You are on page 1of 250

Aviation law

CAAT
14 November 2019
Module I, II
Somchai Piputwat
piputwat.s@gmail.com
ประกาศสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
ปฐมเหตุ เรื่อง นโยบายและกระบวนการบังคับใช้กฎหมายด้านการบิน
(Aviation Enforcement Policy and Procedure)
----------------------------------
สำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทยมีอำนำจหน้ำที่ในกำรกำกับดูแล ควบคุม
ตรวจสอบ ติดตำม และประเมินผล กำรปฏิบัติในเรื่องทั้งปวงที่เกี่ยวกับกิจกำรกำรบินพลเรือน
ดังนั้น เพื่อให้มั่นใจว่ำผู้เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติตำมกฎหมำยและระเบียบด้ำนกำรบินพลเรือนได้อย่ำง
ถูกต้องเพื่อเสริมสร้ำงควำมปลอดภัยตำมกฎหมำยและมำตรฐำนสำกล และเมื่อมีกำรฝ่ำฝืนต่อ
กฎหมำยและกฎระเบียบด้ำนกำรบิน เจ้ำหน้ำที่ของสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
จะดำเนินกำรบังคับใช้กฎหมำยได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โปร่งใส และไม่เลือกปฏิบัติ เพื่อให้กำร
กำกับดูแลกำรบินพลเรือนของประเทศไทยเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ... ให้เป็นไปตำมคู่มือ...
แนบท้ำยประกำศนี้
14/11/2019 ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
SP 2
14/11/2019 SP 3
14/11/2019 SP 4
ประกาศสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
เรื่อง จรรยาบรรณในการดาเนินงานของพนักงานและลูกจ้างสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
-----------------------------
เพื่อเป็นกำรกำหนดแนวทำง แบบแผน และมำตรฐำนควำมประพฤติเกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำน
ของพนักงำนและลูกจ้ำงของสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ให้ดำเนินกำรอย่ำงโปร่งใส
มีคุณธรรมและมีควำมรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
อำศัยอำนำจตำมพระรำชกำหนดกำรบินพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๘ มำตรำ ๒๘ (๘) และระเบียบ
คณะกรรมกำรกำกับสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทยว่ำด้วยกำรบริหำรงำนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๘ (๒) ผู้อำนวยกำรสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจึงออกประกำศไว้
ดังต่อไปนี้ ....

