delay of gratification: dimensionality and function.
Psychological Reports, 113(2), 464-485.
Ogdon, J. (1994). Restraint theory and its implications for obesity treatment. Clinical psychology and
psychotherapy, 1(4), 191-201.

134
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยาฯ
ปีที 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง
.................................................................................................................................................................................................................

Yong, A G. & Pearce, S. (2013). A beginner’s guide to factor analysis: Focusing on exploratory factor
analysis. Tutorials in quantitative methods for psychology. 9(2), 79-94

135

You might also like