You are on page 1of 11

See discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.

net/publication/296585059

Foundation of the Ergun equation for the calculation of minimum fluidizing


velocity of solid particles

Article · January 2012

CITATIONS READS

0 1,317

3 authors, including:

Thanasit Wongsiriamnuay
Maejo University
58 PUBLICATIONS   333 CITATIONS   

SEE PROFILE

Some of the authors of this publication are also working on these related projects:

Drying View project

Waste heat recovery View project

All content following this page was uploaded by Thanasit Wongsiriamnuay on 02 March 2016.

The user has requested enhancement of the downloaded file.


Journal of the Thai Society of Agricultural Engineering Vol. 18 No. 1 (2012), 24–33

วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย บทความปริทัศน์
ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (2555) 24–33
ISSN 1685-408X
Available online at www.tsae.asia
ที่มาของสมการ Ergun เพื่อการคานวณความเร็วต่าสุดของการเกิด ฟลูอิไดซ์สาหรับอนุภาคของแข็ง
Foundation of the Ergun equation for the calculation of minimum fluidizing velocity
of solid particles
ระวิน สืบค้า1* ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอานวย2, สุเนตร สืบค้า3
Rawin Surbkar1*, Thanasit Wongsiriamnuay2, Sunate Surbkar2
1
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ชลบุร,ี 20110
1
Faculty of Science and Technology, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Chonburi, 20110
2
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่, 50290
2
Faculty of Engineering and Agro-industry, Maejo University, Chiang Mai, 50290
*Corresponding author: Tel: 080-4988144 E-mail: rawin2272@hotmail.com
บทคัดย่อ
ความรู้เกี่ยวกับความเร็วต่าสุดของการเกิดฟลูอิไดซ์ในเบดของแข็งจาเป็นสาหรับการออกแบบและการใช้งานระบบฟลูอิไดซ์ที่
มีป ระสิ ท ธิ ภ าพซึ่ ง อาจใช้ ใ นกระบวนการผสม การอบแห้ ง การแช่ เ ยื อกแข็ ง หรื อหน่วยปฏิ บั ติ การอื่ น ๆ ระบบฟลู อิไ ดเซชั นที่ มี
ประสิทธิภาพต้องการอัตราการไหลของอากาศที่เหมาะสมโดยไม่ทาให้วัสดุภายในเบดมีสภาวะสแตติก หรือหลุดลอดออกไปจากเบด
บทความวิชาการนี้จึงนาเสนอที่มาของสมการ Ergun ซึ่งเป็นสมการที่นิยมใช้ในการคานวณความเร็วต่าสุดของการเกิดฟลูอิไดซ์ และ
การหาคุณลักษณะของอนุภาคที่ใช้ประกอบการคานวณ ได้แก่ ขนาด ความหนาแน่นปรากฏ ความพรุน และแฟคเตอร์รูปร่าง
คาสาคัญ: ฟลูอิไดเซชัน, เบดฟลูอิไดซ์, ความเร็วต่าสุดของการเกิดฟลูอิไดซ์, สมการ Ergun