ประกำศ ณ วันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐


14/11/2019 SP 5
๑. การปฏิบัติตามกฎหมายและเคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชนสากล
บุคลำกรของ กพท. ทุกคนพึงตระหนักว่ำ กพท. เป็นหน่วยงำนของรัฐที่มีอำนำจหน้ำที่
ในกำรกำกับดูแล ควบคุม ส่งเสริมและพัฒนำกิจกำรกำรบินพลเรือน ทั้งในด้ำนนิรภัยกำรบิน
กำรรักษำสิ่งแวดล้อม กำรรักษำควำมปลอดภัย กำรอำนวยควำมสะดวกในกำรขนส่งทำงอำกำศ
เศรษฐกิจกำรขนส่งทำงอำกำศ และด้ำนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกำรกำรบินพลเรือน ให้เป็นไปตำม
กฎหมำยและมำตรฐำนสำกล ดังนั้น บุคลำกรของ กพท. จึงต้องปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่กฎหมำย
ให้อำนำจ
อนึ่ง ในกำรปฏิบัติงำนของบุคลำกรของ กพท. ย่อมมีกำรติดต่อเกี่ยวข้องกับสังคมโลก
อันเป็นสังคมที่ปกครองโดยอำศัยอำนำจตำมกฎหมำยหรือนิติรัฐแต่ละประเทศที่ กพท. เข้ำไป
เกี่ยวข้องมีระบบกฎหมำย ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่แตกต่ำงกัน แต่ก็ยึดถือหลักสิทธิมนุษยชน
สำกลเป็นหลักปฏิบัติร่วมกัน บุคลำกรของ กพท. ทุกคนจึงต้องเคำรพกฎหมำยของแต่ละประเทศ
และหลักสิทธิมนุษยชนสำกล รวมทั้งยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมำย
14/11/2019 SP 6
แนวปฏิบัติที่ดี
๑.๑ การปฏิบัติงานตามกฎหมาย
๑.๑.๑ บุคลำกรของ กพท. ต้องปฏิบัติงำนตำมอำนำจหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ
ทีก่ ฎหมำยกำหนดอย่ำงชัดเจน และต้องดำเนินกำรภำยใต้อำนำจกฎหมำยที่มีบทบัญญัติรองรับ
อย่ำงชัดเจนและเคร่งครัด โดยให้ส่วนงำนกำหนดแนวทำงกำรปฏิบัติงำนที่ชัดเจน สอดคล้องตำม
ขั้นตอนและกรอบของกฎหมำย เช่น มีคู่มือกำรปฏิบัติงำนที่แสดงได้ว่ำกำรปฏิบัติงำนในเรื่อง
ดังกล่ำวเป็นไปตำมขั้นตอนของกฎหมำยหรือกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และตรวจสอบได้
๑.๑.๒ บุคลำกรของ กพท. แสดงได้ว่ำกำรปฏิบัติหน้ำที่ตำมกฎหมำยได้ดำเนินกำรอย่ำง
มีประสิทธิผล บนพื้นฐำนควำมเข้ำใจในอำนำจหน้ำที่ที่มีอย่ำงชัดเจน ถูกต้อง เป็นธรรม และด้วย
ควำมรับผิดชอบ
๑.๑.๓ เพื่อประสิทธิภำพในกำรดำเนินงำนบุคลำกรของ กพท. ต้องทำควำมเข้ำใจกฎหมำย
ที่เกี่ยวข้องกับหน้ำที่และควำมรับผิดชอบของตนโดยตรงให้ถี่ถ้วน ทั้งกฎหมำยภำยในและกฎหมำย
ระหว่ำงประเทศ
14/11/2019 SP 7
๑.๒ การปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ และ
ปลอดจากการทุจริต
๑.๒.๑ บุคลำกรของ กพท. ต้องปฏิบัติงำนที่มีควำมเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสีย๑ ด้วยควำม
เป็นอิสระ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และป้องกันกำรทุจริต
๑.๒.๒ ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในกำรตีควำม (interpretation) ระเบียบกฎเกณฑ์
หรือกำรดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่ใด ๆ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ต้องจัดให้มีขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่
เป็นอิสระ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ ป้องกันกำรทุจริต และเป็นมำตรฐำนเดียวกัน รวมทั้งมี
กำรจัดทำบันทึกกำรดำเนินกำรไว้เป็นลำยลักษณ์อักษร
-----------------------
๑ผู้มีส่วนได้เสียของ
กพท. ในที่นี้ หมำยถึง บุคคลใดผู้อำจได้รับผลกระทบจำกกำรดำเนินงำนของบุคลำกรของ
กพท. เช่น ผู้ประกอบกำรในอุตสำหกรรมกำรบิน ผู้เข้ำประกวดรำคำ คู่สัญญำ เป็นต้น
14/11/2019 SP 8
๑.๒ การปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ และ
ปลอดจากการทุจริต
๑.๒.๓ ในกรณีที่บุคลำกรของ กพท. บังคับใช้กฎหมำย (law enforcement)
ไม่ว่ำจะเป็น กำรดำเนินกำรทำงปกครอง หรือ กำรดำเนินกำรทำงอำญำ ซึ่งมีผลกระทบต่อ
ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ต้องจัดให้มีขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้
และป้องกันกำรทุจริต รวมทั้งจัดให้มีขั้นตอนรองรับเพื่อเปิดโอกำสให้ผู้ได้รับผลกระทบ
จำกกำรดำเนินกำรดังกล่ำวสำมำรถอุทธรณ์ตำมกฎหมำย หรือร้องขอให้มีกำรพิจำรณำทบทวน
กำรสั่งกำรได้

14/11/2019 SP 9
๕. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย
กพท. คำนึงถึงควำมพอใจสูงสุดของลูกค้ำ และมีควำมรับผิดชอบต่อลูกค้ำ
โดยต้องให้บริกำรด้วยมำตรฐำนสำกล ควำมรวดเร็ว มีอัธยำศัย และไม่เลือกปฏิบัติ

แนวปฏิบัติที่ดี
๕.๑ กพท. มุ่งมั่นบริกำรให้ครบวงจร บริกำรรวดเร็วและมีคุณภำพ เพื่อตอบสนอง
ควำมต้องกำรของลูกค้ำอย่ำงต่อเนื่อง
บุคลำกรของ กพท. ต้องทุ่มเท เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำอย่ำงเต็มที่
ทันต่อสถำนกำรณ์ มีคุณภำพ และมีเงื่อนไขที่เป็นธรรมและเป็นมำตรฐำนสำกล

