You are on page 1of 101

เอก

สาร
ประ
กอบก
ารส
อน
ราย
วช
ิาร
ะบบ
สง
กำ
ลง
ัเ
คร


ืงมอ

กลรหส2
ั 1
02-
21
10
หนว
ย
ท่
ี9

านค
ำนวณร
ะบบข

ัตว
ัส

กำ
ลง
ัเ
ครอ


งมอ

กลดว

ยสลก

เก
ลย
ีว

ลก
ัสต
ูร
ประ
กาศ
นย
ีบต
ัร
วช
ิา
ชพพ
ี ท
ุธศก

ราช2
556

นา
ยดำ
รงสพ
ัโส

.อ
.ม.
(
เคร


ืงก
ล)
วท
ิย
าลย

เทค
นค
ิทา
ห
ลวง
ซเ
ิม
นตไ

ทยอ
นส
ุรณ

ำนก

งาน
คณะกร
รมก
ารก
ารอา
ชว
ีศก

ษากร
ะทร
วงศก

ษาธ

ิาร
เอกสารประกอบการสอน
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

นายดํารง สัพโส
ค.อ.ม.(เครื่องกล)

วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ

คํานํา

การออกแบบการเรียนรูร ายวิชา ระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110 ระดับ


ประกาศนียบัตรวิชาชีพนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาทฤษฎีที่เนน
การคํานวณใหสามารถเรียนรูเพื่อใหเกิดการเรียนรูในรูปแบบใหม ทําใหผูเรียนมีกิจกรรมรวมตลอดเวลาใน
ลักษณะของผูเรียนเปนศูนยกลาง ตลอดจนไดเกิดแนวคิดในการนําไปประยุกตใชงานไดจริงกับ
ภาคอุตสาหกรรมหลังจบการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเรียนรูคือ ใบเนื้อหา แบบทดสอบกอนเรียน และ
หลังเรียน แบบฝกหัด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู วิธีการสรางชุดการสอนนี้เริ่มจากศึกษา
หลักสูตรรายวิชาคําอธิบายรายวิชา หนังสือตํารา ผูชํานาญงานในภาคอุตสาหกรรมใหคําแนะนํา และจาก
ประสบการณของผูสอนเอง พรอมทั้ง จากการสังเกตการณปฏิบัติงาน จากนั้นวิเคราะหออกมาเปนงาน
คํานวณ (Job Analysis) จํานวน 12 หนวยการเรียนรู โดยเรียงลําดับตามความยากงายและกลุมของ ระบบ
สงกําลังของเครื่องมือกล ซึ่งผูจัดทําหวังวาผูเรียนที่ผานการใชชุดการสอนดังกลา ว จะมีความกระตือรือรน
มากขึ้นจากการที่มีกิจกรรมรวมตลอดเวลา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน นอกจากนี้
คาดหวังใหผูเรียนยังสามารถนําไปใชงานไดจริงและสามารถนําไปปรับประยุกตใชไดตอไป

ดํารง สัพโส
สาขาวิชาชางกลโรงงาน
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ

โครงสรางการจัดการเรียนรู
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 2 หนวยกิต

1. สภาพรายวิชา
เปนรายวิชาเรียนแผนกชางกลโรงงาน สาขาเครื่องมือกล กลุมทักษะวิชาชีพเลือก หลักสูตรระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2. จุดประสงครายวิชา เพื่อให
1. เขาใจหลักการของระบบสงกําลังเครื่องมือกล
2. คํานวณการสงกําลังเครื่องมือกล
3. มีกิจนิสัยในการทํางานอยางมีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบตอตนเอง และสวนรวม

3. สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการ การคํานวณการสงกําลังเครื่องมือกล
2. ประยุกตการสงกําลังในงานเครื่องมือกล

4. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการทํางานของระบบสงกําลัง วิธีการสงกําลังของเครื่องมือกลแบบตางๆ เครื่อง
เจาะ เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องเจียระไน เครื่องกัด คํานวณการสงกําลัง

การจัดหนวยการเรียนรู
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 2 หนวยกิต

หนวยที่ ชื่อหนวยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง


1 งานคํานวณพื้นฐานระบบสงกําลังเครื่องมือกล 2
2 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยสายพาน 4
3 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยโซ 4
4 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเฟอง 4
5 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเพลา 4
6 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคลัตซ 2
7 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคัปปลิ้ง 2
8 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยลิ่ม 4
9 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว 4
10 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักอัด 2
11 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยลูกเบี้ยว 2
12 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยไฮดรอลิ กส 2
รวม 36

ตารางวิเคราะหหนวยการเรียนรู
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110 หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 2 หนวยกิต
ดานพุทธิพิสัย ดานทักษะพิสัย ดานจิตพิสัย

1. การเตรียมพรอม

1. ความรับผิดชอบ

จํานวนชั่วโมงสอน
1. ความรูความจํา

5. การประเมินคา

2. ความสนใจใฝรู
3. ปฏิบัติถูกตอง
2. การตอบสนอง

5. นําไปประยุกต

3. ความซื่อสัตย
4. การวิเคราะห

5. ความสามัคคี
3. การนําไปใช

4. ความมีวินัย
2. ความเขาใจ

4. มีทักษะ
งานคํานวณพื้นฐานระบบสงกําลังเครื่องมือกล                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยสายพาน                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยโซ                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเฟอง                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเพลา                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคลัตซ                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคัปปลิ้ง                2
งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยลิ่ม                4
งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว                4
งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักอัด                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยลูกเบี้ยว                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยไฮดรอลิ กส                2


คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ ใชประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชา ระบบสงกําลัง
เครื่องมือกล รหัสวิชา 2102 – 2110 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เปนแนวทางในการสอนของครู และ
เปนแนวทางการประกอบการเรียนของนักศึกษา ตลอดจนใชเปนแนวทางสําหรับผูที่สนใจในวิชาดังกลาว
โดยแบงออกเปน 12 หนวยการเรียนรู ในแตละหนวยกําหนดใหครูผูสอนและผูเรียนปฏิบัติดังนี้
คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน
1. ศึกษาเนื้อหาวิชาในแตละหนวยใหเขาใจกอนทําการสอนและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณตาง ๆ เพื่อใช
ในการเรียนการสอนตามที่ระบุไวในแผนการเรียนรูแตละหนวย
2. ดําเนินการสอนตามแผนการเรียนรูทุกหนวยใหครบ
3. การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรูในแตละหนวยมีสวนประกอบดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการนําสูบทเรียน (Motivation)
ขั้นตอนที่ 2 ใหรายระเอียดเนื้อหา (Information)
ขั้นตอนที่ 3 มอบหมายงาน (Application)
ขั้นตอนที่ 4 สรุปผลและประเมินผล (Progress)
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ผูสอนจะตองมีทักษะและความชํานาญในการอภิปรายและการสาธิต
อยางดี ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิผล
4. ผูสอนตองทําการทดสอบผูเรียนกอนเรียน
5. การสรุปบทเรียนในแตละหนวยดวยการใหผูเรียนทําแบบฝกหัด และผูสอนควรเฉลยแบบฝกหัด
รวมกับผูเรียนเพื่อใหรูถึงขอผิดพลาดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
6. หลังจากผูเรียนไดเรียนรูในแตละหนวยแลวใหผูสอนแจกแบบทดสอบหลังเรียนและทําการ
ประเมินผล

คําชี้แจงสําหรับผูเรียน
1. ผูเรียนควรศึกษาจุดประสงคการเรียนรู
2. ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนและตรวจสอบคําตอบในแบบเฉลยดวยความซื่อสัตยรวมกับ
ครูผูสอน
3. ผูเรียนรับฟงการบรรยายเนื้อหาจากครูผูสอนและจากเอกสารประกอบการสอนดวยความตั้งใจ
4. ผูเรียนทําแบบฝกหัดทายหนวยการเรียน และประเมินผลการทําแบบฝกหัดดวยตนเองรวมกับ
ผูครูสอน
5. ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และประเมินผลดวยความซื่อสัตยรวมกับผูครูสอน
6. หากผูเรียนมีปญหาจากการฟงเนื้อหาการบรรยาย สามารถสอบถามครูผูสอนไดทันที

การประเมินผล
ครูผูสอนประเมินผลจากกิจกรรมการเรียนการสอนดังนี้
1. จากขอสอบประเมินผลรายวิชากอนเรียนและหลังเรียน
2. จากแบบทดสอบประเมินผลกอนเรียนและหลังเรียนแตละหนวยการเรียนรู
3. จากใบงานที่มอบหมายใหผูเรียนทํา
4. จากแบบฝกหัดแตละหนวยการเรียน
เกณฑการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลไดกําหนดใหใชสัดสวนของคะแนนระหวางภาคตอคะแนนสอบปลายภาค
เทากับ 80 : 20 โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. คะแนนระหวางภาค 80 คะแนน
1.1 คะแนนจิตพิสัย 20 คะแนน
1.2 คะแนนงานตามกิจกรรมในแตละหนวย 60 คะแนน
2. คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน
3. เกณฑการประเมินผล
ใชเกณฑการประเมินผลแบบอิงเกณฑโดยแบงระดับดังนี้
80-100 คะแนน ระดับเกรด 4
75-79 คะแนน ระดับเกรด 3.5
70-74 คะแนน ระดับเกรด 3
65-69 คะแนน ระดับเกรด 2.5
60-64 คะแนน ระดับเกรด 2
55-59 คะแนน ระดับเกรด 1.5
50-54 คะแนน ระดับเกรด 1
0-49 คะแนน ระดับเกรด 0

สารบัญ
หนา
คํานํา ก
โครงสรางการจัดการเรียนรู ข
การจัดหนวยการเรียนรู ค
ตารางวิเคราะหหนวยการเรียนรู ง
คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการสอน จ
สารบัญ ช
สารบัญภาพ ฌ
สารบัญตาราง ฐ
สาระสําคัญ 1
วัตถุประสงคทั่วไป 2
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทฤษฏี 3
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานปฏิบัติ 4
แบบทดสอบกอนเรียน 5
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 12
หนวยที่ 9 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว.
1. หนาที่และการใชงานของสลักเกลียว (Tolerance) 13
2. กลไกการยึดแนนชิ้นงานของสลักเกลียว 15
3. ขอแตกตางระหวางเกลียวนําเลื่อนและเกลียวจับยึด 17
4. ประเภทของเกลียวและการใชงาน 18
5. อุปกรณปองกันความเสียของผิวชิ้นงานที่จับยึดดวยเกลียว 29
6. อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวแบบตาง ๆ 30
7. สัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว 31
8. การคํานวณหาขนาดสลักเกลียวขัดตัวสงกําลัง 33
9. การหาคาทอรคขันสลักเกลียว 36
10. การใชประแจทอรค 38
11. การขันสลักเกลียวบนหนาแปลน 38
12. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว 51
13. วิธีการคํานวณการขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว 52
14. การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 55

สารบัญ (ตอ)
หนา
15. การจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน 55
16. กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานขันยึดสลักเกลียว 56
แบบฝกหัด 57
เฉลยแบบฝกหัด 62
แบบทดสอบหลังเรียน 68
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 75
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน 76
ใบสั่งงาน 80
ใบประเมินผล 81
ตารางดัชนีแสดงประสิทธิผลการจัดการเรียนรู 82
บันทึกหลังการสอน 84
บรรณานุกรม 85

สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา
9.1 แสดงลักษณะรูปรางของสลักเกลียว 13
9.2 แสดงลักษณะการใชงานของสลักเกลียว 13
9.3 แสดงการใชงานของสลักเกลียวจับยึด 14
9.4 แสดงการใชงานของสลักเกลียวนําเลื่อน 14
9.5 แสดงการใชงานของสลักเกลียวปรับตั้งระยะหรือวัดระยะ 15
9.6 แสดงลักษณะการขันยึดแนนชิ้นงานของสลักเกลียว 15
9.7 แสดงลักษณะเกลียวเมื่อนํา 1 ระยะพิตมาคลี่ตัวจะไดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 16
9.8 แสดงแรงที่เกิดจากการบีบอัดทรงลิ่ม 16
9.9 แสดงทรงลิ่มของเกลียวเบงอัดชิ้นงาน 17
9.10 แสดงลักษณะพื้นเอียงของเกลียวนําเลื่อนที่มีคามุม ϕ 1 (phi) มาก 17
9.11 แสดงลักษณะพื้นเอียงของเกลียวนําเลื่อนที่มีคามุม ϕ 2 (phi) นอย 18
9.12 แสดงลักษณะของเกลียวนอก เกลียวใน 18
9.13 แสดงลักษณะของเกลียวซาย เกลียวขวา 19
9.14 แสดงลักษณะของเกลียวหยาบ เกลียวละเอียด 19
9.15 แสดงลักษณะเกลียวปากเดียวและ เกลียวหลายปาก 20
9.16 แสดงลักษณะเกลียวเมตริกยอดแหลม 20
9.17 แสดงลักษณะเกลียวทอวิตเวิรต 21
9.18 แสดงลักษณะเกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู 21
9.19 แสดงลักษณะเกลียวฟนเลื่อย 22
9.20 แสดงลักษณะเกลียวกลม 22
9.21 แสดงลักษณะสกรูหัวทรงกระบอกและทรงเรียว 23
9.22 แสดงลักษณะสกรูหัวทรงกลม 23
9.23 แสดงลักษณะสกรูหัวทรงเหลี่ยม 24
9.24 แสดงลักษณะสกรูเกลียวปรับ 24
9.25 แสดงลักษณะสลักเกลียวสตัด (Stud) 25
9.26 แสดงลักษณะสลักเกลียวสวมอัด 25
9.27 แสดงลักษณะสลักเกลียวปลอย 26
9.28 แสดงลักษณะสลักเกลียวลําตัวคอด 26
9.29 แสดงลักษณะจุกเกลียวแบบมีแปน 27