Abstract
Knowledge of the minimum fluidizing velocity of solid particles is essential for the effective design and
operation of fluidized beds which may be used for mixing, drying, freezing or other processes. A fluidized bed
requires correct setting of airflow in order to operate with no material remaining static on the bed and without
excessive elution of light materials. This article illustrates the foundation of the Ergun equation used to calculate
the minimum fluidizing velocity. Also characteristics of particles used in calculation; namely size, bulk density,
voidage or particle porosity and shape factor were represented
Keywords: Fluidization, Fluidized bed, Minimum Fluidizing Velocity, Ergun equation
1 บทนา เกาะติดกัน ซึ่งอนุภาคของแข็งที่อยู่ในลักษณะนี้ จะมีคุณสมบั ติ
ฟลูอิไ ดเซชัน (Fluidization) เป็นกระบวนการหรื อวิธีการที่ คล้ า ยของไหล ฟลู อิ ไ ดเซชั น แบ่ ง ตามสถานะของไหลได้ 2
ของแข็งซึ่งมีรูปร่างลักษณะเป็นเม็ด โดยที่มีส่วนที่สัมผัสกับของ ประเภท คือ
ไหลแล้วอนุภาคของแข็งเหล่านี้จะมีคุณสมบัติคล้ายของไหล โดย 1) ฟลู อิ ไ ดเซชั น สองสถานะ (Two-phase fluidization)
ที่ของไหลที่ใ ช้จะถู กปล่อยให้ผ่านมาทางด้านล่างของตะแกรงที่ หมายถึ ง ภายในหอทดลองหรื อ เบด (bed) ที่ ใ ช้ ง านจะ
รองรับอนุภาคของแข็ง แล้วจะไหลผ่านออกทางส่วนบนของหอ ประกอบด้วยสสารสองสถานะ คือ ของแข็งและของไหล ของไหล
ทดลอง ซึ่ง มีลั กษณะเป็นทรงกระบอก (Column) หรื อเป็นท่ อ นี้ อาจเป็ น ก๊ าซหรื อของเหลวก็ ไ ด้ ฟลู อิไ ดเซชั นสองสถานะจึ ง
เหลี่ยมแนวตั้ง เมื่อเพิ่มความเร็วของไหลให้มากขึ้นเรื่อยๆ จนใน แบ่งย่อยได้อีก 2 ประเภท (Figure 1) คือ ก๊าซฟลูอิไดเซชัน (Gas
ที่สุดอนุภาคของแข็งเริ่มจะเคลื่อนที่ และลอยตัวขึ้นเป็นอิสระไม่ fluidization) และฟลูอิไดเซชันของเหลว (Liquid fluidization)
24
วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปี ท่ี 18 ฉบับที่ 1 (2555), 24–33
ออกจากหอทดลองไปซึ่งในลักษณะนี้จะถือเป็นการขนถ่ายแบบ
ใช้ลม (Pneumatic conveyor) ดังแสดงใน Figure 2f หากส่ง
ถ่ายของแข็งด้วยของเหลวก็จะเรียกว่า การขนถ่ายด้วยของเหลว
(Hydraulic transport)
ก๊าซฟลูอิไดเซชันจะมีลักษณะเบดที่แตกต่างไปจากของเหลว
เมื่อเพิ่มความเร็วของก๊าซสูงกว่าความเร็วที่จะทาให้เกิดฟลูอิไดเซ
ชันแล้ว ก๊าซส่วนหนึ่ง ยังทาหน้าที่ให้เกิดการลอยตัวของอนุภาค
(a) Gas fluidization (b) Liquid fluidization ของแข็งเหมือนเดิม อีกส่วนหนึ่งจะรวมตัวกันแล้วก่อตัวเป็นฟอง
Figure 1 Two types of fluidized bed behavior ก๊าซเกิดขึ้น ฟองก๊าซเหล่านี้จะแทรกตัวขึ้นมายังผิวหน้าของเบด
และแตกตัวในที่สุด ขณะที่ฟองก๊าซลอยขึ้นมานี้ จะทาให้อนุภาค
2) ฟลู อิไ ดเซชั นสามสถานะ (Three-phase fluidization) ของแข็ง ไหลจากส่วนหลัง คาของฟองก๊ าซลงมายังส่ วนล่ าง โดย
หมายถึง ภายในหอทดลองจะประกอบด้วยสสารสามสถานะ คือ บางส่ ว นของอนุ ภ าคของแข็ ง จะลอยติ ด ตามฟองก๊ าซไปด้ ว ย
ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ซึ่ง พัฒนามาจากฟลูอิไดเซชันสอง ลักษณะดั งกล่าวทาให้ ภายในเบดจะมี การเคลื่ อนที่ อย่ างชุล มุ น
สถานะของหอทดลองที่เ ป็นฟอง (Bubble column) และหอ เบดชนิ ด นี้ เ รี ย กว่ า เบดวุ่ น วาย หรื อ ฟลู อิ ไ ดเซชั น วุ่ น วาย
ทดลองที่บรรจุด้วยของแข็ง (Packed bed) (Aggregative or bubbling bed) ดังแสดงใน Figure 2d และ
ปรากฏการณ์ ฟ ลู อิ ไ ดเซชั น เริ่ ม จากการใส่ ข องแข็ ง ในหอ 2e โดยฟองก๊าซที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ
ทดลอง แล้วปล่อยของไหลให้ไหลเข้าทางด้านล่างของหอทดลอง ขนาดและรูป ร่างของอนุภ าคของแข็ง ความเร็ วของก๊ าซ และ
ขณะที่ของไหลยังมีความเร็วต่า อนุภาคของแข็งจะไม่ขยับตัวเลย ลักษณะของแผ่นกระจายอากาศ โดยลักษณะของฟองก๊าซอาจ
ลักษณะของเบดเช่นนี้เรียกว่าเบดนิ่ง (Fixed bed) ดังแสดงใน แบ่งได้ดังนี้
Figure 2a ทั้ ง นี้ ความเร็ ว ในการไหลตามผิ ว (Superficial 1) Channeling เป็นการเกิ ดฟองก๊าซจากการผ่ านของก๊าซ
velocity, U) จะมีค่าน้อยกว่ าความเร็วต่าสุดในการเกิด ฟลูอิไ ด เป็นช่องๆ โดยที่อนุภาคของแข็งที่อยู่ตรงทางผ่านของก๊าซเท่านั้น
เซชัน (Minimum fluidizing velocity, Umf) ถ้าเพิ่มความเร็ว ที่มีการเคลื่อนที่ แต่บริเวณข้างเคียงจะไม่มีการเคลื่อนที่
ของของไหลให้มากขึ้นจนถึงความเร็วระดับหนึ่ง อนุภาคของแข็ง 2) Bubbling เป็นการเกิด ฟองก๊ าซที่เ กิด เมื่ อ ความเร็วของ
จะเริ่มขยับตัว และจัดตัวอย่างเป็นระเบียบเรียกว่า ฟลูอิไดเซชัน ของไหลสูงกว่าความเร็วที่ทาให้เกิดฟลูอิไดซ์เบด จะทาให้เกิดการ
ต่ าสุ ด (Incipient or minimum fluidization) ดั ง แ ส ด ง ใ น ลอยตัวของอนุภาคของแข็ง แต่ก๊าซอีกส่วนหนึ่งจะรวมตัวกันเป็น
Figure 2b ส าหรั บฟลู อิไดเซชั นของเหลว เมื่ อเพิ่ มความเร็ ว ฟองก๊ าซลอยขึ้ นมา ซึ่งจะทาให้อนุภาคของแข็ง ที่ติด อยู่บ นฟอง
จนกระทั่งการขยายตัวของเบดเป็นไปอย่างสม่าเสมอ การลอยตัว ก๊าซไหลจากส่วนบนของฟองก๊าซลงมายังส่วนล่าง และนอกจากนี้
และหมุนรอบตัวเองของของแข็ งจะเป็ นไปอย่ างช้าๆ เรี ยกว่ า มี บ างส่ ว นของอนุ ภ าคของแข็ ง ที่ ล อยติ ด ตามฟองก๊ าซไปด้ ว ย
เบดสม่าเสมอ (Particulate or smooth fluidization) ดังแสดง ลักษณะดังกล่าวทาให้ภายในเบดมีการเคลื่อนที่อย่างชุลมุน
ใน Figure 2c หากเพิ่มความเร็วของของไหลขึ้นไปอีก จะไปท า 3) Slugging เป็ นการเกิ ดฟองก๊าซหรื อการรวมตั วของฟอง
ให้ เ บดขยายตั วขึ้ นตามความเร็ วของของไหล เบดลั กษณะนี้ ก๊าซจนได้ฟองก๊ าซที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับขนาดเส้ น
เกือบจะพาเอาอนุภาคของแข็งออกไปจากหอทดลองจึงเรียกว่ า ผ่านศูนย์กลางของหอทดลอง มีการแยกตัวของอนุภาคของแข็ง
เบดเจือจาง (Diluted phase fluidized bed) หลังจากนั้นหาก เป็นชั้นๆ ทาให้การถ่ายเทมวลสารหรือความร้อนเกิดได้ไม่ทั่วถึง
เพิ่มความเร็วของไหลอีกเล็กน้อย อนุภาคของแข็งก็จะหลุดลอย เนื่ องจากอนุภ าคของแข็ง สั มผั ส กั บ ก๊ าซเป็ นเวลาอั นสั้ นหรื อไม่
สัมผัสเลยในบางส่วน

25
Journal of the Thai Society of Agricultural Engineering Vol. 18 No. 1 (2012), 24–33

(a) (b) (c) (d) (e) (f)


Figure 2 Schematic representation of fluidized beds in different regimes (Kunii and Levenspiel, 1991).