14/11/2019 SP 10
14/11/2019 SP 11
๑.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์ มำตรกำร และแนวทำงปฏิบัติเกีย่ วกับ
กำรจัดกำรข้อร้องเรียน กรณีเกิดกำรทุจริตหรือประพฤติมิชอบของเจ้ำหน้ำที่ของสำนักงำนกำรบินพลเรือน
แห่งประเทศไทย ลว. ๒๖ มิ.ย. ๖๒
๒.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องมำตรกำรป้องกันกำรขัดกันระหว่ำงผลประโยชน์
ส่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม ลว. ๒๖ มิ.ย. ๖๒
๓.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องมำตรกำรตรวจสอบกำรใช้ดุลพินิจ ลว. ๒๗ มิ.ย. ๖๒
๔.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องมำตรกำรป้องกันกำรรับสินบน ลว. ๒๗ มิ.ย. ๖๒
๕.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องมำตรกำรและกลไกในกำรให้ผู้มีสว่ นได้เสีย
เข้ำมำมีส่วนร่วม ลว. ๒๗ มิ.ย. ๖๒
๖.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องมำตรกำรส่งเสริมควำมโปร่งใสในกำรจัดซื้อจัดจ้ำง
ลว. ๒๗ มิ.ย. ๖๒
๗.ประกำศสำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่องมำตรกำรเผยแพร่ข้อมูลสำธำรณะผ่ำนเว็บไซต์
ของหน่วยงำน ลว. ๒๗ มิ.ย. ๖๒
14/11/2019 SP 12
14/11/2019 SP 13
14/11/2019 SP 14
14/11/2019 SP 15
สำนักงำน ปปช. หน่วยงำนในสังกัด
ผลกำรประเมิน กระทรวงคมนำคม
คุณธรรมและ มี ๑๘ หน่วยงำน
ควำมโปร่งใส
ในกำรดำเนินงำน อันดับ ๑ สปค. ๙๑.๖๔
ของหน่วยงำน อันดับ ๑๘ กพท. ๗๗.๘๐
ภำครัฐ (No one left behind.)
ปี ๒๕๖๒
เฉลี่ย ๘๒.๓๕
14/11/2019 SP 16
รู้
เข้ำใจ
เป็นกลำง
บังคับใช้
กฎหมำย
เป็นธรรม ทบทวน
กฎ
ถูกต้อง ปรับปรุง
จริยธรรม สุจริต แก้ไข
โปร่งใส
ตรวจสอบได้

14/11/2019 SP 17
regulator competency legal mind

law / bylaw

communicating &
ethics technical aviation
listening well

basic knowledge
14/11/2019 SP 18
• ภาษา
(๑) น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อควำมของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภำษำไทย
ภำษำจีน หรือเพื่อสื่อควำมเฉพำะวงกำร เช่น ภำษำรำชกำร ภำษำกฎหมำย ภำษำธรรม
• ภาษาราชการ (official / working language)
(๑) น. ภำษำที่ใช้สื่อสำรในรำชกำรและวิชำกำรเป็นต้น เช่น จดหมำยติดต่อรำชกำร
รำยงำนกำรประชุมของหน่วยงำน รำยงำนกำรวิจัย รำยงำนวิชำกำรสำขำต่ำง ๆ,
ภำษำระดับทำงกำร หรือ ภำษำกึ่งแบบแผน ก็เรียก
(๒) น. ภำษำที่รัฐบำลประกำศให้ใช้เป็นทำงรำชกำร เช่น
ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ
ประเทศสิงคโปร์ใช้ภำษำอังกฤษ ภำษำจีน ภำษำฮินดี และภำษำมำเลย์ เป็นภำษำรำชกำร.
http://www.royin.go.th/dictionary/
14/11/2019 SP 19
ภาษาทางการของอาเซียน คือ ภำษำอังกฤษ ใช้ในระหว่ำงกำรประชุม กำรโต้ตอบทำง
จดหมำย กำรจัดทำรำยงำนกำรประชุม ผลกำรพิจำรณำ และมติที่ประชุม ตลอดจนกำร
จัดทำคำแถลงกำรณ์ และกำรปฏิสัมพันธ์ต่ำงๆ ของอำเซียน
http://www.eastasiawatch.in.th/th/information

ICAO Language and Publications Services (six ICAO working languages)