สารบัญภาพ (ตอ)
ภาพที่ หนา
9.30 แสดงลักษณะนัตหัวหกเหลี่ยมและนัตหัวมงกุฎ 27
9.31 แสดงลักษณะนัตหัวหมวกและแปนเกลียวมีรูหรือรองที่ขอบ 28
9.32 แสดงลักษณะนัตหัวพิมพลายและนัตหางปลา 28
9.33 แสดงลักษณะการใชแหวนรองกรณีชิ้นงานเปนวัสดุแข็ง 29
9.34 แสดงลักษณะการใชแหวนรองกรณีชิ้นงานเปนวัสดุออน 29
9.35 แสดงลักษณะอุปกรณปองกันการคลายตัวอาศัยแรงเสียดทาน 30
9.36 แสดงลักษณะอุปกรณปองกันการคลายตัวอาศัยการขัดตัว 30
9.37 แสดงการกําหนดสัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียวตามมาตรฐาน ISO 31
9.38 แสดงการกําหนดสัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียวตามมาตรฐาน SAE 32
9.39 แสดงสลักเกลียวยึดเฟองดอกจอกรับแรงเฉือน 33
9.40 แสดงลักษณะหนาแปลนคัปปลิ้งรับภาระแรงเฉือน 33
9.41 แสดงเฟองดอกจอกยึดติดกับหนาแปลนดวยโบลทอัด 34
9.42 แสดงลักษณะของประแจทอรค 38
9.43 แสดงลักษณะของหนาแปลน 38
9.44 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนกลมกรณีไมใชปะเก็น 39
9.45 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียกว รณีไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 50% 39
9.46 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียกว รณีไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 70% 40
9.47 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม ดวยสลักเกลียกรณี
ว ไมใชปะเก็นดวยคาทอรค100% 40
9.48 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีไมใชปะเก็น
ดวยคาทอรค 100% 41
9.49 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนกลมกรณีใชปะเก็น 41
9.50 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็นดวยคาทอรค 50% 42
9.51 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็นดวยคาทอรค 70% 42
9.52 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็นดวยคาทอรค 100% 43
9.53 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึดหนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็น
ดวยคาทอรค 100% 43
9.54 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณี
ไมใชปะเก็นแบบขันทะแยง 44

สารบัญภาพ (ตอ)
ภาพที่ หนา
9.55 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทแยงกรณี
ไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 50% 44
9.56 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทแยงกรณี
ไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 70% 45
9.57 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทแยงกรณี
ไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 100% 45
8.58 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวกรณี
ไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 100% 46
9.59 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบขัน
ทแยงกรณีใชปะเก็น 46
9.60 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทแยงกรณี
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 50% 47
9.61 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทแยงกรณี
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 70% 47
9.62 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทแยงกรณี
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 100% 48
9.63 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวกรณี
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 100% 48
9.64 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ
กนหอยทะแยงกรณีใชปะเก็น 49
9.65 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ
กนหอยดวยคาทอรค 50% 49
9.66 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ
กนหอยดวยคาทอรค 70% 50
9.67 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ
กนหอยดวยคาทอรค 100% 50
9.68 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวดวย
คาทอรค 100% 51
9.69 แสดงเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว 51

สารบัญภาพ (ตอ)
ภาพที่ หนา
9.70 แสดงการตรวจสอบจํานวนรูสําหรับรอยสลักเกลียวบนหนาแปลน 52
9.71 แสดงการวัดระยะรัศมีของรูรอยสลักเกลียวบนหนาแปลน 52
9.72 แสดงการตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานผิวสัมผัส 53
9.73 แสดงการตรวจสอบโมเมนตแรงบิดจากเทมเพลสมอเตอร 53
9.74 แสดงการกําหนดขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียวที่จะนํามาใช 54
9.75 แสดงลักษณะการคํานวณคาตาง ๆ ที่ตองการทราบ 54
9.76 แสดงลักษณะการบันทึกสรุปผลรายงานการปฏิบัติงาน 55
9.77 แสดงลักษณะการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน 55
9.78 แสดงการแขวนปายล็อกเมนสวิทยกอนการปฏิบัติงาน 56

สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
9.1 แสดงคาแรงขันเกลียวและโมเมนตบิดขันเกลียว 36
สาระสําคัญ หนาที่ : 1

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

สาระสําคัญ
1. หนาที่และการใชงานของสลักเกลียว
2. กลไกการยึดแนนชิ้นงานของสลักเกลียว
3. ขอแตกตางระหวางเกลียวจับยึดและเกลียวนําเลื่อน
4. ประเภทของเกลียวและการใชงาน
5. การใชงานอุปกรณปองกันความเสียของชิ้นงานที่จับยึดดวยเกลียว
6. การใชงานอุปกรณปองกันการคลายตัวแบบตางๆ
7. สัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว
8. การคํานวณหาขนาดสลักเกลียวในการขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
9. การหาคาทอรคขันสลักเกลียว
10. การใชประแจทอรค
11. การขันสลักเกลียวบนหนาแปลน
12. วิธีการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
13. การบันทึกรายงานผลการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
14. วิธีการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน
15. กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
วัตถุประสงคทั่วไป หนาที่ : 2

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

วัตถุประสงคทั่วไปของการเรียนรู
1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหนาที่และการใชงานของสลักเกลียว
2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกลไกการยึดแนนชิ้นงานของสลักเกลียว
3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับขอแตกตางระหวางเกลียวจับยึดและเกลียวนําเลื่อน
4. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของเกลียวและการใชงาน
5. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใชงานอุปกรณปองกันความเสียของชิ้นงานที่จับยึดดวยเกลียว
6. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใชงานอุปกรณปองกันการคลายตัวแบบตางๆ
7. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว
8. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังสลักเกลียว
9. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการเปดตารางหาคาทอรคขันสลักเกลียว
10. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การใชประแจทอรค
11. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ วิธีการขันสลักเกลียวบนหนาแปลน
12. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ วิธีการคํานวณการขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
13. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
14. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ วิธีการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน
15. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบอกกฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานขันยึดสลักเกลียว
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทฤษฏี หนาที่ : 3

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

TKL
Behavioral Objectives Remark
R A T
1. บอกหนาที่และการใชงานของสลักเกลียวได 
2. อธิบายกลไกการยึดแนนชิ้นงานของสลักเกลียวได 
3. อธิบายขอแตกตางระหวางเกลียวจับยึดและเกลียวนําเลื่อนได 
4. บอกประเภทของเกลียวและการใชงานได 
5. อธิบายการใชงานอุปกรณปองกันความเสียของชิ้นงานที่จับยึดดวยเกลียวได 
6. อธิบายการใชงานอุปกรณปองกันการคลายตัวแบบตางๆได 
7. อธิบายสัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียวได 
8. คํานวณหาขนาดสลักเกลียวในการขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลได 
9. อธิบายวิธีการหาคาทอรคขันสลักเกลียวได 
10. อธิบายการใชประแจทอรคได 
11. อธิบายวิธีการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนได 
12. อธิบายวิธีการคํานวณการขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียวได 
13. อธิบายการบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานได 
14. อธิบายการดูแลเครื่องมือและบริเวณปฏิบัติงานได 
15. บอกกฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานได 

TKL = Task Knowledge Level


R = Recalled A = Applied T = Transferred
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานปฏิบัติ หนาที่ : 4

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

TSL
Behavioral Objectives Remark
I C A
1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวย 
สลักเกลียวได
2. วัดคาทางเทคนิคที่ใชในการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียวได 
3. คํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียวได 
4. บันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานได 
5. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานได 
6. ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวย 
สลักเกลียวได

TSL = Task Skill Level


I = Imitation C = Control A = Automatism
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 5

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

คําสั่ง : จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับขอที่ถูกลงในกระดาษคําตอบที่แจกให เวลาที่กําหนด: 20 นาที


1. ขอใดไมใชหนาที่และการใชงานของสลักเกลียว
ก. ทําหนาที่จับยึดแนนชิ้นงาน ข. ทําหนาที่กําหนดความเที่ยงศูนย
ค. ทําหนาที่นําเลื่อนสงกําลัง ง. ทําหนาที่ปรับแตงตั้งระยะ
2. ขอใดอธิบายกลไกการยึดแนนของสลักเกลียวไดอยางถูกตอง
ก. การยึดแนนของสลักเกลียวอาศัยหลักการเบงอัดของพื้นที่เอียงบริเวณสันเกลียวนอกสันเกลียวใน
ข. การยึดแนนของสลักเกลียวคือแรงที่ทําหนาที่ไมใหแปนเกลียวหมุนบิดขณะใชงาน
ค. การยึดแนนของสลักเกลียวอาศัยแรงกดจากแรงขันตามแนวเสนตรงที่เกิดจากการขันประแจ
ง. การยึดแนนของสลักเกลียวคือแรงที่ทําหนาที่ไมใหสลักเกลียวหมุนบิดขณะใชงาน
3. ขอใดไมใชลักษณะของเกลียวนําเลื่อน
ก. แรงเลื่อนไถล(FH) จะมีคามาก ข. มุมphi มีคานอย
ค. แรงปฏิกิริยา(FN) จะมีคานอย ง. แรงเสียดทาน FRนอยกวาFH
4. ขอแตกตางระหวางเกลียวจับยึดและเกลียวนําเลื่อนคือขอใด
ก. เกลียวนําเลื่อนมีระยะพิตนอยกวาเกลียวจับยึด
ข. เกลียวนําเลื่อนมุมเอียงสันเกลียวจะมีคามากทําใหเลื่อนไถลยาก
ค. เกลียวจับยึดจะใหแรงจับยึดในแกนเกลียวนอยกวาเกลียวนําเลื่อน
ง. เกลียวจับยึดมุมเอียงสันเกลียวจะมีคานอยทําใหเกิดการล็อกตัวเอง
5. เกลียวยอดแหลมที่มีมุมยอดเกลียว 60 องศา นิยมใชกับงานลักษณะใด
ก. ใชกับงานทอน้ํา งานสุขภัณฑ ข. ใชเปนเกลียวจับยึดทั่วไป
ค. ใชเปนเกลียวขับเคลื่อน ง.ใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว
6. เกลียววิตเวิรตเหมาะสําหรับใชกับงานลักษณะใด
ก. ใชกับงานทอน้ํา งานสุขภัณฑ ข. ใชเปนเกลียวขับเคลื่อน
ค. ใชเปนเกลียวจับยึดทั่วไป ง. เกลียวปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
7. ขอใดคือการนําเกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูไปใชงานไดเหมาะสมกับงานมากที่สุด
ก. เกลียวจับยึดทั่วไป ข. เกลียวปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
ค. เกลียวใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว ง. เกลียวนําเลื่อนสงกําลังของเครื่องกลึง
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 6

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

8. ขอใดคือการนําเกลียวฟนเลื่อยไปใชงานไดเหมาะสมกับงานมากที่สุด
ก. เกลียวจับยึดทั่วไป ข. เกลียวปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
ค. เกลียวใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว ง. เกลียวนําเลื่อนสงกําลังของเครื่องกลึง
9. ขอใดคือการนําเกลียวกลมไปใชงานไดเหมาะสมกับงานมากที่สุด
ก. เกลียวนําเลื่อนสงกําลังของเครื่องกลึง ข. ปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
ค. เกลียวใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว ง. ใชเปนเกลียวจับยึดทั่วไป
10. สัญลักษณเกลียวในขอใดหมายถึงเกลียวเมตริกยอดแหลม
ก. G4 ข. Tr24 X 5
ค. S12X3 ง. M10 X 1.5
11. ขอใดอธิบายถึงการใชงานเกลียวสตัดกับวัสดุงานที่เปนเหล็กกลาไดอยางถูกตอง
ก. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 1d
ข. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 1.25d
ค. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 1.5d
ง. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 2d
12. สลักเกลียวไมมีหัวหรือเกลียวปรับเหมาะกับการใชงานประเภทใด
ก. ทําหนาที่รักษาศูนยของชิ้นงานและรับแรงเฉือนตามแนวขวาง
ข. งานที่ตองการถอด เขา-ออกบอยครั้งเพื่อปองกันเกลียวของนัตชํารุด
ค. งานจับยึดทั่ว ๆ ไป
ง. งานที่ตองการยึดพูเลยหรือปลอกแหวนใหติดแนนกับเพลา
13. สลักเกลียวที่เหมาะสมกับงานจับยึดในลักษณะฝงหัวจมคือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 7

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

14. นัตที่ใชจับยึดชิ้นงานล็อกแนนกันคลายดวยสลักคือขอใด
ก. ข.

ค. ง.