ฟลูอิไดเซชันสามารถนามาประยุกต์ใช้กับกระบวนการต่างๆ
ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากมาย อาทิ
การอบแห้ ง การแช่ เ ยื อ กแข็ ง เตาผลิ ต แก๊ ส ชี ว มวล เป็ น ต้ น
(ไพโรจน์ และศิ ว ะ, 2555) แต่ ห นั ง สื อ ต ารา หรื อบทความ
วิชาการเกี่ยวกับฟลูอิไดเซชันที่เป็นภาษาไทย ยังมีน้อย บทความ
นี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ นาเสนอการคานวณพื้นฐานเกี่ยวกับก๊าซ
ฟลูอิไดเซชัน ซึ่งแสดงที่มาของสมการ พร้อมกับการคานวณหา
คุณลักษณะของอนุภาคของแข็ง ซึ่งเป็นตัวแปรที่จาเป็นต้องทราบ

2 คุณลักษณะของอนุภาคของแข็ง
การเกิ ด เบดฟลู อิไ ดซ์ นั้ น นอกจากขึ้ น อยู่ กั บ ความเร็ วของ
อากาศแล้ ว ยั งขึ้ นอยู่ กับ ขนาดและความหนาแน่ นของอนุ ภ าค
Figure 3 A spouted bed experimental set-up (ปัณณธร, ของแข็งด้วย การออกแบบระบบฟลูอิไดเซชันจาเป็นต้องใช้ข้ อมูล
2548). คุณลักษณะของอนุภาคของแข็ง ดังต่อไปนี้
2.1 ขนาดของชิ้นวัสดุ (Particle size)
4) Spouted Bed เป็นการที่ก๊าซส่ วนใหญ่ ไหลผ่านเฉพาะ
เทคนิ คในการวั ด ขนาดของอนุ ภาคของแข็ ง มีห ลายเทคนิ ค
บริเวณตรงกลางของกลุ่มของอนุภาคของแข็งมากกว่าบริเวณรอบ
ขึ้นอยู่กับความสม่าเสมอของชิ้นวัสดุ หากชิ้นวัสดุมีขนาดใหญ่กว่า
ข้างด้วยความเร็วสูงมาก ทาให้บริเวณตรงกลางมีความหนาแน่น
1 mm และมีขนาดสม่าเสมอ การวัดขนาดของอนุภาคส่วนมาก
ของอนุภาคของแข็งน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณด้านข้าง
จะใช้เวอร์เนียคาลิปเปอร์ (Vernier caliper) ซึ่งเป็นเครื่องมือวัด
ลักษณะการไหลแบบนี้คล้ายกับน้าพุ พุ่งแรงตรงกลางแล้วตกลง
ที่ มีค วามละเอี ย ดสู ง ถึ ง 0.05 mm แต่ ห ากต้ องการทราบค่ า ที่
รอบๆ ข้าง (Figure 3) อนุภาคของแข็งจะถูกฉีดพร้อมกับอากาศ
ละเอียดมากกว่านั้นสามารถวัดด้วยไมโครมิเตอร์ (Micro meter)
ความเร็วสูง แล้วไหลขึ้นตรงส่วนกลางของสเปาต์ด้วยสภาวะเบา
ความละเอี ย ดสู ง ถึ ง 0.001 mm การวั ด ขนาดของอนุ ภ าค
บาง (Dilute phase) จากนั้นวัสดุจะไหลลงตามผนังด้านข้างด้วย
ของแข็งควรวัดให้ครอบคลุมทั้ง สามด้าน นั่นคือ ด้านที่ยาวที่สุ ด
สภาวะหนาแน่น (Dense phase) กลับสู่จุดเริ่มต้นด้านล่างเบด
ของอนุภาคของแข็ง หรือด้าน a ด้านที่ตั้งฉากกับด้าน a หรือด้าน
เป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ (ปัณณธร, 2548)
b และด้ า นที่ ท ามุ ม ทแยงกั บ ด้ า น a กั บ ด้ า น b หรื อ ด้ า น c

26
วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปี ท่ี 18 ฉบับที่ 1 (2555), 24–33
(Figure 4) แล้วแสดงผลของขนาดด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ ย เมื่ อ dp คื อ เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางเฉลี่ ย เรขาคณิ ต ของอนุ ภ าค
เรขาคณิต (Geometric mean diameter, dp) จานวนครั้งการ ของแข็ง (mm), a คือ ด้านที่ยาวที่สุดของชิ้นวัสดุ (mm), b คือ
วั ด ควรน่ า เชื่ อ ถื อ ซึ่ ง สามารถระบุ ไ ด้ จ ากค่ า ความเบี่ ย งเบน ด้านที่ตั้งฉากกับด้าน a (mm) และ c คือ ด้านที่ทามุมทแยงกับ
มาตรฐาน (Standard deviation, SD) ค่า SD ยิ่งต่ายิ่งมีความ ด้าน a กับด้าน b (mm)
น่าเชื่อถือ ทั้งนี้ด้าน a ด้าน b และด้าน c ของธัญพืชแต่ละชนิด หากอนุ ภ าคของแข็ ง มี ข นาดปานกลาง หรื อ มี ข นาดและ
แสดงใน Figure 4 ค่า dp หาได้จาก (Mohsenin, 1980) รูปร่างไม่สม่าเสมอ มักนิยมใช้เทคนิคตะแกรงร่อนในการหาขนาด
เฉลี่ยของชิ้นวัสดุตามวิธีของ ASABE Standards (2008)
(1)

Figure 4 Tracings of shape and designation of the three intercepts for seeds and grains obtained by a
photographic enlarger (Mohsenin, 1980).