Languages and Publications (LP) is responsible for the provision of
language services, i.e. interpretation, translation, and editing, and for the
production of ICAO documents and publications in all UN official
languages (Arabic, Chinese, English, French, Russian, and Spanish) in
accordance with the requisite quality standards.
https://www.icao.int/secretariat/Administration/Pages/language-publications.aspx
14/11/2019 SP 20
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
“พระองค์ทรงมุ่งเน้นเรื่องกำรพัฒนำคน ทรงตรัสว่ำ “ต้องระเบิดจำกข้ำงใน” นั่นคือ ต้องสร้ำง
ควำมเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เรำเข้ำไปพัฒนำ ให้มีสภำพพร้อมที่จะรับกำรพัฒนำเสียก่อน มิใช่กำร
นำควำมเจริญหรือบุคคลจำกสังคมภำยนอกเข้ำไปหำชุมชนหมู่บ้ำนที่ยังไม่ทันได้มีโอกำสเตรียมตัว
…..ทรงใช้หลัก “เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ” นั่นคือ ก่อนจะทำอะไร ต้องมีควำม“เข้ำใจ”เสียก่อน เข้ำใจ
ภูมิประเทศ เข้ำใจผู้คนในหลำกหลำยปัญหำ ทั้งทำงด้ำนกำยภำพ ด้ำนจำรีตประเพณีและวัฒนธรรม
เป็นต้น และระหว่ำงกำรดำเนินกำรนั้น จะต้องทำให้ผู้ที่เรำจะไปทำงำนกับเขำหรือทำงำนให้เขำนั้น
เข้ำใจเรำด้วย เพรำะถ้ำเรำเข้ำใจเขำแต่ฝ่ำยเดียว โดยที่เขำไม่เข้ำใจเรำ ประโยชน์คงจะไม่เกิดขึ้น
ตำมที่เรำมุ่งหวังไว้ “เข้ำถึง” ก็เช่นกัน เมื่อรู้ปัญหำแล้ว เข้ำใจแล้วก็ต้องเข้ำถึง เพื่อให้นำไปสู่
กำรปฏิบัติให้ได้ และเมื่อเข้ำถึงแล้ว จะต้องทำอย่ำงไรก็ตำมให้เขำอยำกเข้ำถึงเรำด้วย
…..ดังนั้น จะเห็นว่ำเป็นกำรสื่อสำรสองทำงทั้งไปและกลับ ถ้ำสำมำรถทำสองประกำรแรกได้สำเร็จ
เรื่อง “กำรพัฒนำ” จะลงเอยได้อย่ำงดี เพรำะเมื่อต่ำงฝ่ำยต่ำงเข้ำใจกัน ต่ำงฝ่ำยอยำกจะเข้ำถึงกัน
แล้ว กำรพัฒนำจะเป็นกำรตกลงร่วมกันทั้งสองฝ่ำย ทั้งผู้ให้และผู้รับ”
14/11/2019 SP 21
สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ, 2554, กำรทรงงำนพัฒนำประเทศของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว, กรุงเทพฯ: ศูนย์กำรพิมพ์เพชรรุง่ , หน้ำ 52-53
ผล Course Objectives
• The course would encourage the course participants to the socioeconomic, political, legal,
ethical and moral values emerging national and global concerns so as to enable them to
become law-abiding, responsible inspector and agent of democratic governance.
• The course would create interest among the course participants to learn the basic theory
and principles of air law and regulations.
• The course has been designed to develop among the course participants an insight into
the history of the Convention on International Civil Aviation and its Annexes and the ICAO.
• The course provides the meaning and significance of legal aspect of aviation in general.
• The course is to understand various aspects of civil aviation both international and
domestic.
14/11/2019 SP 22
กำลำมสูตร (เรียกอีกอย่ำงว่ำ เกสปุตตสูตร) ทรงแสดงแก่ชำวกำลำมะ เป็นหลักแห่งควำมเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวำงไว้
ให้แก่พุทธศำสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่ำงงมงำยโดยไม่ใช้พิจำรณำให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ ได้แก่
• มำ อนุสฺสวเนน - อย่ำปลงใจเชื่อด้วยกำรฟังตำมกันมำ
• มำ ปรมฺปรำย - อย่ำปลงใจเชื่อด้วยกำรถือสืบ ๆ กันมำ
• มำ อิติกิรำย - อย่ำปลงใจเชื่อด้วยกำรเล่ำลือ
• มำ ปิฏกสมฺปทำเนน - อย่ำปลงใจเชื่อด้วยกำรอ้ำงหรือ
• มำ ตกฺกเหตุ - อย่ำปลงใจเชื่อเพรำะ (กำรคิดเอำเอง)
• มำ นยเหตุ - อย่ำปลงใจเชื่อเพรำะกำรอนุมำน (คำดคะเน)
• มำ อำกำรปริวิตกฺเกน - อย่ำปลงใจเชื่อด้วยกำรคิดตรองตำมแนวเหตุผล
• มำ ทิฎฐินิชฺฌำนกฺขนฺติยำ - อย่ำปลงใจเชื่อเพรำะเข้ำกันได้กับทฤษฎีทพี่ ินิจไว้แล้ว
• มำ ภพฺพรูปตำ - อย่ำปลงใจเชื่อมองเห็นรูปลักษณะน่ำจะเป็นไปได้
• มำ สมโณ โน ครูติ - อย่ำปลงใจเชื่อเพรำะนับถือว่ำท่ำนสมณะนี้ เป็นครูของเรำ
เมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่ำ ธรรมเหล่ำนั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษ เมื่อนั้นพึงละเสีย
เมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่ำ ธรรมเหล่ำนั้นเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ 23
14/11/2019 SP
Module I
Law and regulations
• Basic principles of Law
• Level and combinations of law
• The law concerning regulator
Aviation
• Meaning and essential elements
• Significance and impacts
• International character / foreign elements
14/11/2019 SP 24
Module II
Aviation Law and regulations
• Basic law used in aviation
• Introduce international legal aviation instrument
- public
- private
- criminal