15 อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวที่ไมเหมาะกับวัสดุงานออนคือขอใด
ก. นัตล็อกสองตัว ข. นัตสปริง
ค. แผนโลหะพับ ง. แหวนสปริงผารอง
16. การปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวแบบนัตล็อกสองตัวขอใดจัดลําดับไดอยางถูกตอง
ก. แหวนรอง- นัตตัวบาง-นัตตัวหนา ข. แหวนรอง-นัตตัวหนา-นัตตัวบาง
ค. นัตตัวบาง-แหวนรอง- นัตตัวหนา ง. นัตตัวหนา-แหวนรอง-นัตตัวบาง
17. อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวอาศัยการขัดตัวคือขอใด
ก. นัตสปริง ข. นัตพลาสติกกันคลาย
ค. แหวนสปริงผารอง ง. นัตผารองพรอมสปทพิน
18. อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวที่อาศัยความฝดคือขอใด
ก. นัตผารองพรอมสปทพิน ข. แผนโลหะพับขัดตัว
ค. แหวนสปริงวงปด ง. ลวดผูกล็อกหัวนัต
19. คุณสมบัติเชิงกลที่สําคัญของวัสดุทําสลักเกลียวที่ตองมีการระบุหรือกํากับไว ขอใดคือ
ก. คาทนความเคนแรงดึง ข. คาทนความเคนแรงดัด
ค. คาทนความเคนแรงบิด ง. คาทนความเคนแรงกด
20. สลักเกลียวที่หัวกําหนดเลข 8.8 จะมีคาทนความเคนแรงดึงที่จุดครากตัว (σy) และคาทนความเคน
แรงดึงสูงสุด(σu)เทากับเทาใด
ก. σy = 800 N/mm² σu = 640 N/mm² ข. σy = 800 N/mm² σu = 600 N/mm²
ค. σy = 600 N/mm² σu = 800 N/mm² ง. σy = 640 N/mm² σu = 800 N/mm²
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 8

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

21. เฟองดอกจอกยึดติดกับหนาแปลนเหล็กหลอดวยโบลทอัด ชั้นความแข็งแรง 8.8 จํานวน 3 ตัว


ซึ่งสงถายกําลังได 250 N m กําหนดคาสัมประสิทธแรงเสียดทาน 0.12 และคาความปลอดภัย 2

จงคํานวณแรงขนาดเกลียวนําและโมเนตบิดขันเกลียว

ก. Fv = 17361.11 N , MA= 23.1 N m • ข. Fv = 23.1 N , MA= 17361.11 N m•

ค. Fv = 17.36 kN , MA= 23.1 N m


• ง. Fv = 23.1 kN , MA= 17.36 N m

22. หนาแปลนเหล็กกลายึดติดสงกําลังดวยสตัดจํานวน 8 ตัว ชั้นความแข็งแรง 8.8 สงถายกําลังได


1,200 N m กําหนดคาสัมประสิทธแรงเสียดทาน 0.14 คาความปลอดภัย 3 จงคํานวณขนาดของสตัด

ที่ใชในการจับยึด

ก. M6 ข. M8
ค. M10 ง. M12
23.โบลทดังภาพขนาด M20 มีขั้นความแข็งแรง 8.8 ถูกขันยึดชิ้นงานดวยประแจทอรคมีคาสัมประสิทธิ์
ความฝดผิวงาน 0.12 จากขอกําหนดขางตน จงเปดตาราง(หนาที่ 11 ) เพื่อหาคาแรงจับยึดในแกน
เกลียวจะมีคา
ก. 131 kN ข. 121 kN
ค. 117 kN ง. 186 kN
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 9

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

24. โบลทขนาด M16 มีขั้นความแข็งแรง 8.8 ถูกขันยึดชิ้นงานดวยประแจทอรคมีคาสัมประสิทธิ์


ความฝดผิวงาน 0.08 จากตาราง(หนาที่ 11 ) หาคาแรงจับยึดในแกนเกลียวจะมีคาเทาใด
ก. 81 N m
• ข. 147 N m•

ค.194 N m • ง. 214 N m•

25. การเรียงลําดับขั้นตอนการใชประแจทอรคในขอใดถูกตอง
1. ตรวจสอบขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว 2. ล็อกคาทอรคตามที่ตั้งไว
3. เปดตารางคาทอรคขันสลักเกลียว 4. ปรับตั้งคาทอรคบนปลอกตามขีดสเกล
ก. 1 – 3 – 4 – 2 ข. 1 – 4 – 3 – 2
ค. 1 – 2 – 4 – 3 ง. 1 – 2 – 3 – 4
26. ขอใดแสดงการกําหนดหมายเลขเพื่อเรียงลําดับการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนกลมกรณีไมใช
ปะเก็นรองไดถูกตอง

ก. ข.

ค. ง.
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 10

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

27. ขอใดแสดงการกําหนดหมายเลขเพื่อเรียงลําดับการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณี
ใชปะเก็นรองไดถูกตอง

ก. ข.

ค. ง.

28. ขอใดไมจําเปนตองทําการบันทึกเพื่อรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลัง
เครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
ก. ขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว ข. ขนาดของแรงขันประแจทอรคดวยคาทอรค
ค. หมายเลขลําดับขั้นการขันสลักเกลียว ง. ขนาดของประแจขันสลักเกลียว
29. ขอใดคือการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
ดวยสลักเกลียวไดอยางถูกตอง
ก. เก็บเครื่องมืออุปกรณเขาตูโดยแยกเครื่องมือที่มีคมตัดออกจากเครื่องมือวัดขนาด
ข. ใชน้ําลางคราบน้ํามันที่หกพื้นเพื่อทําความสะอาด
ค. ใชเศษผาเช็ดทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณที่เปอนน้ํามัน
ง. ชโลมน้ํามันเครื่องมืออุปกรณที่เปนเหล็กเพื่อปองกันสนิม
30. ขอใดคือสิ่งแรกที่ควรกระทําดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลัง
เครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
ก. ใสถุงมือกอนการปฏิบัติงานทุกครั้ง ข. ปดเมนสวิทยเครื่องจักรกอนทํางาน
ค. แขวนปายล็อกเมนสวิทย ง. สวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล
แบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 11

หนวยที่ 9: งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ตารางที่ 8.1 แสดงคาแรงขันเกลียวและโมเมนตบิดขันเกลียว


เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 12

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

แบบเฉลยขอทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี
ขอที่ คําตอบ ขอที่ คําตอบ
1 ข 16 ก
2 ก 17 ง
3 ข 18 ค
4 ง 19 ก
5 ข 20 ง
6 ก 21 ค
7 ง 22 ค
8 ค 23 ข
9 ข 24 ก
10 ง 25 ก
11 ก 26 ข
12 ง 27 ก
13 ข 28 ง
14 ค 29 ข
15 ข 30 ค
ใบเนื้อหา หนาที่ : 13
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

การประกอบชิ้นสวนเครื่องจักรกลสองชิ้น
ใหติดกัน เพื่อใหสามารถทําการถอดและประกอบ
ไดงาย ซึ่งการจับยึดแบบนี้เรียกวาเปนการจับยึด
แบบชั่วคราวโดยสวนใหญจะใชชิ้นสวนที่เรียกวา
“สกรู นัต หรือโบลต” ในการจับยึด

ภาพที่ 9.1 แสดงลักษณะรูปรางของสลักเกลียว


(ที่มา: http://www.power-transmissions.com)

1. หนาที่และการใชงานของสลักเกลียว
สลักเกลียวเปนชิ้นสวนทางกลพื้นฐาน
ที่ทําหนาที่จับยึดชิ้นงานโดยอาศัยแรงบีบอัด และยัง
สามารถถอดประกอบเขาออกไดโดยชิ้นงานไม เกิด
ความเสียหาย จึงเหมาะสําหรับกับจุดหรือบริเวณ
ของเครื่องจักรที่ตองการถอดประกอบเพื่อทําการ
ซอมบํารุง
นอกจากนั้นสลักเกลียวยังทําหนาที่ตาง ๆ
ดังนี้
ภาพที่ 9.2 แสดงลักษณะการใชงานของสลักเกลียว 1. จับยึดชิ้นงานใหแนน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559) 2. สงกําลังหรือนําเลื่อน
3. ปรับตั้งระยะ
ใบเนื้อหา หนาที่ : 14
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

1.1 จับยึดชิ้นงานแนน (Fastening)


การจับยึดชิ้นงานแนน โดยใชสลักเกลียวบีบ
ประสานและยึดชิ้นงานใหแนน ซึ่งโดยปกติรูปทรง
เกลียวที่ใชงานลักษณะนี้มักเปนเกลียวทรงวียอด
แหลม

ภาพที่ 9.3 แสดงการใชงานของสลักเกลียวจับยึด


(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

1.2 สงกําลังหรือนําเลื่อน (Transmission)


เกลียวสงกําลังหรือนําเลื่อน (Transmission)
การทํางานของเกลียวเปนการเปลี่ยนการเคลื่อนที่
แบบหมุนรอบวงไปเปนการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง
ตัวอยางเชน เกลียวนําเลื่อนของเครื่องกัดเครื่องกลึง
ปากกาจับงานหรือแทนเพรส

ภาพที่ 9.4 แสดงการใชงานของสลักเกลียว


นําเลื่อน
(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 15
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

1.3 ปรับตัง้ ระยะ (Adjusting)


ปรับตั้งระยะ ลักษณะการใชงานของเกลียว
นี้ไดแก เกลียวของแกนวัดไมโครมิเตอร

ภาพที่ 9.5 แสดงการใชงานของสลักเกลียว


ปรับตั้งระยะหรือวัดระยะ
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง.2543 : 5)

2. กลไกการยึดแนนชิ้นงานของสลักเกลียว
ในการยึดประสานชิ้นงานดวยสลักเกลียว
จําเปนตองออกแรงบีบและกดใหชิ้นงานอัดแนนเขา
ดวยกันจนชิ้นงานถูกบีบ หรือเรียกวา “เกิดแรงฝด”
(Friction Force) ยึดชิ้นงานไดอยางมั่นคง วิธีการ
ทําใหเกิดแรงความฝดดังกลาว มีขั้นตอนดังนี้
1. ออกแรงขันที่ดามประแจ โดยอาศัย
หลักการทดแรงของโมเมนต
2. แรงขันจากประแจ ทําใหเกิดการขยาย
ภาพที่ 9.6 แสดงลักษณะการขันยึดแนนชิ้นงาน
แรงขันบิด บนสันเกลียวบีบอัดชิ้นงานซึ่งจะเกิดแรง
ของสลักเกลียว
จับไดดังนี้
(ที่มา : อําพล ซื่อตรง.2545 : 9)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 16
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

สภาพแรงจับยึดในสันเกลียว เพื่อใหงายตอ
การทําความเขาใจใหนําชวงเกลียว 1 ระยะพิต
มาคลี่ตัวออก จะปรากฏเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ภาพที่ 9.7 แสดงลักษณะเกลียวเมื่อนํา 1 ระยะพิต หรือทรงลิ่ม
มาคลี่ตัวจะไดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
(ที่มา : Richard G. Budynas และ J.Keith
Nisbett.2014 : 415)
เมื่อออกแรงขันตามแนวเสนรอบวง จะทําใหเกิด
แรงเบงจับยึดชิ้นงาน ซี่งสามารถแสดงขนาดแรง
โดยอาศัยการสรางรูปสี่เหลี่ยมดานขนานแทนแรง
จะทําใหเกิดแรงตาง ๆ ตามมา คือ
1. แรงกิริยา (FN) เอียงทํามุมฉากกับเสน
เกลียวหรือผิวเอียงของลิ่ม ซึ่งก็คือบริเวณผิวสัมผัส
ของนัตกับเกลียวนอกทําใหเกิดแรงเสียดทานสูงมาก
ทําหนาที่เบงอัดใหนัตและเกลียวแนบสนิทกัน
และปองกันเกลียวคลายตัวเมื่อมีแรงสั่นสะเทือน
2. แรงจับยึดชิ้นงาน (FV) มีทิศทางกระทํา
ตามแนวแกนของสลักเกลียว ทําหนาที่ปองกัน
ไมใหสลักเกลียวเกิดการหมุนบิดขณะใชงานและ
เกิดแรงดึงขึ้นในสลักเกลียว ตลอดจนบีบอัดให
ภาพที่ 9.8 แสดงแรงที่เกิดจากการบีบอัดทรงลิ่ม ชิ้นงานยึดแนนเขาดวยกัน
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 7)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 17
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ดังนั้นการจับยึดชิ้นงานดวยสลักเกลียว
จึงอาศัยหลักการเบงอัดของพื้นที่เอียง หรือทรงลิ่ม
บริเวณสันเกลียวนอกและสันเกลียวใน ทรงลิ่ม
ไดรับแรงอัดจากแรงขันตามแนวเสนรอบวง ที่เกิด
จากการขันประแจ แลวเกิดแรงกระจายเบงอัด
บริเวณนัตและหัวโบลต ทําใหชิ้นงานทั้งสองชิ้นถูก
ภาพที่ 9.9 แสดงทรงลิ่มของเกลียวเบงอัดชิ้นงาน บีบอัดแนนเขาดวยกัน
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 6)

3. ขอแตกตางระหวางเกลียวนําเลื่อนและเกลียว
จับยึด
การจับยึดชิ้นงานเกิดจากแรงขันตามแนว
เสนรอบวง โดยขนาดของแรงจับยึดชิ้นงานจะแปร
ไปตามขนาดความโตของมุมชันสันเกลียว ดังนั้น
การนําเกลียวไปใชเพื่อนําเลื่อนและจับยึดจึงมี
ความแตกตางดังนี้

เกลียวนําเลื่อน จะมีลักษณะดังนี้
- มุมphi มีคามาก
ภาพที่ 9.10 แสดงลักษณะพื้นเอียงของเกลียวนํา - แรงเลื่อนไถลจะมีคามาก
เลื่อนที่มีคามุมϕ 1 (phi) มาก - แรงปฏิกิริยาจะมีคานอย
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 7) - แรงเสียดทานนอยกวาแรงเลื่อนไถล
จึงไมเกิดการล็อกตัวเอง สามารถเลื่อนไถลไดสะดวก
ใบเนื้อหา หนาที่ : 18
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

เกลียวจับยึด จะมีลักษณะดังนี้
- มุมphi มีคานอย
- แรงเลื่อนไถลจะมีคานอย
- แรงปฏิกิริยา จะมีคามาก
- เกิดแรงเสียดทานมากกวาแรงเลื่อนไถล
- จึงทําใหเกิดการล็อกตัวเองได ไมคลายตัว
เมื่อมีแรงเพียงเล็กนอยมากระทํา เชนแรงสั่นสะเทือน
ภาพที่ 9.11 แสดงลักษณะพื้นเอียงของเกลียวนํา
เลื่อนที่มีคามุมϕ 2 (phi) นอย
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 7)