2.2 รูปร่างของอนุภาค (Particle shape) ต่อมามีการพัฒนาสมการใหม่เพื่อหาค่าแฟคเตอร์รูปร่าง ซึ่ง


การหาขนาดและรูป ร่างของอนุ ภาค (Particle size and Gupta and Das (1997) ใช้หาขนาดเมล็ดทานตะวัน Selvi et
shape) ที่มีรูปร่างและขนาดสม่าเสมอ (Regular particles) เช่น al. (2006) ใช้ หาขนาดเมล็ ดลีนซีด (Linseed) Unal et al.
ทรงกลม (Spheres) สี่เ หลี่ ยมลูกเต๋า (Cubes) เป็นต้น ท าได้ (2008) ใช้หาขนาดเมล็ดถั่วเขียว
อย่างง่าย ๆ แต่ถ้าเป็นอนุภาคที่มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไม่
 acb 
1/ 3

สม่าเสมอ (Irregular particles) ซึ่งพบได้ ในการลดขนาดวัส ดุ  (3)


a
การระบุขนาดและรูปร่างที่ชัดเจนจะทาไม่ได้ ดังนั้นจึงมักอธิบาย
Olajide and Ade-Omowaye (1999) ได้พัฒนาสมการหา
รู ป ร่ า งในตั ว แปรของแฟคเตอร์ รู ป ร่ า ง (Shape factor or
แฟคเตอร์ รู ป ร่ างจากอั ต ราส่ วนของปริ ม าตรของของแข็ ง กั บ
Sphericity) มีนักวิจัยหลายคนที่ใช้วิธีการนี้ในการระบุรูปร่างของ
ปริมาตรของทรงกลมที่มีปริมาตรเทียบเท่าดังนี้
ชิ้นวัสดุ อาทิ Dutta et al. (1988) ที่ใช้หาขนาดเมล็ดถั่ว Gram
1/ 3
(Cicer arietinum L.) Olaoye (2000) ที่ใช้หาขนาดถั่ว Castor,    
  6  abc   bc 
1/ 3
Kaleemullah and Kailappan (2003) ที่ใช้หาขนาดผลพริก       2 (4)
เป็นต้น แฟคเตอร์รูปร่างหาได้จาก (Mohsenin, 1980)     a3  a 
  6  
di
 (2) 2.3 ช่องว่างของวัสดุ (Voidage or particle porosity)
dc
อนุ ภ าคของแข็ ง ที่ บ รรจุ อยู่ ใ นเบดไม่ ว่าจะบรรจุ อย่ า งเป็ น
เมื่อ   คือ แฟคเตอร์รูปร่าง (dimensionless), di คือ เส้น
ระเบี ย บหรื อแบบไม่ เ ป็ นระเบี ย บ (Random packing) ก็ ต าม
ผ่านศูนย์กลางของวงกลมเล็ กสุดในอนุภาคของแข็ง (mm) และ
ย่อมเกิดช่องว่างระหว่างอนุภาคของแข็งขึ้ นเสมอ จะมีมากหรื อ
d c คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมใหญ่สุดในอนุภาคของแข็ง
น้อยขึ้นอยู่ กับ คุ ณลั กษณะและขนาดของอนุ ภ าคของแข็ ง หาก
(mm)
27
Journal of the Thai Society of Agricultural Engineering Vol. 18 No. 1 (2012), 24–33
อนุภาคของแข็งมีผิวราบเรียบมักไม่เป็นปัญหามากนัก แต่ถ้าเป็น เมื่อ  mf คือ ช่องว่างของวัสดุในเบดฟลูอิไดซ์ (dimensionless),
อนุ ภ าคของแข็ ง ที่ มี รู พ รุ น (Pore) อยู่ ภ ายในด้ ว ยแล้ ว การหา Lmf คือ ความสูงต่าสุดของเบดที่ท าให้เ กิดฟลูอิไดเซชั น (m),
ปริมาณของช่องว่างที่แท้จริงย่อมกระทาได้ยากมาก เพราะขนาด L0 คือ ความสูงของอนุภาคของแข็งในเบดนิ่ง (m) และ L คือ
ของรู พ รุ น มี ข นาดเล็ ก มาก วั ด ได้ เ ป็ น หน่ ว ยของไมครอน ความสูงของอนุภาคของแข็งในเบดฟลูอิไดซ์ (m)
(Microns) ยกตั วอย่างเช่น ถ่ านกั มมั นต์ (Activated carbon)
อลู มินากั มมั นต์ (Activated alumina) ดิ นกั มมั นต์ (Activated
clay) ถ่านโค้ก (Coke) เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบช่องว่างที่เป็นรู
พรุนกับช่องว่างระหว่างเม็ด (Voidage) แล้ว อย่างแรกมีค่าน้อย
กว่าอย่างหลังมากจนไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ ช่องว่างของ
วัสดุภายในเบดนิ่งหาได้จาก
 mP  B  
  1    1 B (5)
  m  p
 p P 