14/11/2019 SP 25
Module III
Chicago Conference in 1944
• History of Chicago Conference
• Initiative
• Outcome
The 1944 Chicago Convention
• Aims and objectives
• Certain principles
• ICAO
• Annexes
14/11/2019 SP 26
Module IV
Air Navigation Act B.E. 2497
• Aims and objectives
• Principle and Structure
• Some problems
Civil Aviation Authority of Thailand Emergency Decree B.E. 2558
• Aims and objectives
• Principle and Structure
• Some problems
14/11/2019 SP 27
Module I
Law and regulations

14/11/2019 SP 28
spouse - norm
family - cultural ethics law
city
state
social - customary
- religion
communication
verbal non-verbal
meaning
political economic interpretation

14/11/2019 SP 29
• สังคม หมำยถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งมำช้ำนำน จนมีควำมรู้สึก
ว่ำ เป็นพวกเดียวกัน และมีภำษำ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีทำงในกำร
ดำรงชีวิตร่วมกันเป็นแบบอย่ำงเดียวกัน
วัฒนธรรม หมำยถึง บรรดำขนบธรรมเนียม ประเพณี ภำษำ และทุกสิ่งทุกอย่ำง
ทีค่ นในสังคมนั้น สร้ำงขึ้นมำ เพื่อดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน
สังคม และ วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้ เปรียบเสมือนเหรียญเงินที่มีด้านหน้า
และด้านหลัง
เพราะฉะนั้นถ้าไม่มี “สังคม” ก็ไม่มี “วัฒนธรรม”
สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชนฯ / เล่มที่ ๑๖ / เรื่องที่ ๕ สังคมและวัฒนธรรมไทย
14/11/2019 SP 30
•เศรษฐกิจ ที่ดิน เศรษฐศำสตร์
ค่ำเช่ำ ทรัพยำกร ควำมต้องกำร
ทุน
มีจำกัด มีไม่จำกัด
ดอกเบี้ย แรงงำน เลือกว่ำจะผลิต •เศรษฐกิจ (economy) หมำยถึง
ค่ำแรง สินค้ำ/บริกำร อะไร ระบบที่มีกำรบริหำรจัดกำรโดยองค์กำร
อย่ำงไร เพื่อใคร ทำงเศรษฐกิจทีเ่ กี่ยวข้องกับกำรผลิต
จะแจกจ่ำยอย่ำงไร กำรจำหน่ำยจ่ำยแจก และกำรบริโภค
รำคำ ตลำด
ต้นทุน กลไกตลำด พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ค่ำเสียโอกำส
ข้อมูลเท่ำกัน ข้อมูลไม่เท่ำกัน
14/11/2019
รำคำดุลยภำพ SP
แทรกแซง 31
• การเมือง คือ กำรจัดสรรอำนำจเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชำชน
หมำยถึง กำรกำหนดและบังคับใช้กฎ ระเบียบของสังคมอย่ำงยุติธรรม
เพื่อสนองตอบประโยชน์สุขของประชำชนอย่ำงเสมอภำคและเท่ำเทียมกัน
กำรเมือง เป็น กระบวนกำรเกี่ยวกับกำรตัดสินหรือตกลงใจ
เพื่อจัดสรรทรัพยำกรธรรมชำติและควบคุมกำรดำรงชีวิตร่วมกันในสังคม
ด้วยกำรกำหนดและปฏิบัติตำมกติกำ ตลอดจนกำรยอมรับกำรใช้อำนำจในสังคม
ทั้งในส่วนของกำรบังคับหรือยอมรับนับถือ
ระบบกำรเมือง (political system) หมำยถึง ระบบที่ประกอบด้วย
- ประชำคมกำรเมือง (political community)
- ระบอบกำรเมืองกำรปกครอง (political regime) และ
- ผู้มีสิทธิอำนำจทำงกำรเมือง (political authorities)
library2.parliament.go.th
14/11/2019 SP 32
social Eternal law socialization
divine reason
Divine law
through revelation
Natural law
rational creation
Human law ethics
rational issue by men
St. Thomas Aquinas (1225-1274) Italian. The
14/11/2019 SP
Notion of Law. 33
Purposes and function of law
• The law serves many purposes and functions in society.
• Four principal purposes and functions are establishing
- standards,
- maintaining order,
- resolving disputes, and
- protecting liberties and rights.