4.ประเภทของเกลียวและการใชงาน
การแบงประเภทของเกลียวสามารถแบงได
หลายลักษณะดังนี้
4.1 แบงตามตําแหนงเกลียว
เกลียวนอก การแบงประเภทของเกลียวตามตําแหนง
เกลียวสามารถไดดังนี้
4.1.1 เกลียวนอก (เกลียวตัวผู) คือ
เกลียวจะวนรอบแทงทรงกระบอกโดยมีระยะหาง
ของรองหรือสันที่เทา ๆ กัน
เกลียวใน 4.1.2 เกลียวใน (เกลียวตัวเมีย) คือ
ภาพที่ 9.12 แสดงลักษณะของเกลียวนอก เกลียวใน เกลียวจะอยูภายในรู หรือเรียกอีกอยางชื่อหนึ่งวา
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559) แปนเกลียว
ใบเนื้อหา หนาที่ : 19
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.2 แบงตามทิศทางการหมุน
การแบงประเภทของเกลียวตามทิศทาง
การหมุนสามารถแบงไดดังนี้
4.2.1. เกลียวหมุนขวา (RH) เปนเกลียว
ที่หมุนเขาในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ซึ่งเปนเกลียวที่
ใชงานปกติทั่วไป
4.1.2. เกลียวหมุนซาย (LH) เปนเกลียว
ที่หมุนเขาในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ลักษณะการใช
งานเกลียวซายไดแก เกลียวหมุนของ Turn Buckle
ภาพที่ 9.13 แสดงลักษณะของเกลียวซาย เกลียวขวา เกลียวขอตอหัวถังแกสเชื้อเพลิง ซึ่งจะเปนเกลียว
(ที่มา : ไอนริช เกรลิงค. 2518 : 185) ซายเสมอ

4.3 แบงตามระยะพิตเกลียว
การแบงประเภทของเกลียวตามระยะพิต
สามารถแบงไดดังนี้
4.3.1 เกลียวหยาบ (เกลียวปกติ) ใชงาน
ทั่วไป
4.3.2 เกลียวละเอียด ใชจับยึดชิ้นงานที่
ดานเกลียวปกติ ดานเกลียวละเอียด ตองการแรงจับยึดมากกวาเกลียวปกติ และใชกับงาน
ที่ตองการปรับแตงระยะเคลื่อนที่อยางละเอียด หรือ
ภาพที่ 9.14 แสดงลักษณะของเกลียวหยาบ บริเวณที่แรงสั่นสะเทือนสูง
เกลียวละเอียด
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 10)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 20
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.4 แบงตามจํานวนปากเกลียว
การแบงประเภทของเกลียวตามจํานวนปาก
เกลียวสามารถแบงไดดังนี้
4.4.1 เกลียวปากเดียว หมายถึงเกลียวที่
หมุนครบ 1 รอบแลวแกนเกลียวเคลื่อนที่ไดเทากับ
1 ระยะพิต
4.4 2 เกลียวหลายปาก หมายถึงเกลียว
เกลียวปากเดียว เกลียวหลายปาก ที่หมุนครบ 1 รอบ แกนเกลียวเคลื่อนที่ไดมากกวา
ภาพที่ 9.15 แสดงลักษณะเกลียวปากเดียวและ 1 ระยะพิต เชนเกลียว 3 ปากจะเคลื่อนที่ไดเปน 3
เกลียวหลายปาก เทาของระยะพิต
(ที่มา : http://cadcam-knowledge.blogspot.com)

4.5 แบงตามรูปทรงเกลียว
การแบงประเภทของเกลียวตามรูปทรง
เกลียวสามารถแบงไดดังนี้
4.5.1 เกลียวเมตริกยอดแหลม
(International Metric Thread)
เปนเกลียวที่มีมุมรวมยอดเกลียว 60 องศา
เปนเกลียวที่ใชกันอยางแพรหลาย เหมาะเปนเกลียว
ภาพที่ 9.16 แสดงลักษณะเกลียวเมตริก จับยึดทั่ว ๆ ไป การระบุขนาดเกลียวใชสัญลักษณ M
ยอดแหลม แลวตามดวยขนาดความโตเกลียว เชน M12
(ที่มา : : ไอนริช เกรลิงค. 2518 : 187)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 21
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.5.2 เกลียวทอวิตเวิรต
(Whitworth Thread)
เปนเกลียวยอดแหลมในระบบอังกฤษ
มีมุมรวมยอดเกลียว 55 องศา นิยมใชกับงานทอ น้ํา
งานสุขภัณฑ ขอตอเกลียวทอ การระบุขนาดเกลียว
ใชสัญลักษณ G แลวตามดวยจํานวนยอดฟนเกลียว
ภาพที่ 9.17 แสดงลักษณะเกลียวทอ ตอความยาว 1 นิ้ว เชน G6
วิตเวิรต
(ที่มา : : ไอนริช เกรลิงค. 2518 : 187)

4.5.3 เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู
(American National Acme Thread)
เปนเกลียวที่มีมุมรวมยอดเกลียว30 องศา
โดยเกลียวจะมีแรงเสียดทานที่ผิวดานขางนอยกวา
เกลียวยอดเกลียว ซึ่งนิยมใชเปนเกลียว ขับเคลื่อน
เชน เกลียวสปนเดิลเครื่องกลึง การระบุขนาด
เกลียวใชสัญลักษณ Tr แลวตามดวยขนาดความโต
เกลียว เชน Tr24
ภาพที่ 9.18 แสดงลักษณะเกลียวสี่เหลี่ยมคางหมู
(ที่มา : : ไอนริช เกรลิงค. 2518 : 188)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 22
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.5.4 เกลียวฟนเลื่อย
(Buttress Thread)
เปนเกลียวมีมุมรวมยอดเกลียว 30 องศา
โดยเกลียวจะมีรูปทรงที่ไมสมมาตร จึงนิยมใชกับงาน
ลักษณะสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว เชน
เกลียวจับยึดชิ้นงานของปากกาจับงาน การระบุ
ขนาดเกลียวใชสัญลักษณ S แลวตามดวยขนาด
ภาพที่ 9.19 แสดงลักษณะเกลียวฟนเลื่อย ความโตเกลียว เชน S24
(ที่มา : : ไอนริช เกรลิงค. 2518 : 188)

4.5.5 เกลียวกลม (Round Thread)


ลักษณะเกลียวมียอดเกลียวมนโคง มีมุม
รวมยอดเกลียว 30 องศา ซึ่งเหมาะกับทําเปนเกลียว
ปดภาชนะบรรจุภัณฑ เชน ขวดน้ํา หรือเกลียวขั้ว
หลอดไฟ การระบุขนาดเกลียวใชสัญลักษณ Rd
แลวตามดวยขนาดความโตเกลียว เชน Rd 24

ภาพที่ 9.20 แสดงลักษณะเกลียวกลม


(ที่มา : : ไอนริช เกรลิงค. 2518 : 188)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 23
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.6 แบงตามรูปทรงหัวสกรู (Head form)


การแบงประเภทของเกลียวตามรูปทรงหัว
หัวฝงทรงกระบอก (DIN EN ISO 4762) สกรูสามารถแบงไดดังนี้
4.6.1 หัวฝงทรงกระบอกและทรงเรียว
ใชจับยึดชิ้นงานบริเวณซอกมุม หรือ
บริเวณที่ไมสะดวกตอการใชประแจขันหรือบริเวณที่
ไมตองการใหปรากฏหัวสกรูเหนือผิวงานโดยทําการ
หัวฝงทรงเรียว (DIN EN ISO 7046-1)
ผายปากรูแลวฝงสกรูลงในเนื้อชิ้นงาน
ภาพที่ 9.21 แสดงลักษณะสกรูหัวทรงกระบอก
และทรงเรียว
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

หัวกลมรองตรง หัวเรียวรองตรง
4.6.2 หัวทรงกลม
(DIN EN ISO 1207) (DIN EN ISO 2009)
เปนสลักเกลียวขนาดเล็กบริเวณหัวจะ
ผารองตรงหรือรองแฉกใชจับยึดชิ้นงานขนาดเล็กมี
หลายรูปทรง เชน หัวกลมรองตรง หัวเรียวรองตรง
หัวโคงมนรองตรง
หัวโคงมนรองตรง
(DIN EN ISO 2010)
ภาพที่ 9.22 แสดงลักษณะสกรูหัวทรงกลม
(ที่มา : Richard G. Budynas และ J.Keith
Nisbett.2014 : 424)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 24
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

หัวหกเหลี่ยม หัวหกเหลี่ยมพรอมแปน
(DIN EN ISO 4017) (DIN 6921) 4.6.3 หัวทรงเหลี่ยม
ใชจับยึดชิ้นงานทั่วไป มีหลายรูปทรง
เชน หัวหกเหลี่ยม หัวหกเหลี่ยมพรอมแปน
หัวสี่เหลี่ยม

หัวสี่เหลี่ยม(DIN 478)
ภาพที่ 9.23 แสดงลักษณะสกรูหัวทรงเหลี่ยม
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 7)

4.7 แบงตามรูปทรงลําตัว (Body form )


ปลายลบมุม 45◦ ปลายทรงมน การแบงประเภทของเกลียวตามรูปทรง
(DIN 913) (DIN 914) ลําตัวสามารถแบงไดดังนี้
4.7.1 สลักเกลียวปรับ (set screw)
เปนสลักเกลียวที่ไมมีหัวมีเกลียวตลอดลําตัวใชยึด
ตําแหนงชิ้นงาน เชน พูลเลยหรือปลอกแหวนของ
แบริ่งใหติดกับเพลา ปลายเกลียวมีหลายลักษณะ
ปลายกระบอก ปลายเรียว เชน ปลายลบมุม 45◦ ปลายทรงกระบอก ปลายมน
(DIN 915) (DIN 916) ปลายเรียว
ภาพที่ 9.24 แสดงลักษณะสกรูเกลียวปรับ
(ทีม่ า : ดํารง สัพโส. 2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 25
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.7.2 สลักเกลียวสตัด (stud)


สลักเกลียวสตัด (stud) เปนสลักเกลียว
ไมมีหัวใชกับงานที่ตองการถอด เขา-ออกบอยครั้ง
เพื่อปองกันเกลียวของนัตชํารุด เชน เกลียวบริเวณ
ตัวเรือนมอเตอร โดยที่ระยะเกลียวสั้น (ระยะe) จะ
ขันจมในเนื้องาน ซึ่งการขันจมของสลักเกลียวจะมี
คาตางๆคือ
อลูมิเนียม e = 2d
เหล็กหลอ e = 1.25d
เหล็กกลา e = 1d
ภาพที่ 9.25 แสดงลักษณะสลักเกลียวสตัด (Stud)
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4.7.3 สลักเกลียวสวมอัด
(Tight fit screw)
สลักเกลียวสวมอัด ลําตัวสวมอัดกับรู
ชิ้นงานเพื่อทําหนาที่รักษาศูนยของชิ้นงานและ
รับแรงเฉือนตามแนวขวาง ซึ่งจะตองไมมีระยะ คลอน
บริเวณรอยตอ เพราะอาจจะถูกเฉือนขาดไดขณะ
สงถายกําลัง ผิวของรูจะตองผานการควา นรูเรียบ
ภาพที่ 9.26 แสดงลักษณะสลักเกลียวสวมอัด หรือรีมเมอรกอนเพื่อใหไดพิกัดงานสวมอัด
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 32)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 26
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.7.4 สลักเกลียวปลอย
สลักเกลียวปลอยใชในการขันยึดชิ้นงาน
โลหะแผนหรือวัสดุออนโดยไมตองใชนัต หรือ
เกลียวตัวเมีย
สลักเกลียวปลอยสามารถตาปเกลียวไดในตัว

ภาพที่ 9.27 แสดงลักษณะสลักเกลียวปลอย


(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4.7.5 สลักเกลียวลําตัวคอด
(Neck down bolt)
สลักเกลียวลําตัวคอด ขนาดลําตัวเกลียว
เล็กกวาขนาดเสนผานศูนยกลางโคนเกลียวเล็กนอย
ซึ่งจะชวยใหสลักเกลียวมีความแข็งแรงสม่ําเสมอ
ตลอดลําตัว ตัวอยางการใชงานเชน บริ เวณหนา
แปลนที่รับแรงกดดันสูงๆหรือฝาสูบเครื่องยนต

ภาพที่ 9.28 แสดงลักษณะสลักเกลียวลําตัวคอด


(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 27
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4.7.6 จุกเกลียวแบบมีแปน
จุกเกลียวแบบมีแปนใชขันยึดเพื่อเปน
จุกอุดสําหรับเติมหรือระบายสารหลอลื่นสําหรับ
เครื่องยนตหรือหองเกียรตางๆ

ภาพที่ 9.29 แสดงลักษณะจุกเกลียวแบบมีแปน


(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)

4.8 แบงตามรูปทรงนัต
นัตหัวหกเหลี่ยม การแบงประเภทของเกลียวตามรูปทรงนัต
สามารถแบงไดดังนี้
4.8.1 นัตหัวหกเหลี่ยม ใชขันยึดงาน
ทั่วไป
4.8.2 นัตหัวมงกุฎ ใชขันยึดงานทั่วไป
นัตหัวมงกุฎ และยึดล็อกแนนกันคลายโดยใชงานรวมกับสปลิทพิน
ภาพที่ 9.30 แสดงลักษณะนัตหัวหกเหลี่ยมและ
นัตหัวมงกุฎ
(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 28
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

นัตหัวหมวก 4.8.3 นัตหัวหมวก ใชขันยึดปดปลาย


เกลียวและเพิ่มความสวยงาม
4.8.4 แปนเกลียวมีรูหรือรองที่ขอบ
ใชสําหรับการขันยึดจุดที่ไมตองการใหมีการขันเขา-
ออกบอยครั้ง
แปนเกลียวมีรูหรือรองที่ขอบ
ภาพที่ 9.31 แสดงลักษณะนัตหัวหมวกและ
แปนเกลียวมีรูหรือรองที่ขอบ
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4.8.5 นัตหัวพิมพลาย ใชสําหรับจับยึด