เมื่อแทนค่า  B ซึ่งได้แก่อัตราส่วนมวลต่อปริมาตร จะได้


mp
  1 (6)
 p LA Figure 5 Fluidized bed height.
เมื่อ  คือ ช่องว่างของวัสดุในเบดนิ่ง (dimensionless),  B
คือ ความหนาแน่นปรากฎของวั สดุ (kg/m2),  p คือ ความ 4 ความเร็ ว ต่ าสุ ด ที่ ท าให้ เ กิ ด ฟลู อิ ไ ดเซชั น (Minimum
หนาแน่นที่แ ท้จริงของวัสดุ (kg/m2), mp คือ มวลของอนุภาค fluidizing velocity)
ทั้งหมดในเบด (kg), A คือ พื้นที่หน้าตัดของเบด (m2) และ L 4.1 การใช้สมการหาความเร็วต่าสุดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดเซชัน
คือ ความสูงของเบดวัสดุ (m) ในขณะที่ อนุ ภ าคของแข็ ง เริ่ มลอยตั วเป็ น อิ ส ระอยู่ นั้นอาจ
กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า อนุภาคของแข็งอยู่ในสภาวะสมดุลของแรง
3 ช่องว่างของวัสดุในเบดฟลูอิไดซ์ สองแรงที่เกิดขึ้นบนอนุภาคของแข็ง คือแรงที่เกิดจากน้าหนักของ
ระบบฟลูอิไดเซชันพื้นฐานประกอบไปด้วย เบด (Bed) แผ่น ตัวอนุภาคของแข็งเองกั บแรงพยุงจากของไหลหรือเกิด จากแรง
กระจายของไหล (Distributor) ห้ องพักลม (Plenum) และ เสียดทานกับแรงต้านของของไหล ดังนี้
แหล่งกาเนิดลม (Blower) เบดเป็นพื้นที่ของอนุภาคของแข็งใน
แรงพยุงวัสดุของแข็ง = น้าหนักของอนุภาคของแข็ง (9)
หอทดลองทั้ ง หมดตั้ ง แต่ แ ผ่ นกระจายของไหล (Distributor)
จนถึงระดับสูงสุดคือผิวหน้าของอนุภาคของแข็ง (Figure 5) หรือ
ที่ความเร็วของของไหลคงที่ค่าหนึ่ง ความสูงของเบดตลอด ความดันตกคร่อมเบดxพื้นที่หน้าตัดของคอลัมน์ =
พื้นที่ภาคตัดขวางของคอลัมน์ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ค่าความพรุน
ปริมาตรของวัสดุภายในเบดxน้าหนักจาเพาะของของแข็ง (9’)
ของเบดจะแปรผันตามความสูงของเบด ดังนี้
เมื่อ PA คือ แรงพยุงวัสดุของแข็ง (N), (1   mf ) ALmf คือ
 L  L0   1  L0
 mf  (7) ปริ ม าตรของวั ส ดุ ข องแข็ ง ทั้ ง หมดโดยไม่ ร วมช่ อ งว่ า ง (m3),
L L
(  p   f ) g คือ น้าหนักจาเพาะของวัสดุของแข็งภายในเบด
จากความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งความสู ง ของเบดสองสภาวะ
(N/m3) และ (1   mf )(  p   f ) ALmf g คือ น้าหนักของ
(เบดนิ่ ง และเบดฟลู อิไ ดซ์ ) ท าให้ ส ามารถค านวณหาความสู ง
วัสดุของแข็งภายในเบด (N)
ต่าสุดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดเซชัน ได้จาก
สมการ (9) เขี ยนใหม่ไ ด้ เ ป็น (Kunii and Levenspiel,
Lmf  L0
1    (8) 1991; Gidaspow, 1994; Yang, 1999)
1   mf
PA  (1   mf )(  p   f ) ALmf g (10)
28
วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปี ท่ี 18 ฉบับที่ 1 (2555), 24–33
จัดระเบีย บสมการ (10) ใหม่ จึ งได้ค วามสัมพันธ์ร ะหว่าง ของวัส ดุ ใ นเบดฟลู อิไดซ์ มีค่ าไม่ค งที่แ ละไม่ แ น่นอน นอกจากนี้
ความดันตกคร่อมต่อความสูงของเบดกับน้าหนักของวัสดุของแข็ง วัส ดุ ยัง มี รู ปร่ างไม่ ส ม่าเสมอและไม่ แน่ นอน แต่อย่ างไรก็ต ามมี
ที่ เ ริ่ ม ท าให้ เ กิ ด ฟลู อิ ไ ดเซชั น ดั ง นี้ (Kunii and Levenspiel, สมการหลายสมการที่ ใช้ในการทานายค่าความเร็วต่าสุดที่ทาให้
1991; Yang, 1999; Smith, 2007) เกิดฟลูอิไดเซชัน สมการที่นิยมใช้คือสมการ Ergun ซึ่งเป็นสมการ
P แบบกึ่งเอมพิริคัล (Semi-empirical equation) ซึ่งปรับปรุงมา
 (1   mf )(  p   f ) g (11) จากสมการของ Blake-Kozeny ที่ใช้สาหรับค่าเรย์โนลด์น้อยกว่า
Lmf
10 และสมการของ Burke-Plummer ที่ใช้สาหรับค่าเรย์โนลด์
เมื่ อ P = ความดั นตกคร่ อมเบดวั ส ดุ (N/m2), A คื อ พื้ น ที่
มากกว่า 1,000 Figure 6 เป็นกราฟความสัมพันธ์ของแฟคเตอร์
ภาคตัดขวางของเบด (m2), Lmf คือ ความสูงต่าสุดของเบดที่ทา
ความเสียดทานกับค่าเรย์โนลด์ที่ได้มาจากการทดลองที่สามารถ
ให้ เ กิ ด ฟ ลู อิ ไดเ ซชั น (m),  mf คื อ ช่ อง ว่ า ง ภาย ในเ บ ด
นามาใช้ ได้ทั้ งช่วงความเร็วต่ าและความเร็วสู ง หรือส าหรั บการ
(dimensionless),  p คือ ความหนาแน่นที่แท้จริงของอนุภาค ไหลแบบราบเรี ย บและการไหลแบบปั่ น ป่ ว น ตลอดจนช่ ว ง
ของแข็ง (kg/m3),  f คือ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3) เปลี่ ย นแปลงการไหล จึ ง สามารถเขี ย นความสั ม พั นธ์ ไ ด้ เ ป็ น
และ g = ความเร่งอันเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (m/s2) (Ergun, 1952; Bird, 1960; Ibarz and Barbosa-Canovas,
การหาความเร็ วต่ าสุ ดที่ ท าให้ เ กิด ฟลู อิไ ดเซชั นโดยการ 2003)
จาลองสภาวะการทางานทาได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากความพรุน

Figure 6 the correlation between Ergun and Blake-Kozeny at Re < 10; Ergun and Burke-Plummer equation at Re >
1,000 (adapted from Bird, 1960).