14/11/2019 http://www.businesslawbasics.com/chapter-3-purposes-and-functions-law-1
SP 34
Law
• public interest
• appropriateness
• necessity
• suitability
• proportionality
14/11/2019 SP 35
Combinations of law
• Written & Unwritten
• Natural & Positive public
• Substantive & Procedural
• Public & Private
• Commercial & Civil
• Criminal private private private private

• National & International


14/11/2019 SP 36
National law
elements of statehood
the state as an international person should possess the
following qualifications:
• a permanent population
• a defined territory
• government
• capacity to enter into relations with the other states
Convention on the Rights and Duties of States, singed at
Montevideo, December 26, 1933.
14/11/2019 SP 37
nation / country / state : statehood
sovereignty / jurisdiction
• a nation is a stable community of
people, formed on the basis of a
common language, territory,
economic life, ethnicity or
psychological make-up manifested in
a common culture
• a country is a region that is identified
as a distinct national entity in
political geography
• a State as a person at law
14/11/2019 SP 38
sovereignty
•a country’s exclusive right to govern and control a designated geographic territory,
free from external control by all other entities, including a foreign sovereign state
•The supreme, absolute, and uncontrollable power by which an independent
state is governed and from which all specific political powers are derived;
the intentional independence of a state, combined with the right and power of
regulating its internal affairs without foreign interference.
•Sovereignty is the power of a state to do everything necessary to govern itself,
such as making, executing, and applying laws; imposing and collecting taxes;
making war and peace; and forming treaties or engaging in commerce with foreign
nations.
https://legal-dictionary.thefreedictionary.com/Sovereign+right
14/11/2019 SP 39
• อำนำจอธิปไตย (sovereignty) หมำยถึง อำนำจที่
แสดงควำมเป็นใหญ่ ควำมเป็นอิสระ ไม่ขึ้นต่อใคร
หรือต้องเชื่อฟังคำสัง่ คำบัญชำของผู้ใดที่เหนือตน
โดยปรำศจำกควำมยินยอมของตน

มำนิตย์ จุมปำ, (๒๕๔๓) “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช


๒๕๔๐” (ความรู้เบื้องต้น), กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์นิติธรรม, หน้ำ ๑๖.

14/11/2019 SP 40
jurisdiction
- legislative, prescriptive or substantive jurisdiction
- judicial or adjudicatory jurisdiction
- enforcement jurisdiction

Law does apply to every person in the territory


and its national outside the territory.