นัตหัวพิมพลาย จุดที่ตองการยึดแนนและคลายล็อกเร็วใหแรงจับยึด
ไมมากนัก
4.8.6 นัตหางปลา ใชจับยึดจุดที่ตองการ
ยึดแนนและคลายล็อกเร็วแรงจับยึดไมมากนัก

นัตหางปลา
ภาพที่ 9.32 แสดงลักษณะนัตหัวพิมพลายและ
นัตหางปลา
(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 29
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

5.อุปกรณปองกันความเสียของผิวชิ้นงานที่จับยึด
ดวยเกลียว
ในการจับยึดชิ้นงานดวยสกรู โบลตและนัต
ตองออกแรงขัน ใหนัตเกิดการบีบอัดกับชิ้นงาน
สงผลใหผิวของชิ้นงานเกิดความเสียหาย จําเปน
อยางยิ่งที่จะตองนําอุปกรณมาใชเพื่อการแกไข
ปญหาดังกลาว ซึ่งสิ่งที่นํามาปองกันความเสียหาย
ของผิวงานที่เกิดจากการขันนัตนั้นสวนใหญนิยมใช
แหวนรอง โดยการใชแหวนรองสามารถใชไดดังนี้
ภาพที่ 9.33 แสดงลักษณะการใชแหวนรองกรณี 5.1 กรณีชิ้นงานเปนวัสดุแข็ง เชน เหล็ก
ชิ้นงานเปนวัสดุแข็ง จะใชแหวนรองดานนัตเพียงดานเดียว
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

5.2 กรณีชิ้นงานเปนวัสดุออน เชน พลาสติก


ไม อลูมิเนียม จะใชแหวนรองทั้งดานหัวสกรู และ
ดานนัต

ภาพที่ 9.34 แสดงลักษณะการใชแหวนรองกรณี


ชิ้นงานเปนวัสดุออน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 30
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

6. อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียว
แบบตาง ๆ
แหวนสปริงผารอง แหวนสปริงวงปด
การใชงานอุปกรณปองกันการคลายตัวของ
สลักเกลียวโดยทั่ว ๆ ไปใชการปองกันการคลายตัว
ดังนี้
นัตล็อก นัตพลาสติกกันคลาย 6.1 อุปกรณปองกันคลายตัวของสลักเกลียว
อาศัยแรงเสียดทาน ใชความฝดจากแหวนสปริงหรือ
พลาสติกเบงอัดระหวางนัตกับสลักเกลียวและชิ้นงาน
เมื่อมีการถอดประกอบไมควรนํากลับมาใชใหม เพราะ
สลักเกลียวเคลือบพลาสติก เนื่องจากวัสดุลาตัวแลว ตัวอยางอุปกรณไดแก
ภาพที่ 9.35 แสดงลักษณะอุปกรณปองกัน แหวนสปริงผารอง แหวนสปริงวงปด นัต ล็อกนัต
การคลายตัวอาศัยแรงเสียดทาน นัตพลาสติกกันคลาย สลักเกลียวเคลือบพลาสติก
(ที่มา : อําพล ซื่อตรง. 2546 : 5)

6.2 อุปกรณปองกันคลายตัวอาศัยการขัดตัว
ใชรูปทรงของอุปกรณทําหนาที่ขัดตัว ระหวาง
แผนโลหะพับขัดตัว ขัดตัวดวย Split Pin
นัตกับสลักเกลียว หรือชิ้นงาน วิธีนี้จะทําหนาที่
ปองกันการคลายตัวไดดีกวาการปองกันการคลาย
ตัวแบบอาศัยแรงเสียดทาน ตัวอยางอุปกรณ
ปองกันการคลายตัวอาศัยการขัดตัว ไดแก
แผนโลหะพับขัดตัว ขัดตัวดวย Split Pin และ
ใชลวดผูกมัด
ใชลวดผูกมัด
ภาพที่ 9.36 แสดงลักษณะอุปกรณปอ งกัน
การคลายตัวอาศัยการขัดตัว
(ที่มา : อําพล ซื่อตรง. 2546 : 5)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 31
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

7. สัญลักษณขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว
การกําหนดความแข็งแรงและความสามารถ
การใชงานของสลักเกลียวจะกําหนดเปนสัญลักษณ
ขั้นความแข็งแรง ซึ่งการระบุความแข็งแรงได 2
มาตรฐานดังนี้

7.1 การกําหนดสัญลักษณขั้นความแข็งแรง
ของสลักเกลียวตามมาตรฐาน ISO ใชกับสลักเกลียว
ที่มีขนาดวัดเปนระบบเมตริกหรือวัดเปนมิลลิเมตร
โดยแบงชั้นขั้นคุณภาพตามคาความทนตอแรงดึงซึ่ง
จะระบุเปน ตัวเลข ไดแก 3.6 4.6 4.8 5.8 6.6
6.8 6.9 8.8 10.9 12.9 และ 14.9
โดยจะเริ่มจากขนาดสกรูที่โตกวา 4 มิลลิเมตร
ภาพที่ 9.37 แสดงการกําหนดสัญลักษณขั้น ขึ้นไป โดยมีความหมายคุณสมบัติทางกลของสลัก
ความแข็งแรงของสลักเกลียวตามมาตรฐาน ISO เกลียวตามมาตรฐาน ISO ดังนี้
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ตัวอยาง สลักเกลียวขั้นความแข็งแรง 10.9 จะมีความหมายดังนี้
10 . 9

อัตราสวนระหวางความเคนแรงดึงจุดครากกับความเคนแรงดึงสูงสุด
σy/σu = 9 x 10 = 90%

คาทนความเคนแรงดึงสูงสุด (σu) = 10 x 100 = 1,000 N/ mm²

คาทนความเคนแรงดึงที่จุดคราก (σy) = 10 x 9 x 10 = 900 N/ mm²


ใบเนื้อหา หนาที่ : 32
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ไมมีขีดหมาย SAE-Grade 0-2


ทนแรงดึงสูงสุด74,000 ปอนด/ตารางนิ้ว

3 ขีดหมาย SAE-Grade 5
7.2 การกําหนดสัญลักษณขั้นความแข็งแรง
ทนแรงดึงสูงสุด 120,000 ปอนด/ตารางนิ้ว
ของสลักเกลียวตามมาตรฐาน SAE (The Society
of Automotive Engineer) ใชกํากับสลักเกลียว
ที่ขนาดวัดเปนระบบนิ้ว โดยการกําหนดเครื่องหมาย
ทําเปนขีดตามแนวรัศมี เริ่มจากเกลียวขนาด ¼ นิ้ว
5 ขีดหมาย SAE-Grade 7 เปนตนไป
ทนแรงดึงสูงสุด 133,000 ปอนด/ตารางนิ้ว

มี 6 ขีดหมาย SAE-Grade 8
ทนแรงดึงสูงสุด 150,000 ปอนด/ตารางนิ้ว
ภาพที่ 9.38 แสดงการกําหนดสัญลักษณขั้น
ความแข็งแรงของสลักเกลียวตามมาตรฐาน SAE
(ที่มา : Richard G. Budynas และ J.Keith
Nisbett.2014 : 433)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 33
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

8. การคํานวณหาขนาดสลักเกลียวขัดตัวสงกําลัง
ลักษณะการจับยึดและขัดตัวสงกําลังดวย
สลักเกลียว สลักเกลียวจะรับแรงภายนอก (F) ซึ่งมี
ทิศทางขนานกับพื้นที่หนาตัดของเกลียว ซึ่งจะทําให
เกลียวอยูภายใตภาระความเคนเฉือน
ดังนั้นตองออกแรงขันกวดนัต (Fv) ทําใหมี
แรงบีบอัดที่มากพอเพื่อทําใหเกิดแรงเสียดทาน (FR)
จนสามารถตานแรงภายนอก (F) ได นั่นก็คือตองให
เกิดแรง FR ที่มากกวา F เพื่อทําใหการจับยึดและ
ขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียวมีประสิทธิภาพจําเปน
ภาพที่ 9.39 แสดงสลักเกลียวยึดเฟองดอกจอก ตองคํานวณคาตางๆ ดังนี้
รับแรงเฉือน 1.ความโตเกลียวที่มีแรงดึงชั้นตนเพียงพอ
(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 32) 2. ทอรคที่ตองใสใหกับสลักเกลียว
สูตรคํานวณหาคาแรงเฉือน(F) ที่กระทํากับสลัก
เกลียว จากคาโมเมนตแรงบิด (Torque)
M = n.F.r
M
F = (N)
n. r
สูตร คํานวณหาคาแรงเสียดทาน (FR)
FR = Fv . μ
โดยที่
M = โมเมนตแรงบิดหรือทอรค
n = จํานวนสกรูที่ใชยึดชิ้นงาน
ภาพที่ 9.40 แสดงลักษณะหนาแปลนคัปปลิ้ง r = ขนาดรัศมีของโมเมนตแรงบิด
รับภาระแรงเฉือน FR = แรงเสียดทานที่ผิวสัมผัส
(ที่มา : มานพ ตันตระบัณฑิตย. 2540 : 87) FV = แรงดึงในแกนเกลียว
µ = คาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานผิวสัมผัส
ใบเนื้อหา หนาที่ : 34
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ตัวอยาง เฟองดอกจอกและหนาแปลนผลิตจากเหล็กกลา ยึดติดกันดวยโบลทอัด (Tight fit screw)


ชั้นความแข็งแรง 8.8 จํานวน 4 ตัว โดยตองสามารถสงถายกําลังได 160 N m กําหนดคาสัมประสิทธ

แรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสในสภาพทาน้ํายากันคลาย จงคํานวณหาขนาดของสลักเกลียวและขนาด
ทอรคที่ใชในการขันสลักเกลียว

รูปที่ 9.41 แสดงเฟองดอกจอกยึดติดกับหนาแปลนดวยโบลทอัด


(ที่มา : ปรีชา ทิมทอง. 2543 : 32)
แนวทาง สลักเกลียวนี้จะตองทําการหาขนาดความโตเกลียวและคาทอรคขันประแจยึดสลักเกลียว
โดยที่สลักเกลียวทั้ง 4 ตัวจะแบงกันรับแรงตามแนวเสนรอบวง (Fc) ซึ่งจะมีคาเทากับแรงเสียดทาน (FR)
ที่ตองตานไว
1. หาขนาดแรงตามแนวเสนรอบวง (Fc) ที่กระทํากับสกรูแตละตัว

สูตร M = n . Fc . r

แทนคา 160 × 1,000 N mm • = 4 . Fc . 66 mm

Fc = 160,000 N.mm
4 × 66 mm

= 606 N
ใบเนื้อหา หนาที่ : 35
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

FR = Fv . μ

FR
Fv =
µ

606
=
0.2

= 3,030 N

เผื่อคาความปลอดภัยจากสภาพการทํางาน N = 2….4
เลือกคาความปลอดภัยสูงสุดใชคา N = 4
ดังนั้น Fv เมื่อเผื่อคาความปลอดภัยจะมีคา
= 3,030 x 4

= 12.120 kN

จากตารางที่ 2.1 หนาที่ 36 เลือกใชเกลียวขนาด M8 ขั้นความแข็งแรง 8.8 ที่มีคาสัมประสิทธ


แรงเสียดทาน 0.14 โดยจะมีคาแรงดึงในแกนเกลียว Fv = 16.5 kN ซึ่งมากกวา 12.120 kN และขันตึง
ดวยทอรคขนาด 25.3 N m•
ใบเนื้อหา หนาที่ : 36
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

9. การหาคาทอรคขันสลักเกลียว
การขันสลักเกลียวจําเปนอยางยิ่งที่ตองรูคาของแรงที่ใชในการขันยึดสลักเกลียวเพื่อใหมีแรงพอที่
จะจับยึดงานไดและไมทําใหสลักเกลียวเกิดการขาดเสียหาย โดยการหาคาทอรคขันสลักเกลียวสามารถ
เปดตารางหาคาทอรคไดดังตารางที่ ต.1
ตารางที่ 9.1 แสดงคาแรงขันเกลียวและโมเมนตบิดขันเกลียว

(ที่มา: รศ.บรรเลง ศรนิล และ รศ.สมนึก วัฒนศรียกุล.2554 : 204)


ใบเนื้อหา หนาที่ : 37
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ตัวอยาง ใชเกลียวขนาด M16 ความแข็งแรงขั้น 12.9 สัมประสิทธิ์ความฝดรวม 0.12 จะใชแรงจับ


ยึดในแกนเกลียว และแรงในการขันประแจดวยคาทอรคเทาใด

เกลียวขนาด M16 ความแข็งแรงขั้น 12.9 สัมประสิทธิ์ความฝดรวม 0.12 จากตารางแรงจับยึดใน


แกนเกลียวเทากับ 111 kN ดวยคาทอรค 285 N m•
ใบเนื้อหา หนาที่ : 38
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

1 10. การใชประแจทอรค (Torque Wrench)


ประแจทอรค ใชสําหรับขันสลักเกลียว
และนัตใหตรงตามขนาดแรงที่ถูกกําหนดมาจาก
ผูผลิตปองกันปญหานัตคลายตัว หรือขันแนนจน
สลักเกลียวขาด
ประแจทอรคทั่ว ๆ ไปมี 2 ลักษณะคือ
2 1.แบบวัดคาทอรคอยางเดียว
2.แบบวัดคาทอรคและคามุมบิด
วิธีการใชงาน เมื่อทราบขนาดของทอรค
ที่เปดไดจากตารางมาตรฐานสลักเกลียวแลว หมุน
ภาพที่ 9.42 แสดงลักษณะของประแจทอรค ปลอกหมุนเพื่อตั้งคาทอรคตามขีดสเกลบนปลอก
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