150 เมื่อ f p คือ แฟคเตอร์ความเสียดทานในเบดของอนุภาคของแข็ง


fp   1.75 , 1 ≥ Re p ≥ 1,000 (12)
Re p (dimensionless), Re p คื อ ตั ว เ ลขเ รย์ โนล ด์ ข องอนุ ภาค
(dimensionless), P คือ ความดันตกคร่อมเบด (N/m2), L
นอกจากนั้ นจะพบว่ า ค่ าแฟคเตอร์ ค วามเสี ย ดทานยั ง เป็ น
คือ ความสูงของเบดของอนุภาคของแข็ง (m), d p คือ เส้นผ่าน
ฟั ง ก์ ชั น ของความดั น ตกคร่ อมเบดและความสู ง ของเบดและ
ศูนย์กลางของวั สดุที่เป็ นของแข็ง (m),  คือ ช่องว่างภายใน
ค วา มเ ร็ ว ดั ง ส ม กา ร (13) (Bird et al., 2002; Ibarz and
เบด (dimensionless), U mf คือ ความเร็วของอากาศที่พัดผ่าน
Barbosa-Canovas, 2003)
เบด (m/s) ซึ่งหาได้จากความสั มพันธ์ ระหว่างอัตราการไหลเชิ ง
P d p  3  ปริมาตรกับพื้นที่หน้าตัดของเบด และ  f คือ ความหนาแน่น
fp    (13)
L  f U mf2  1   ของของไหล (kg/m3) ซึ่งตัวเลขเรย์โนลด์ของอนุภาคหาได้จาก

29
Journal of the Thai Society of Agricultural Engineering Vol. 18 No. 1 (2012), 24–33
 pU m d p ดังสมการ (17) โดย Gupta et al. (2009) ใช้คานวณความเร็วที่
Re p  (14)
 ใช้ในการฟลูอิไดซ์กากแร่ละเอียด
แทนค่ า สมการ (14) ในสมการ (12) แล้ ว ให้ ส มการ (12)
 d      f    mf
2
3


p s
เท่ากับสมการ (13) จะได้สมการ (15) สาหรับทานายการสูญเสีย U mf g 
150   1 
พลั งงานในการไหลผ่านเบดต่ อความสูง ของเบดซึ่ งประกอบไป  mf 
ด้ ว ยสองเทอมคื อ ผลเนื่ อ งมาจากความหนื ด ของของไหล , 1 ≤ Re p ≤ 1,000 (17)
(Viscous effect) และเนื่องจากพลังงานจลน์ (Kinetic effect) ส าหรั บ การฟลู อิไ ดซ์ ด้ วยความเร็ วสู ง ที่ เ ป็ นการไหลแบบ
(Kunii and Levenspiel, 1991; McCabe et al., 2005; ปั่นป่วน (Turbulent flow) ซึ่งเหมาะสมกับ วัสดุที่ เป็นชิ้ นหรื อ
Smith, 2007) จากสมการ (15) ชี้ให้เห็นว่าความดันสูญเสียจะ เป็นเม็ดที่มีขนาดอนุภาคใหญ่ หรือ d p ≥ 0.1 mm สามารถตัด
ขึ้นกับช่องว่างภายในเบด (mf) เป็นอย่างมาก ทั้งนีว้ ัสดุทรงกลม เทอมที่ ห นึ่ง ในสมการ (15) ได้เ พราะความหนื ด มี ผลน้ อยกว่ า
จะมีค่า mf ประมาณ 0.37 - 4.0 ส่วนวัสดุทรงกระบอกจะมีค่า ความเฉื่อย ตามสมการ (18) ของ Burke-Plummer (Ibarz and
mf ประมาณ 0.35 (McCabe et al., 2005) และหากวัสดุมี Barbosa-Canovas, 2003; McCabe et al., 2005; Green
รูปร่างไม่แน่นอนต้องคิดค่าแฟคเตอร์รูปร่าง () เข้าไปด้วย ทา and Perry, 2008)
ใ ห้ พ ลั ง ง าน สู ญ เ สี ย ยิ่ ง มี ค่ า ม า กขึ้ น ไป ด้ วย (Kunii and f p  1.75 , Re p ≥ 1,000 (18)
Levenspiel, 1991; Ibarz and Barbosa-Canovas, 2003;
จะได้ส มการคานวณหาความเร็ วต่ าสุ ดที่ ทาให้เ กิด ฟลู อิไ ดเซชั น
McCabe et al., 2005; Green and Perry, 2008) สาหรับการ
สาหรับการฟลูอิไดซ์ที่ความเร็วสูง และวัสดุมีขนาดใหญ่เป็นชิ้น ๆ
ไหลในช่ วงขณะเกิ ด การเปลี่ ย นแปลง (Transition flow) ที่ มี
ดังสมการ (19) ซึ่ง ชริน (2547) ใช้คานวณความเร็วที่ใช้ในการ
ความเร็ ว สู ง กว่ าการไหลแบบราบเรี ย บ (Laminar flow) แต่
ฟลู อิไ ดซ์ เ มล็ ด ข้ าวโพด กิ ต ติ แ ละกิ ต ติ ชั ย (2547) ใช้ ค านวณ
ความเร็ ว ยั ง ไม่ สู ง มากพอที่ จ ะเป็ น แบบปั่ น ป่ ว น (Turbulent
ความเร็วที่ใช้ในการฟลูอิไดซ์พริก (Capsicum anum Linn)
flow) สามารถใช้ ส มการ (15) ในการค านวณหาความดั นตก
คร่อมเบดได้ 2
U mf 
 d   
p s  f  g 3