14/11/2019 SP 41
• เขตอำนำจรัฐ (jurisdiction) หมำยถึง อำนำจตำมกฎหมำยของรัฐ
เหนือบุคคล ทรัพย์สิน หรือ เหตุกำรณ์ต่ำง ๆ แบ่งออกเป็น
- กำรใช้เขตอำนำจรัฐในทำงบัญญัติ
(legislative, prescriptive or substantive jurisdiction)
- กำรใช้เขตอำนำจรัฐในกำรดำเนินคดี
(judicial or adjudicatory jurisdiction)
- กำรใช้เขตอำนำจรัฐในทำงบังคับ
(enforcement jurisdiction)
14/11/2019 SP 42
public law
deals with issues that affect the general public or state - society as a
whole. Some of the laws that its wide scope covers are:
•Constitutional laws are laws that protect citizens' rights as afforded
in the Constitution
•Administrative law - laws that govern government agencies, like the
Department of Education and the Equal Employment Opportunity
Commission
•Municipal laws are ordinances, regulations and by-laws that govern
a city or town
14/11/2019 SP 43
private law
affects the rights and obligations of individuals, families, businesses and
small groups and exists to assist citizens in disputes that involve private
matters. Its scope is more specific than public law and covers:
•Contract law - governs the rights and obligations of those entering into
contracts
•Tort law - rights, obligations and remedies provided to someone who
has been wronged by another individual
•Property law – governs forms of ownership, transfer and tenant issue
•Family law – governs family-related and domestic-related issue
14/11/2019 SP 44
criminal law
n. those statutes dealing with crimes against the
public and members of the public, with penalties
and all the procedures connected with charging,
trying, sentencing and imprisoning defendants
convicted of crimes.
Law.com

14/11/2019 SP 45
ตัวแบบของกฎหมำย
• อำนำจในกำรตรำ
• ชื่อกฎหมำย
• วันใช้บังคับ
• บทยกเลิก
• นิยำม
• ขอบเขตกำรใช้บังคับ
• ผู้รักษำกำร
• เนื้อควำม
• บทโทษ
14/11/2019
• บทเฉพำะกำล SP 46
“นิยาม” ก. กำหนดหรือจำกัดควำมหมำยที่แน่นอน. (ป., ส.).
ถ้ำไม่มีนิยำม คือ ควำมหมำยธรรมดำที่ธรรมดำหรือเทคนิค, นิยำมในกฎหมำยฉบับใด ย่อมใช้ได้เฉพำะในกฎหมำยฉบับนั้น
“บทกาหนดโทษ” (กฎ) น. บทบัญญัติของกฎหมำยที่กำหนดโทษทำงอำญำ
หรือทำงปกครอง สำหรับผู้กระทำควำมผิดกฎหมำย.
“บทเฉพาะกาล” (กฎ) น. บทบัญญัติของกฎหมำยที่บัญญัติเกี่ยวกับ
ผลกระทบของกำรใช้บังคับกฎหมำยใหม่ที่มีต่อกรณีที่เกิดขึ้นก่อนกฎหมำยใหม่
ใช้บังคับ หรือวิธีดำเนินกำรกับกรณีข้อเท็จจริงหรือเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหรือ
ในวันใช้บังคับกฎหมำยใหม่ หรือที่เกิดขึ้นในระยะเวลำที่กำหนดภำยหลังจำกที่
กฎหมำยใหม่ใช้บังคับแล้ว.
พจนำนุ
14/11/2019
กรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน http://www.royin.go.th/dictionary/
SP 47
พระรำชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระรำชบัญญัติกำรเดินอำกำศ พ.ศ. ๒๔๙๗ พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา ๔๓ ให้บรรดำกฎกระทรวง ข้อบังคับ ข้อกำหนด ระเบียบ ประกำศ หรือคำสั่งของ
ปลัดกระทรวงคมนำคม คณะกรรมกำรกำรบินพลเรือน คณะกรรมกำรเทคนิค อธิบดีกรมกำรบิน
พลเรือนหรือพนักงำนเจ้ำหน้ำทีท่ ี่ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติกำรเดินอำกำศ พ.ศ. ๒๔๙๗
ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระรำชกำหนดนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปจนกว่ำจะมี
กฎกระทรวง ข้อบังคับ ข้อกำหนด ระเบียบ ประกำศ หรือคำสั่งที่ออกตำมพระรำชบัญญัติกำร
เดินอำกำศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชกำหนดนี้ในเรื่องนั้น ๆ ใช้บังคับ
บรรดำเรื่องใด ๆ ที่มกี ฎกระทรวงกำหนดไว้ แต่ตำมพระรำชบัญญัติกำรเดินอำกำศ
พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชกำหนดนี้ได้บัญญัติให้ออกเป็นข้อบังคับ ข้อกำหนด
ระเบียบหรือคำสั่งของผู้อำนวยกำร เมื่อได้มีกำรออกข้อบังคับ ข้อกำหนด ระเบียบหรือคำสั่งในเรื่อง
เดียวกันนั้นตำมบทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัติกำรเดินอำกำศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระรำชกำหนดนี้แล้ว ให้กฎกระทรวงนั้นเป็นอันยกเลิก
14/11/2019 SP 48
International Law
• “The law of nations governing the relationship between states and other
international persons.”