11. การขันสลักเกลียวบนหนาแปลน
การขันสลักเกลียวบนหนาแปลน โดยปกติ
หนาแปลนที่นิยมใชกันมี 2 ลักษณะคือ
หนาแปลนกลม 11.1. หนาแปลนกลม
11.2. หนาแปลนสี่เหลี่ยม
ซึ่งการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนกลม
และหนาแปลนสี่เหลี่ยม มีวิธีการขันสลักเกลียวดังนี้

หนาแปลนสี่เหลี่ยม
ภาพที่ 9.43 แสดงลักษณะของหนาแปลน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 39
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

11.1.1 ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนา
แปลนกลมกรณีไมใชปะเก็นรอง
การขันยึดบนหนาแปลนกลมกรณีไมใช
ปะเก็นรอง หนาแปลนจะตองมีความหนาพอควร
และมีการถอดประกอบบอยครั้ง ผิวหนาแปลนผาน
การเจียระไนละเอียดหรือขุดผิวมาอยางดี
ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนกลม
กรณีไมใชปะเก็นดวยสลักเกลียวจํานวน 12 ตัว
ภาพที่ 9.44 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ ดวยประแจทอรคมีขั้นตอนดังนี้
ของการขันยึดหนาแปลนกลมกรณีไมใชปะเก็น 1. กําหนดหมายเลขสลักเกลียว
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

2. ขันดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 50 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
9 10
11 12

ภาพที่ 9.45 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม


ดวยสลักเกลียวกรณีไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 50%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 40
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

3. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 70 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
9 10
11 12
ภาพที่ 9.46 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม
ดวยสลักเกลียวกรณีไมใชปะเก็นดวยคาทอรค 70%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 100 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
9 10
11 12
ภาพที่ 9.47 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม
ดวยสลักเกลียวกรณีไมใชปะเก็นดวยคาทอรค100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 41
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

5. ขันกวดครั้งสุดทายแบบตามเข็มนาฬิกา
ดวยคาทอรค 100% ดังนี้
1 3
5 7
9 11
2 4
6 8
ภาพที่ 9.48 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึด 10 12
หนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีไมใชปะเก็น
ดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

11.1.2 ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนา
แปลนกลมกรณีใชปะเก็นรอง
การขันสลักเกลียวบนหนาแปลนกลมกรณี
ใชปะเก็นรอง ลักษณะของหนาแปลนแบบบางไมมี
การถอดเขา ออกบอย หรือผิวของหนาแปลนเตรียม
มาไมดี จําเปนตองใชปะเก็นรองกอนยึดแนน เชน
แผนปะเก็นยางพลาสติก ไมคอรก อลู มิเนียม หรือ
ทองแดง เพื่อปองกันการรั่วซึมของแรงดันหรือ
ความรอน
ภาพที่ 9.49 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ ตัวอยางขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนา
ของการขันยึดหนาแปลนกลมกรณีใชปะเก็น แปลนกลมกรณีใชปะเก็นดวยสลักเกลียวจํานวน 12
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559) ตัว ดวยประแจทอรคมีขั้นตอนดังนี้
1.กําหนดหมายเลขสลักเกลียว
ใบเนื้อหา หนาที่ : 42
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

2. ขันดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 50 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
9 10
11 12
ภาพที่ 9.50 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม
ดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็นดวยคาทอรค 50%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

3. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 70 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
9 10
11 12
ภาพที่ 9.51 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม
ดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็นดวยคาทอรค 70%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 43
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 100 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
9 10
11 12
ภาพที่ 9.52 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลนกลม
ดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็นดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

5. ขันกวดครั้งสุดทายแบบตามเข็มนาฬิกา
ดวยคาทอรค 100% ดังนี้

1 3
5 7
9 11
2 4
6 8
ภาพที่ 9.53 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึด
10 12
หนาแปลนกลมดวยสลักเกลียวกรณีใชปะเก็น
ดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 44
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

11.2.1 ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนา
แปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีไมใชปะเก็นรอง
การขันสลักเกลียวบนหนาแปลนเหลี่ยมผืนผา
กรณีไมใชปะเก็นรอง ลักษณะหนาแปลนจะตองมี
ความหนาพอควร และมีการถอดประกอบบอยครั้ง
ผิวหนาแปลนผานการเจียระไนละเอียดหรือขุดผิว
มาอยางดี ก็ไมจําเปนตองใชปะเก็นรอง
ภาพที่ 9.54 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนาแปลน
ของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผา สี่เหลี่ยมผืนผากรณีไมใชปะเก็นดวยสลักเกลียว
กรณีไมใชปะเก็นแบบขันทะแยง จํานวน 12 ตัว ดวยประแจทอรคมีขั้นตอนดังนี้
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559) 1. กําหนดหมายเลขสลักเกลียว

2. ขันดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 50 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
ภาพที่ 9.55 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน 7 8
สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทะแยงกรณีไม 9 10
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 50% 11 12
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 45
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

3. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 70 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.56 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน 9 10
สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทะแยงกรณีไม 11 12
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 70%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 100 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.57 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน 9 10
สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทะแยงกรณีไม 11 12
ใชปะเก็นดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 46
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

5. ขันกวดครั้งสุดทายแบบตามเข็มนาฬิกา
ดวยคาทอรค 100% ดังนี้

1 11
3 9
5 7
6 8
ภาพที่ 9.58 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึด 4 10
หนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวกรณีไมใช 2 12
ปะเก็นดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
11.2.2 ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนา
แปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีใชปะเก็นรองแบบ
ทะแยง
การขันสลักเกลียวบนหนาแปลนสี่เหลี่ยม
ผืนผา กรณีใชปะเก็นรอง ลักษณะหนาแปลนแบบ
แผนบางไมมีการถอดเขา ออกบอย หรือผิวหนาของ
หนาแปลนเตรียมมาไมดี จําเปนตองใชปะเก็นรอง
กอนยึดแนน เชน แผนปะเก็นยางพลาสติก ไมคอรก
อลูมิเนียม หรือทองแดง เพื่อปองกันการรั่วซึมของ
ภาพที่ 9.59 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ แรงดันหรือความรอน
ของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบขัน ตัวอยางขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนา
ทะแยงกรณีใชปะเก็น แปลนสี่เหลี่ยมกรณีใชปะเก็นดวยสลักเกลียวจํานวน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559) 12 ตัว ดวยประแจทอรคมีขั้นตอนดังนี้
1. กําหนดหมายเลขสลักเกลียว
ใบเนื้อหา หนาที่ : 47
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

2. ขันดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 50 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.60 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน 9 10
สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทะแยงกรณีใช 11 12
ปะเก็นดวยคาทอรค 50%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

3. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 70 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.61 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน 9 10
สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทะแยงกรณีใช 11 12
ปะเก็นดวยคาทอรค 70%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 48
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 100 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.62 แสดงขั้นตอนการขันยึดหนาแปลน 9 10
สี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวแบบขันทะแยงกรณีใช 11 12
ปะเก็นดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

5. ขันกวดครั้งสุดทายแบบตามเข็มนาฬิกา
ดวยคาทอรค 100% ดังนี้

12 8
4 2
6 10
11 7
ภาพที่ 9.63 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึด 3 1
หนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียวกรณีใช 5 9
ปะเก็นดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 49
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

11.2.3 ขั้นตอนการขันสลักเกลียว
บนหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีใชปะเก็นรอง
แบบกนหอย
ขั้นตอนการขันสลักเกลียวบนหนาแปลน
สี่เหลี่ยมกรณีใชปะเก็นดวยสลักเกลียวจํานวน 12
ภาพที่ 9.64 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ ตัว ดวยประแจทอรคมีขั้นตอนดังนี้
ของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ 1. กําหนดหมายเลขสลักเกลียว
กนหอยทะแยงกรณีใชปะเก็น
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

2. ขันดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 50 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.65 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ 9 10
ของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ 11 12
กนหอยดวยคาทอรค 50%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 50
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

3. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 70 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
7 8
ภาพที่ 9.66 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ 9 10
ของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ 11 12
กนหอยดวยคาทอรค 70%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4. ขันซ้ําดวยประแจทอรคตามหมายเลข
ของสลักเกลียวดวยคาทอรค 100 % ดังนี้
1 2
3 4
5 6
ภาพที่ 9.67 แสดงการกําหนดหมายเลขแสดงลําดับ 7 8
ของการขันยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาแบบ 9 10
กนหอยดวยคาทอรค 100% 11 12
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 51
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

5. ขันกวดครั้งสุดทายแบบตามเข็มนาฬิกา
ดวยคาทอรค 100% ดังนี้

11 7
4 3
6 10
9 5
ภาพที่ 9.68 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบการขันยึด 2 1
หนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผาดวยสลักเกลียว 8 12
ดวยคาทอรค 100%
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

12. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณ
ระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
12.1 โมเดลระบบสงกําลังเครื่องมือกล
12.2 เครื่องคิดเลข
12.3 เวอรเนียคารลิปเปอร
12.4 ตารางคูมืองานโลหะ
ภาพที่ 9.69 แสดงเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการ 12.5 ผา
คํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 52
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

13. วิธีการคํานวณระบบขัดตัวสงกําลัง
ดวยสลักเกลียว
วิธีการคํานวณขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
มีขั้นตอนดังนี้
1.ตรวจสอบจํานวนรูสาํ หรับรอยสลักเกลียว
บนหนาแปลน

ภาพที่ 9.70 แสดงการตรวจสอบจํานวนรูสําหรับ


รอยสลักเกลียวบนหนาแปลน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

2. วัดระยะเพื่อหาคารัศมีของรูรอยสลัก
เกลียวบนหนาแปลน

ภาพที่ 9.71 แสดงการวัดระยะรัศมีของรูรอยสลัก


เกลียวบนหนาแปลน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 53
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

3. ตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน
ผิวสัมผัส

ภาพที่ 9.72 แสดงการตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์แรง


เสียดทานผิวสัมผัส
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

4. ตรวจสอบโมเมนตแรงบิดจากเทมเพลส
มอเตอร

ภาพที่ 9.73 แสดงการตรวจสอบโมเมนตแรงบิด


จากเทมเพลสมอเตอร
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 54
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

5. กําหนดขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว
ที่จะนํามาใช

ภาพที่ 9.74 แสดงการกําหนดขั้นความแข็งแรงของ


สลักเกลียวที่จะนํามาใช
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

6. คํานวณคาตาง ๆ ที่ตองการทราบ

ภาพที่ 8.75 แสดงลักษณะการคํานวณคาตาง ๆ ที่


ตองการทราบ
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 55
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

14.การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
ขอกําหนดที่ตองระบุลงในแบบงานไดแก
14.1.ขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว
14.2.ขนาดของแรง (F) หรือโมเมนตแรงบิด
(T) ที่กระทํากับสลักเกลียว
14.3.ระยะรัศมีการจับยึดของสลักเกลียว
14.4.คาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน
14.5.คาทอรคในการขันยึดสลักเกลียว
14.6 ขนาดสลักเกลียวที่ใชในการขันยึด
ภาพที่ 8.76 แสดงลักษณะการบันทึกสรุปผล
รายงานการปฏิบัติงาน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

15.การจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณ
ปฏิบัติงาน
15.1.เช็ดทําความสะอาดชิ้นงาน เครื่องมือ
และอุปกรณ
15.2.เก็บเขาที่พรอมใชงาน
15.3.ดูแลบริเวณปฏิบัติงานใหสะอาด
เรียบรอย
ภาพที่ 9.77 แสดงลักษณะการจัดเก็บเครื่องมือ
อุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 56
(Information Sheet)
หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

16.กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานขันยึด
สลักเกลียว
16.1. หยุดเครื่องจักรกอนทํางานเสมอ
16.2. แขวนปายล็อกเมนสวิทย
16.3. สวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล

ภาพที่ 9.78 แสดงการแขวนปายล็อกเมนสวิทย


กอนการปฏิบัติงาน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
แบบฝกหัด หนาที่ : 57

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

คําสั่ง : จงตอบคําถามใหถูกตอง เวลาที่กําหนด : 10 นาที


1. จงบอกหนาที่และการใชงานของสลักเกลียวใหถูกตอง
1.1. .
1.2. .
1.3. .
2. จากภาพดานลางที่กําหนดใหจงจับคูความสัมพันธกันของกลไกการยึดแนนของสลักเกลียว โดยนํา
อักษรทางดานขวามือ เติมลงหนาตัวเลขใหถูกตอง

2.1 มุมเอียงสันเกลียว ก. FN
2.2 แรงปฏิกิริยา ข. ผลรวมของแรง FN
2.3 ผลรวมของแรงทําหนาที่เบงอัดใหนัตและโบลทแนบสนิทกัน ค. FV
2.4 ผลรวมของแรงทําหนาที่บีบอัดชิ้นงานปองกันไมใหเกลียวหมุนบิด ง. Fu
2.5 แรงจับยึด จ. มุม ϕ
2.6 แรงขันบีบอัด ฉ. ผลรวมของแรง Fv
3. จงกาเครื่องหมายหนาขอที่ถูก และเครื่องหมาย  หนาขอที่ผิดของขอแตกตางระหวาง
เกลียวนําเลื่อนและเกลียวจับยึด
3.1 เกลียวจับยึดมีระยะพิตนอยจึงทําใหมีแรงจับยึดในแกนเกลียวมาก
3.2 เกลียวนําเลื่อนมีระยะพิตมากจึงทําใหมีแรงจับยึดในแกนเกลียวนอย
3.3 เกลียวนําเลื่อนมีมุมเอียงสันเกลียวมากจึงทําใหเกิดการเลื่อนไถลไดงาย
3.4 เกลียวจับยึดมีมุมเอียงสันเกลียวมากจึงทําใหเกิดการจับยึดไดแนนยิ่งขึ้น
3.5 เกลียวจับยึดเกิดแรงเสียดทาน FR มากกวาFH
3.6 เกลียวจับยึดแรงเลื่อนไถล(FH) จะมีคามากเกลียวนําเลื่อน
แบบฝกหัด หนาที่ : 58