1.75 f mf

P 150 1   mf  U mf 1.75 1   mf   f U mf
2 2

  , Re p ≥ 1,000 (19)
Lmf  mf3  2 d p2  mf3  d p
(15) เมื่อ P คือ ความดันตกคร่อมเบดต่าสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชัน
การฟลูอิไดซ์ด้วยความเร็ วต่า ที่เ ป็นการไหลแบบราบเรีย บ (N/m2), Lmf คือ ความสูงของเบดที่จุดเริ่มเกิดฟลูอิไดเซชัน (m),
เหมาะสาหรับวัสดุที่เป็นผงละเอียดซึ่งขนาดอนุภาคเล็กมาก หรือ U mf คือ ความเร็วต่าสุดของเบดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดเซชัน (m/s),
d p ≤ 0.1 mm, Re p ≤ 10 สามารถตัดเทอมที่สองในสมการ  s คือ ความหนาแน่นที่แท้จริงของของแข็ง (kg/m3),  f คือ
(15) ออกได้ เนื่องจากการไหลที่ ความเร็วต่าๆ หรือในช่วงการ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3),  คือความหนืดสัมบูรณ์
ไหลแบบราบเรียบ ความหนืดของของไหลจะมีผลต่อการไหลเป็น ของของไหล (Pa.s), d p คือ เส้นผ่ านศู นย์กลางของอนุภาค
อย่างมาก ดังสมการ (16) ของ Kozeny-Carman (Ibarz and ของแข็ง (m), คือ แฟคเตอร์รูปร่าง (dimensionless),  mf
Barbosa-Canovas, 2003; McCabe et al., 2005; Green คื อ ช่ อ งว่ างภ าย ในเบด ต่ าสุ ด ที่ ท าให้ เกิ ดฟลู อิ ไ ดเ ซชั น
and Perry, 2008) (dimensionless) และ g คือความเร่งอันเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
150 ของโลก (m/s2)
fp  , 1 ≥ Re p ≥ 1,000 (16)
Re p Figure 7 แสดงให้เห็นช่วงของการเกิดการสูญเสียพลังงานใน
การไหลผ่านเบดต่อความสูงของเบดในช่วงเบดนิ่งซึ่งสามารถหา
จะได้สมการคานวณหาความเร็วต่าสุดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดซ์เซ
ได้ จากสมการ (15) แต่ ห ากเป็นเบดฟลู อิไดซ์ สามารถใช้ ได้ ทั้ ง
ชันสาหรั บการฟลูอิไดซ์ที่ ความเร็วต่าและวัสดุมีขนาดเล็กมากๆ
สมการ (11) และ (15)

30
วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปี ท่ี 18 ฉบับที่ 1 (2555), 24–33
4.2 การทดลองเพื่อหาความเร็วต่าสุดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดเซชัน
ความเร็วต่าสุดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดเซชันสามารถหาได้จากการ
ทดลองเมื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างความดันตกคร่อมเบดฟลูอิ
ไดซ์กับความเร็วในการไหลตามผิว (Superficial velocity, Umf)
ดังแสดงใน Figure 8 โดยกาหนดจากจุดตัดระหว่างเส้นแนวโน้ม
ในช่วงเบดนิ่งที่ความดันคร่อมเบดจะแปรผันตรงกับความเร็วใน
การไหลตามผิวกับ เส้นแนวโน้มในช่วงเบดฟลู อิไดซ์ ซึ่ งความดั น
ตกคร่ อมเบดจะค่อนข้างคงที่ เมื่ อวั ส ดุเ ริ่ มเกิ ดการฟลู อิไ ดเซชั น
เนื่ อ งจากน้ าหนั ก ของอนุ ภ าคของแข็ ง ถู ก รองรั บ โดยกระแส Figure 8 Umf determination from the experimental
ของไหล (Kunii and Levenspiel, 1991; Gidaspow, 1994; data (Smith, 2007).
Smith, 2007)
ความเร็ วต่ าสุ ด ที่ ท าให้ เ กิ ด ฟลู อิ ไ ดเซชั น จริ ง ที่ ไ ด้ จ ากการ 5 บทสรุป
ทดลองจะมีค่าเบี่ยงเบนไปจากที่ได้จากสมการร้อยละ 59.6 เมื่อ ระบบฟลู อิไ ดเซชั นที่มีป ระสิ ทธิ ภ าพต้ องการอั ต ราการไหล
ฟลูอิไดซ์เมล็ดข้าวโพด (จิรเมธา, 2549) ร้อยละ 5 - 38 เมื่อฟลูอิ ของอากาศที่เหมาะสมโดยไม่ทาให้วัสดุภายในเบดมีสภาวะสแต
ไดซ์ glass beads ขนาด 4 และ 5 mm (ศิลาพันธุ์ และคณะ, ติกหรือหลุดลอดออกไปจากเบด ดังนั้นความเร็วต่าสุดที่ทาให้เกิด
2546) โดยความเร็วต่าสุ ดที่ทาให้เกิดฟลูอิไดเซชัน แปรผันตาม เบดฟลูอิไดซ์จึงเป็นพารามิเตอร์สาคัญในการออกแบบระบบ โดย
อุณหภูมิของเบดที่เพิ่มขึ้นแต่ไม่เกินอุณหภูมิการสะตุ (Sintering) สมการ Ergun ซึ่งเป็นสมการแบบกึ่งเอมพิริคัล (Semi-empirical
ของ glass beads ขนาด 0.84 - 1.5 mm (Guo et al., 2004) equation) เป็นสมการที่นิยมใช้ในการคานวณหาความเร็วต่าสุด
ที่ ท าให้ เ กิ ด เบดฟลู อิไ ดซ์ ซึ่ง ต้ องทราบคุ ณลั กษณะของอนุ ภ าค
โดยขนาดอนุภาคยิ่งใหญ่ค่าเบี่ยงเบนยิ่งน้อย (10 - 100 m)
ของแข็ง อาทิ ขนาดของชิ้นวัสดุ รูปร่างของอนุภาค และช่องว่าง
ในทางกลับกันอนุภาคยิ่งเล็กค่าเบี่ยงเบนยิ่งสูง (6 m) แสดงว่า
ของวัสดุ สมการนี้ประกอบไปด้วยสองเทอมคือ การสูญเสียความ
สมการ Ergun เหมาะสมที่สุดกับอนุภาคกลุ่ม A (Geldart group
ดันอันเนื่องมาจากความเสี ยดทานกั บของไหล (Viscous drag)
A) แต่ อย่ างไรก็ต ามสามารถใช้ ได้ กับอนุ ภ าคกลุ่ ม C (Geldart
และเนื่ อ งมาจากการสู ญ เสี ย พลั ง งานจลน์ (Kinetic losses)
group C) ที่มีขนาดอนุภาคใหญ่ 10 m ขึ้นไป (Mawatari et นอกจากนี้ยังหาได้จากการทดลองเมื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่าง
al., 2003) ความดั นตกคร่ อมเบดฟลู อิไ ดซ์ กับ ความเร็ วในการไหลตามผิ ว
(Superficial velocity)

Figure 7 Comparison of the use of equations for determining the pressure drop across the bed.