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4. จากรูปภาพ จงนําหมายเลขหนารูปภาพและหมายเลขการใชงานเติมลงในตารางใหถูกตอง
1 2 1. ใชยึดชิ้นงานทั่วไปและมักใชงานรวมกับนัต
2. ใชรองใตนัตเพื่อเบงกันคลาย
3 4 3. ใชยึดชิ้นงานในลักษณะฝงหัวจม
4. ใชล็อกกันคลายโดยการเจาะรูใสปน
5. ใชขันยึดชิ้นงานโลหะแผนหรือวัสดุออน
5 6 6. ใชขันยึดปดปลายเกลียวและเพิ่มความสวยงาม

นัต สลัก แหวนสปริง สกรูหัวฝง นัต โบลทหัวหก


ชื่อ
หัวมงกุฎ เกลียวปลอย กันคลาย ทรงกระบอก หัวหมวก เหลี่ยม
หมายเลข
การใชงาน

5. โบลทมีเลขหมายแสดงขั้นความแข็งแรง 8.8 จงอธิบายความหมายของตัวเลขนี้

8. . 8.
.
..
.
.
.
แบบฝกหัด หนาที่ : 59

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

6. หัวจับงานกลึงถูกยึดเขาหนาแปลนเหล็กกลาดวยสลักเกลียวขันความแข็งแรง 12.9 จํานวน 4 ตัว


รัศมีการยึดสลักเกลียว 125 มิลลิเมตร เพื่อใหสามารถสงกําลังได 3,000 N m แรงเสียดทานระหวางผิว

อยูในสภาพแหงจงคํานวณหาขนาดของสลักเกลียวและขนาดทอรคที่ใชในการขันสลักเกลียว
แบบฝกหัด หนาที่ : 60

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

7. จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนวงกลมกรณีไมใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจายทั่ว
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง

8.จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนวงกลมกรณีใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจายทั่ว
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง
แบบฝกหัด หนาที่ : 61

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

9.จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีไมใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจาย
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง

10. จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจาย


และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 62

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

คําสั่ง : จงตอบคําถามใหถูกตอง
1. จงบอกหนาที่และการใชงานของสลักเกลียวใหถูกตอง
1.1. จับยึดชิ้นงานใหแนน .
1.2. สงกําลังหรือนําเลื่อน .
1.3. ปรับตั้งระยะ .
2. จากภาพดานลางที่กําหนดใหจงจับคูความสัมพันธกันของกลไกการยึดแนนของสลักเกลียว โดยนํา
อักษรทางดานขวามือ เติมลงหนาตัวเลขใหถูกตอง

จ 2.1 มุมเอียงสันเกลียว ก. FN
ก 2.2 แรงปฏิกิริยา ข. ผลรวมของแรง FN
ข 2.3 ผลรวมของแรงทําหนาที่เบงอัดใหนัตและโบลทแนบสนิทกัน ค. FV
ฉ 2.4 ผลรวมของแรงทําหนาที่บีบอัดชิ้นงานปองกันไมใหเกลียวหมุนบิด ง. Fu
ค 2.5 แรงจับยึด จ. มุม ϕ
ง 2.6 แรงขันบีบอัด ฉ. ผลรวมของแรง Fv
3. จงกาเครื่องหมายหนาขอที่ถูก และเครื่องหมาย  หนาขอที่ผิดของขอแตกตางระหวาง
เกลียวนําเลื่อนและเกลียวจับยึด
 3.1 เกลียวจับยึดมีระยะพิตนอยจึงทําใหมีแรงจับยึดในแกนเกลียวมาก
 3.2 เกลียวนําเลื่อนมีระยะพิตมากจึงทําใหมีแรงจับยึดในแกนเกลียวนอย
 3.3 เกลียวนําเลื่อนมีมุมเอียงสันเกลียวมากจึงทําใหเกิดการเลื่อนไถลไดงาย
 3.4 เกลียวจับยึดมีมุมเอียงสันเกลียวมากจึงทําใหเกิดการจับยึดไดแนนยิ่งขึ้น
 3.5 เกลียวจับยึดเกิดแรงเสียดทาน FR มากกวาFH
 3.6 เกลียวจับยึดแรงเลื่อนไถล(FH) จะมีคามากเกลียวนําเลื่อน
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 63

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

4. จากรูปภาพ จงนําหมายเลขหนารูปภาพและหมายเลขการใชงานเติมลงในตารางใหถูกตอง
1 2 1. ใชยึดชิ้นงานทั่วไปและมักใชงานรวมกับนัต
2. ใชรองใตนัตเพื่อเบงกันคลาย
3 4 3. ใชยึดชิ้นงานในลักษณะฝงหัวจม
4. ใชล็อกกันคลายโดยการเจาะรูใสปน
5. ใชขันยึดชิ้นงานโลหะแผนหรือวัสดุออน
5 6 6. ใชขันยึดปดปลายเกลียวและเพิ่มความสวยงาม

นัต สลัก แหวนสปริง สกรูหัวฝง นัต โบลทหัวหก


ชื่อ
หัวมงกุฎ เกลียวปลอย กันคลาย ทรงกระบอก หัวหมวก เหลี่ยม
หมายเลข 3 6 2 1 5 4
การใชงาน 4 5 2 3 6 1

5. โบลทมีเลขหมายแสดงขั้นความแข็งแรง 8.8 จงอธิบายความหมายของตัวเลขนี้


8. . 8.

อัตราสวนระหวางความเคนแรงดึงจุดครากกับความเคนแรง
ดึงสูงสุด σy/σu = 8 x 10 = 80% .
คาทนความเคนแรงดึงสูงสุดของโบลท เทากับ 800 N/mm² .
คาทนความเคนแรงดึงที่จุดครากตัวของโบลท เทากับ 640 N/mm²
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 64

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

6. หัวจับงานกลึงถูกยึดเขาหนาแปลนเหล็กกลาดวยสลักเกลียวขันความแข็งแรง 12.9 จํานวน 4 ตัว


รัศมีการยึดสลักเกลียว 125 มิลลิเมตร เพื่อใหสามารถสงกําลังได 3,000 N m แรงเสียดทานระหวางผิว

อยูในสภาพแหง จงคํานวณหาขนาดของสลักเกลียวและขนาดทอรคที่ใชในการขันสลักเกลียว เมื่อใชคา


ความปลอดภัยจากสภาพการทํางาน N = 2

1. หาขนาดแรงตามแนวเสนรอบวง (Fc) ที่กระทํากับสกรูแตละตัว

สูตร M = n . Fc . r

แทนคา 3,000 × 1,000 N mm • = 4 . Fc . 125 mm


3,000,000 N.mm
Fc =
4 × 125 mm

Fc = 3,000,000 N.mm
500 mm

= 6,000 N
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 65

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

FR = Fv . μ

FR
Fv =
µ

6,000
=
0.2

= 30,000 N

คาความปลอดภัยจากสภาพการทํางาน N = 2
ดังนั้น Fv เมื่อเผื่อคาความปลอดภัยจะมีคา
= 30,000 N x 2

= 60,000 N

= 60 kN

จากตารางที่ 2.1 หนาที่ 36 เลือกใชเกลียวขนาด M12 ขั้นความแข็งแรง 12.9 ที่มีคาสัมประสิทธ


แรงเสียดทาน 0.14 โดยจะมีคาแรงดึงในแกนเกลียว Fv = 68.5 kN ซึ่งมากกวา 60 kN และขันตึง
ดวยทอรคขนาด 150 N m •
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 66

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

6. จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนวงกลมกรณีไมใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจายทั่ว
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง

7. จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนวงกลมกรณีใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจายทั่ว
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 67

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

8.จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีไมใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจาย
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง

9. จงลําดับการขันสลักเกลียวยึดหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณีใชปะเก็น เพื่อใหแรงจับยึดกระจาย
และกํากับตัวเลขลงในภาพขางลาง
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 68

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

คําสั่ง : จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับขอที่ถูกลงในกระดาษคําตอบที่แจกให เวลาที่กําหนด: 30 นาที


1. ขอใดไมใชหนาที่และการใชงานของสลักเกลียว
ก. ทําหนาที่จับยึดแนนชิ้นงาน ข. ทําหนาที่นําเลื่อนสงกําลัง
ค. ทําหนาที่กําหนดความเที่ยงศูนย ง. ทําหนาที่ปรับแตงตั้งระยะ
2. ขอใดอธิบายกลไกการยึดแนนของสลักเกลียวไดอยางถูกตอง
ก. การยึดแนนของสลักเกลียวคือแรงที่ทําหนาที่ไมใหแปนเกลียวหมุนบิดขณะใชงาน
ข. การยึดแนนของสลักเกลียวอาศัยแรงกดจากแรงขันตามแนวเสนตรงที่เกิดจากการขันประแจ
ค. การยึดแนนของสลักเกลียวคือแรงที่ทําหนาที่ไมใหสลักเกลียวหมุนบิดขณะใชงาน
ง. การยึดแนนของสลักเกลียวอาศัยหลักการเบงอัดของพื้นที่เอียงบริเวณสันเกลียวนอกสันเกลียวใน
3. ขอใดไมใชลักษณะของเกลียวนําเลื่อน
ก. มุมphi มีคานอยมาก ข. แรงเลื่อนไถล(FH) จะมีคา
ค. แรงเสียดทาน FRนอยกวา FH ง. แรงปฏิกิริยา(FN) จะมีคานอย
4. ขอแตกตางระหวางเกลียวจับยึดและเกลียวนําเลื่อนคือขอใด
ก. เกลียวนําเลื่อนมีระยะพิตนอยกวาเกลียวจับยึด
ข. เกลียวนําเลื่อนมุมเอียงสันเกลียวจะมีคามากทําใหเลื่อนไถลยาก
ค. เกลียวจับยึดจะใหแรงจับยึดในแกนเกลียวนอยกวาเกลียวนําเลื่อน
ง. เกลียวจับยึดมุมเอียงสันเกลียวจะมีคานอยทําใหเกิดการล็อกตัวเอง
5. เกลียวยอดแหลมที่มีมุมยอดเกลียว 60 องศา นิยมใชกับงานลักษณะใด
ก. ใชกับงานทอน้ํา งานสุขภัณฑ ข. ใชเปนเกลียวขับเคลื่อน
ค. ใชเปนเกลียวจับยึดทั่วไป ง.ใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว
6. เกลียววิตเวิรตเหมาะสําหรับใชกับงานลักษณะใด
ก. ใชเปนเกลียวขับเคลื่อน ข. ใชเปนเกลียวจับยึดทั่วไป
ค. ใชกับงานทอน้ํา งานสุขภัณฑ ง. เกลียวปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
7. ขอใดคือการนําเกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูไปใชงานไดเหมาะสมกับงานมากที่สุด
ก. เกลียวจับยึดทั่วไป ข. เกลียวปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
ค. เกลียวใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทาง ง. เกลียวนําเลื่อนสงกําลังของเครื่องกลึง
เดียว
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 69

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

8. ขอใดคือการนําเกลียวฟนเลื่อยไปใชงานไดเหมาะสมกับงานมากที่สุด
ก. เกลียวจับยึดทั่วไป ข. เกลียวปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
ค. เกลียวใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว ง. เกลียวนําเลื่อนสงกําลังของเครื่องกลึง
9. ขอใดคือการนําเกลียวกลมไปใชงานไดเหมาะสมกับงานมากที่สุด
ก. เกลียวนําเลื่อนสงกําลังของเครื่องกลึง ข. ปดภาชนะบรรจุภัณฑเชนขวดแกว
ค. เกลียวใชสงกําลังในแนวแกนไดสูงทิศทางเดียว ง. ใชเปนเกลียวจับยึดทั่วไป
10. สัญลักษณเกลียวในขอใดหมายถึงเกลียวเมตริกยอดแหลม
ก. G4 ข. M10 X 1.5
ค. S12X3 ง. Tr24 X 5
11. ขอใดอธิบายถึงการใชงานเกลียวสตัดกับวัสดุงานที่เปนเหล็กกลาไดอยางถูกตอง
ก. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 1.5d
ข. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 1.25d
ค. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 1d
ง. ขันเกลียวดานที่มีระยะสั้นลงที่เนื้อเหล็กกลาโดยมีระยะจมเทากับ 2d
12. สลักเกลียวไมมีหัวหรือเกลียวปรับเหมาะกับการใชงานประเภทใด
ก. งานที่ตองการยึดพูเลยหรือปลอกแหวนใหติดแนนกับเพลา
ข. งานที่ตองการถอด เขา-ออกบอยครั้งเพื่อปองกันเกลียวของนัตชํารุด
ค. งานจับยึดทั่ว ๆ ไป
ง. ทําหนาที่รักษาศูนยของชิ้นงานและรับแรงเฉือนตามแนวขวาง
13. สลักเกลียวที่เหมาะสมกับงานจับยึดในลักษณะฝงหัวจมคือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 70

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

14. นัตที่ใชจับยึดชิ้นงานล็อกแนนกันคลายดวยสลักคือขอใด
ก. ข.

ค. ง.