31
Journal of the Thai Society of Agricultural Engineering Vol. 18 No. 1 (2012), 24–33
6 กิตติกรรมประกาศ Ergun, S. 1952. Fluid flow through packed columns.
คุณูปการจากบทความฉบับนี้ ขอมอบให้คณาจารย์ทุกท่านที่ Chemical Engineering Progress 48(2): 89-94.
ประสิทธิ์ประสาทความรู้ให้แก่ผู้เขียน ขอขอบคุณเจ้าของผลงาน Gidaspow, D. 1994. Multiphase flow and fluidization :
ทุกท่านที่ผู้เขียนใช้อ้างอิงในการเขียนบทความฉบับนี้ continuum and kinetic theory descriptions. Boston,
Academic Press.
7 เอกสารอ้างอิง Green, D. W. and Perry, R. H. 2008. Perry's chemical
กิ ต ติ สิ ท ธิ ป ระภาพร และกิ ต ติ ชั ย ไตรรั ต นศิ ริ ชั ย . 2547. engineers' handbook, 8th Ed. McGraw-Hill.
คุณลักษณะการอบแห้งพริกด้วยเทคนิคฟลูอิดไดซ์เบด. การ Guo, Q., Suda, T., Sato, J. C. and Yue, G. 2004.
ประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย Agglomeration behavior in a bubbling fluidized bed
ครั้งที่ 18, 18-20 ตุลาคม 2547 จังหวัดขอนแก่น. at high temperature. Chem. Eng. Comm., 191, 1329-
จิรเมธา สังข์เกษม. 2549. การเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งเมล็ด 1342.
ข้าวโพดโดยใช้ฮีตเตอร์เป็นความร้อนเสริมในฟลูอิดไดซ์เบดที่ Gupta, R.K. and Das, S.K. 1997. Physical properties of
ใช้ฮี ตปั๊ม . การประชุมวิ ชาการเครือข่ายวิศ วกรรมเครื่องกล sunflower seeds. J. agric. Engng Res. 66: 1-8.
แห่ งประเทศไทยครั้ งที่ 20, 18-20 ตุ ล าคม 2549 จั งหวั ด Ibarz, A. and Barbosa-Canovas, G. V. 2003. Unit
นครราชสีมา. operations in food engineering. Boca Raton, CRC
ชริน สังข์เกษม. 2547. การศึกษาฟลูอิดไดเซชั่นโดยใช้ความร้อน Press.
จากชุดคอนเดนเซอร์เพื่อใช้ในกระบวนการอบแห้ง . ใน การ Kaleemullah, S. and Kailappan, R. 2003. Geometric and
ประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย morphometric properties of chillies. International
ครั้งที่ 18, 18-20 ตุลาคม 2547 จังหวัดขอนแก่น. J. of Food Properties 6(3), 481-498.
ปัณณธร ภั ท รสถาพรกุ ล . 2548. การท าให้ เป็ นเม็ ด ด้วยวิธีแ ช่ Kunii, D. and Levenspiel, O. 1991. Fluidization
เยือกแข็ง. วารสารสมาคมเครื่องทาความเย็นไทย 14, 15-18. engineering. New York and London: Wiley & Sons., Inc.
ไพโรจน์ จันทร์แก้ว และศิวะ อัจฉริยวิริยะ. 2555. บทวิเคราะห์ 534 pp.
การอบแห้งธัญพืชโดยประยุกต์ใช้เทคนิคฟลูอิดไดซ์เบด. ใน Mawatari, Y., Tatemoto,Y. and Noda, K. 2003. Prediction
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย of minimum fluidization velocity for vibrated fluidized
ครั้งที่ 13, 4-5 ตุลาคม 2555 จังหวัดเชียงใหม่. bed. Powder Technology 131: 66–70.
ศิลาพันธุ์ ประทุมทิพย์, สมิทธ์ เอี่ยมสอาด และวิษณุ มีอยู่ . 2546. McCabe, W.L., Smith, J.C. and Harriott, P. 2005. Unit
การศึกษาการเกิดฟลูอิดไดซ์เซชั่นในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิดไดซ์ operations of chemical engineering. Boston, Mass.,
เบดแบบสองสถานะที่ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นแผ่ น กระจาย . McGraw-Hill.
วิศวกรรมสาร ม.ข. 30(3): 261-273. Mohsenin, N.N. 1980. Physical properties of plant and
ASABE Standards. 2008. Method of determining and animal material, 3rd revised and updated Ed. Gordon
expressing fineness of food materials by sieving. and Breach Science Publishers: AW Amsterdam, the
ASAE S319.4 FEB2008. St. Joseph, Mich. ASAE. Netherlands.
Bird, R. B. 1960. Transport phenomena. New York, Olajide, J.O. and Ade-Omowaye, B.I.O. 1999. Some
Wiley. physical properties of locust bean seed. J. agric.
Bird, R.B., Stewart,W.E. and Lightfoot, E.N. 2001. Transport Engng Res. 74, 213-215.
phenomena, 2nd Ed., Wiley, New York. Olaoye, J.O. 2000. Some physical properties of castor nut
Dutta, S.K., Nema, V.K. and Bhardwaj, R.K. 1988. Physical relevant to the design of processing equipment. J.
properties of gram. J. agric. Engng Res. 39, 259-268. agric. Engng Res. 77(1), 113-118.

32
วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ปี ท่ี 18 ฉบับที่ 1 (2555), 24–33
Perry, R. H., Green, D. W. and Maloney, J.O. 1997. Perry's
Chemical Engineers' Handbook. McGraw-Hill. 2640 p.
Selvi, S.Ç., Pinar, Y. and Yesiloglu, E. 2006. Some physical
properties of linseed. Biosystems Engineering 95(4):
607-612.
Smith, P.G. 2007. Applications of fluidization to food
processing. Oxford: Blackwell Science.
Unal, H., Isik, E., Izli, N. and Tekin, Y. 2008. Geometric and
mechanical properties of mung bean (Vigna radiate
L.) grain: effect of moisture. International J. of Food
Properties 11: 585-599.
Yang, W.C. 1999. Fluidization, solids handling and
processing : industrial applications. Westwood, N.J.,
Noyes.

33

View publication stats

You might also like