15 อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวที่ไมเหมาะกับวัสดุงานออนคือขอใด
ก. นัตล็อกสองตัว ข. นัตสปริง
ค. แผนโลหะพับ ง. แหวนสปริงผารอง
16. การปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวแบบนัตล็อกสองตัวขอใดจัดลําดับไดอยางถูกตอง
ก. แหวนรอง-นัตตัวหนา-นัตตัวบาง ข. แหวนรอง- นัตตัวบาง-นัตตัวหนา
ค. นัตตัวบาง-แหวนรอง- นัตตัวหนา ง. นัตตัวหนา-แหวนรอง-นัตตัวบาง
17. อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวอาศัยการขัดตัวคือขอใด
ก. นัตผารองพรอมสปทพิน ข. แหวนสปริงผารอง
ค. นัตพลาสติกกันคลาย ง. นัตสปริง
18. อุปกรณปองกันการคลายตัวของสลักเกลียวที่อาศัยความฝดคือขอใด
ก. นัตผารองพรอมสปทพิน ข. แผนโลหะพับขัดตัว
ค. ลวดผูกล็อกหัวนัต ง. แหวนสปริงวงปด
19. คุณสมบัติเชิงกลที่สําคัญของวัสดุทําสลักเกลียวที่ตองมีการระบุหรือกํากับไว ขอใดคือ
ก. คาทนความเคนแรงดัด ข. คาทนความเคนแรงดึง
ค. คาทนความเคนแรงบิด ง. คาทนความเคนแรงกด
20. สลักเกลียวที่หัวกําหนดเลข 8.8 จะมีคาทนความเคนแรงดึงที่จุดครากตัว (σy) และคาทนความเคน
แรงดึงสูงสุด(σu)เทากับเทาใด
ก. σy = 800 N/mm² σu = 640 N/mm² ข. σy = 800 N/mm² σu = 600 N/mm²
ค. σy = 600 N/mm² σu = 800 N/mm² ง. σy = 640 N/mm² σu = 800 N/mm
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 71

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

21. เฟองดอกจอกยึดติดกับหนาแปลนเหล็กหลอดวยโบลทอัด ชั้นความแข็งแรง 8.8 จํานวน 3 ตัว


ซึ่งสงถายกําลังได 250 N m กําหนดคาสัมประสิทธแรงเสียดทาน 0.12 และคาความปลอดภัย 2

จงคํานวณแรงขนาดเกลียวนําและโมเนตบิดขันเกลียว

ก. Fv = 17361.11 N , MA= 23.1 N m• ข. Fv = 17.36 kN , MA= 23.1 N m


ค. Fv = 23.1 N , MA= 17361.11 N m• ง. Fv = 23.1 kN , MA= 17.36 N m


22. หนาแปลนเหล็กกลายึดติดสงกําลังดวยสตัดจํานวน 8 ตัว ชั้นความแข็งแรง 8.8 สงถายกําลังได


1,200 N m กําหนดคาสัมประสิทธแรงเสียดทาน 0.14 คาความปลอดภัย 3 จงคํานวณขนาดของสตัด

ที่ใชในการจับยึด

ก. M10 ข. M12
ค. M14 ง. M16
23.โบลทดังภาพขนาด M20 มีขั้นความแข็งแรง 8.8 ถูกขันยึดชิ้นงานดวยประแจทอรคมีคาสัมประสิทธิ์
ความฝดผิวงาน 0.12 จากขอกําหนดขางตน จงเปดตาราง(หนาที่ 73 ) เพื่อหาคาแรงจับยึดในแกน
เกลียวจะมีคา
ก. 186 kN ข. 131 kN
ค. 117 kN ง. 121 kN
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 72

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

24. โบลทขนาด M16 มีขั้นความแข็งแรง 8.8 ถูกขันยึดชิ้นงานดวยประแจทอรคมีคาสัมประสิทธิ์


ความฝดผิวงาน 0.08 จากตาราง(หนาที่ 11 ) หาคาแรงจับยึดในแกนเกลียวจะมีคาเทาใด
ก. 214 N m
• ข. 194 N m •

ค. 147 N m
• ง. 81 N m

25. การเรียงลําดับขั้นตอนการใชประแจทอรคในขอใดถูกตอง
1. ตรวจสอบขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว 2. ล็อกคาทอรคตามที่ตั้งไว
3. เปดตารางคาทอรคขันสลักเกลียว 4. ปรับตั้งคาทอรคบนปลอกตามขีดสเกล
ก. 1 – 4 – 3 – 2 ข. 1 – 3 – 4 – 2
ค. 1 – 2 – 4 – 3 ง. 1 – 2 – 3 – 4

26. ขอใดแสดงการกําหนดหมายเลขเพื่อเรียงลําดับการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนกลมกรณีไมใช
ปะเก็นรองไดถูกตอง

ก. ข.

ค. ง.
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 73

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

27. ขอใดแสดงการกําหนดหมายเลขเพื่อเรียงลําดับการขันสลักเกลียวบนหนาแปลนสี่เหลี่ยมผืนผากรณี
ใชปะเก็นรองไดถูกตอง

ก. ข.

ค. ง.

28. ขอใดไมจําเปนตองทําการบันทึกเพื่อรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลัง
เครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
ก. ขนาดของประแจขันสลักเกลียว ข. ขนาดของแรงขันประแจทอรคดวยคาทอรค
ค. หมายเลขลําดับขั้นการขันสลักเกลียว ง. ขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียว
29. ขอใดคือการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
ดวยสลักเกลียวไดอยางถูกตอง
ก. เก็บเครื่องมืออุปกรณเขาตูโดยแยกเครื่องมือที่มีคมตัดออกจากเครื่องมือวัดขนาด
ข. ใชเศษผาเช็ดทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณที่เปอนน้ํามัน
ค. ชโลมน้ํามันเครื่องมืออุปกรณที่เปนเหล็กเพื่อปองกันสนิม
ง. ใชน้ําลางคราบน้ํามันที่หกพื้นเพื่อทําความสะอาด
30. ขอใดคือสิ่งแรกที่ควรกระทําดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลัง
เครื่องมือกลดวยสลักเกลียว
ก. ใสถุงมือกอนการปฏิบัติงานทุกครั้ง ข. แขวนปายล็อกเมนสวิทย
ค. ปดเมนสวิทยเครื่องจักรกอนทํางาน ง. สวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล
แบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 74

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ตารางที่ 8.1 แสดงคาแรงขันเกลียวและโมเมนตบิดขันเกลียว


เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี หนาที่ : 75

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

แบบเฉลยขอทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี
ขอที่ คําตอบ ขอที่ คําตอบ
1 ค 16 ข
2 ง 17 ก
3 ก 18 ง
4 ง 19 ข
5 ค 20 ง
6 ค 21 ข
7 ง 22 ก
8 ก 23 ง
9 ข 24 ค
10 ข 25 ข
11 ค 26 ง
12 ก 27 ก
13 ง 28 ก
14 ก 29 ง
15 ข 30 ข
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 76

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ลําดับขั้นการปฏิบัตงิ านคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง
1. ศึกษาขอมูล

- ชนิด และการใชงาน - ใบเนื้อหา


ของสลักเกลียว - หนังสือตาราง
- ชนิดและการใชงาน โลหะ
อุปกรณกันการคลายตัว

2. เตรียมเครื่องมือและชิ้นงาน จัดเตรียมเครื่องและชิ้นงาน
1 โมเดลระบบสงกําลัง
เครื่องมือกล
2 เครื่องคิดเลข - ใบเบิกเครื่องมือ
3 เวอรเนียคารลิปเปอร
4 ตารางคูมืองานโลหะ
5 ผา

3. ตรวจสอบจํานวนรูสําหรับรอย
สลักเกลียวบนหนาแปลน

- นับจํานวนรูสําหรับรอย
สลักเกลียวบนหนาแปลน - ใบสั่งงาน
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 77

หนวยที่ 8 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ลําดับขั้นการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง
4. วัดเพื่อหาระยะรัศมีของรูรอยสลัก
เกลียวบนหนาแปลน
- ใชเวอรเนียคารลิปเปอร - ใบสั่งงาน
วัดเพื่อระยะรัศมีของรูรอย - เวอรเนีย
สลักเกลียวบนหนาแปลน คารลิปเปอร

5. ตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์
แรงเสียดทานผิวสัมผัส
- ตรวจสอบชนิดวัดสุเพื่อ - หนังสือตาราง
ตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์ คูมืองานโลหะ
แรงเสียดทานผิวสัมผัส

6. ตรวจสอบโมเมนตแรงบิด
จากเทมเพลสมอเตอร

- ตรวจสอบโมเมนตแรงบิด - ใบสั่งงาน
จากเนมเพลสมอเตอร
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 78

หนวยที่ 8 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ลําดับขั้นการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง
7. กําหนดขั้นความแข็งแรงของ
สลักเกลียวที่จะนํามาใช

- กําหนดขั้นความแข็งแรง - สลักเกลียว
ของสลักเกลียวที่จํานํามาใช

8. คํานวณคาตาง ๆ ที่ตองการทราบ

- ขนาดแรงเฉือนตามเสน
รอบวง - ใบสั่งงาน
- ขนาดแรงดึงในแกนเกลียว - เครื่องคิดเลข
- ขนาดแรงขันตึงดวยทอรค

9. บันทึกรายงานสรุปผลการ
ปฏิบัติงาน - ขนาดแรงเฉือนตามเสน
รอบวง
- ขนาดแรงดึงในแกนเกลียว
- ขนาดแรงขันตึงดวยทอรค - ใบสั่งงาน
- ขนาดสลักเกลียวที่ใชและ
ขั้นความแข็งแรงของสลัก
เกลียว
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 79

หนวยที่ 8 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ลําดับขั้นการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง
10. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและ
บริเวณปฏิบัติงาน
- ทําความสะอาดเครื่องมือ - ผา
และชิ้นงานทุกครั้งหลัง - น้ํามันกันสนิม
เสร็จงาน
ใบสั่งงาน หนาที่ : 80

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

คําสั่ง : จงคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว เวลาทีก่ ําหนด : 30 นาที

ลําดับขั้นการทํางาน เครื่องมือ อุปกรณ


1. ศึกษาขอมูล 1.โมเดลระบบกําลังดวยสลัก
2. เตรียมเครื่องมือและชิ้นงาน เกลียว
3. ตรวจสอบจํานวนรูสาํ หรับรอยสลักเกลียวบนหนาแปลน 2. เวอรเนียคารลิปเปอร
4. วัดระยะรัศมีของรูรอยสลักเกลียวบนหนาแปลน 3. หนังสือตารางโลหะ
5. ตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานผิวสัมผัส 4. เครื่องคิดเลข
6. ตรวจสอบโมเมนตแรงบิดจากเทมเพลสมอเตอร 5. ผา
7. กําหนดขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียวที่จํานํามาใช
8. คํานวณคาตาง ๆ ที่ตองการทราบ
9. บันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
10. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน
สรุปผลการทํางาน

ชื่อ: เลขที่: กลุม: .


ใบประเมินผล
(Evaluation Sheet) หนาที่ : 81

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

การประเมินผลการปฏิบัติงานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังดวยสลักเกลียว
ชื่อ.............................................................ว/ด/ป........................ ผูประเมิน..........................................
ผลการประเมิน
จุดประเมินผล
ผาน ไมผาน หมายเหตุ
1. ศึกษาขอมูล
2. เตรียมเครื่องมือและชิ้นงาน
3. ตรวจสอบจํานวนรูสาํ หรับรอยสลักเกลียวบนหนาแปลน
4. วัดระยะรัศมีของรูรอยสลักเกลียวบนหนาแปลน
5. ตรวจสอบคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานผิวสัมผัส
6. ตรวจสอบโมเมนตแรงบิดจากเทมเพลสมอเตอร
7. กําหนดขั้นความแข็งแรงของสลักเกลียวที่จะนํามาใช
8. คํานวณคาตาง ๆ ที่ตองการทราบ
9. บันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
10. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

วัดได
คุณภาพของผลงาน

ดีมาก ดี พอใช แกไข


วัดไมได 1.ความเรียบรอย
2.ความสะอาด
1.ความปลอดภัย
.เจตคติ 2.ความสะอาด(บริเวณทํางาน)

เวลาเริ่ม...........เวลาเสร็จ...........ใชเวลา.........ชม........นาที สรุปผลการประเมิน ผาน ไมผาน


ตารางดัชนีการเรียนรู หนาที่ : 82

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ดัชนีประสิทธิผล การจัดการเรียนรู ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ภาคเรียนที่ ....../…………


แผนกวิชาชางกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล กลุม …………….
ผลคะแนน ผลตาง ดัชนี รอยละคะแนน
ลําดับ ชื่อ – สกุล
Pre-Test Post-Test คะแนน ประสิทธิผล ที่เพิ่มขึ้น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
ตารางดัชนีการเรียนรู หนาที่ : 83

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ดัชนีประสิทธิผล การจัดการเรียนรู ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ภาคเรียนที่ ....../…………


แผนกวิชาชางกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล กลุม …………….
ผลคะแนน ผลตาง ดัชนี รอยละคะแนน
ลําดับ ชื่อ – สกุล
Pre-Test Post-Test คะแนน ประสิทธิผล ที่เพิ่มขึ้น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
บันทึกหลังการสอน หนาที่ : 84

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการเรียนของนักเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………….ผูบันทึก
(……………………………….)
…………/…………/………...
บรรณานุกรม หนาที่ : 85

หนวยที่ 9 : งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสลักเกลียว

มานพ ตันตระบัณทิตย. งานซอมบํารุงชิ้นสวนเครื่องจักรกล. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสมาคม


สงเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุน), 2540.
บรรเลง ศรนิล, รศ. และสมนึก วัฒนศรียกุล, รศ. ตารางคูมืองานโลหะ. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2554.
ปรีชา ทิมทอง. ชิ้นสวนเครื่องจักรกล. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพจิตรวัฒน, 2543.
อําพล ซื่อตรง. ชิ้นสวนเครื่องกล. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ, 2545.
ไอนริช เกรลิงก. เกรลิงภ ทฤษฎีงานเครื่องมือกล. แปลโดย บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ , 2518.
Richard G.Budynas And J.Keith Nisbett. Shigley,s Mechanical Engineering Design.
McGraw-hill book Company, 2011.
http://cadcam-knowledge.blogspot.com/2013/01/knowledge.html, เขาถึง 3 พฤศจิกายน
2558
http://www.powertransmission.com/newsletter/0112/skf_coupling.htm, เขาถึง 3 พฤศจิกายน
2558

You might also like