• No supreme legislative body to pass laws which are binding and


enforceable by and against all states
e.g. UN Resolutions frequently ignored.

14/11/2019 SP 49
principle of international law
“The law of nations governing the relationship between states and other international persons.”

• consent to be bound
• pacta sunt servanda
• good faith
• jus cogens (preemptory norm)
“Treaty” : Charter, Convention, Protocol, Agreement, MOU, etc.
14/11/2019 “สนธิสัญญำ” : กฎบัตร, อนุสัญญำ, พิธีสำร,SPควำมตกลง, บันทึกควำมเข้ำใจ, และอื่น ๆ 50
Each treaty has four elements to fulfil in order to fully function.
The parties :
1. must have capacity to conclude agreement of the provisions of the
treaty under international law.
2. should have intend to apply principles of international law when
concluding agreement under a treaty.
3. must be a meeting of the minds among the parties, and
4. must have intention to create legal obligations among themselves.
Furthermore, a treaty is based on three fundamental principles of
international law, i.e. good faith, consent and international responsibility.
14/11/2019 SP 51
Sources of International Law
- treaties
- custom or general practice of states
- general principles recognized by civilized nations
- decisions of judicial & arbitral tribunals
- distinguished writings
- declarations of international organizations
14/11/2019 SP 52
Public International Law
• is composed of the laws, rules, and principles of general application that
deal with the conduct of nation states and international organizations
among themselves as well as the relationships between nation states
and international organizations with persons, whether natural or juridical.
• moving beyond the classical questions of war, peace, and diplomacy to
include human rights, economic and trade issues, space law, and
international organizations.

14/11/2019 SP 53
Private International Law
• is a body of rules used to resolve legal disputes between private
individuals who cross international boundaries
• Private international law has two limbs. It determines when one State
court has jurisdiction to adjudicate where one or more of the parties, or
some component of the analysis, is not its own, and it decides whether
to give effect to the result of adjudication in a foreign jurisdiction: this
amounts to the conflict of jurisdictions. It also determines whether its
own court, hearing a case with some foreign element, will apply its own
or foreign law to the dispute: the conflict of laws.
14/11/2019 SP 54
International Criminal Law
• International criminal law deals with the criminal responsibility of
individuals for international crimes.
• There is no generally accepted definition of international crimes.
• A distinction can be made between international crimes which are
based on international customary law and therefore apply universally
and crimes resulting from specific treaties which criminalize certain
conduct and require the contracting states to implement legislation for
the criminal prosecution of this conduct in their domestic legal system.

14/11/2019 SP 55
มหำชน เอกชน อำญำ
ภำยใน ปท.

Public Private Criminal


ระหว่ำง ปท.
แผนกคดีเมือง แผนกคดีบุคคล แผนกคดีอำญำ

14/11/2019 SP 56
International law
sovereignty sovereignty
jurisdiction jurisdiction

State jurisdiction State jurisdiction


- Population Population - Population Population
- Territory domestic law - Territory domestic law
- Government - Government
- Freedom to relation - Freedom to relation

State A State B
14/11/2019 SP 57
การเปรียบเทียบ
กฎหมายภายใน กฎหมายระหว่างประเทศ
ที่มำ - -

กำรใช้บังคับ - -

- -
กำรลงโทษ

14/11/2019 SP 58
Introduce Law and regulations concerning regulator
• Constitution
• Royal Decree on Principle and Procedure on Good Governance B.E. 2546
• Ethical Standard of Government Services Act B.E. 2562
• Official Information Act B.E. 2540
• Privacy Data Protection Act B.E. 2562
• Licensing Facilitation Act B.E. 2558
• Royal Decree on Law Optimum Review B.E. 2558
• Optimum Review Act B.E. 2562
• Administrative Procedure Act B.E. 2539
• Electronic Transactions Act B.E. 2544
• Civil Liability of Officials Act B.E. 2539
• Civil and Commercial Code (Juristic Person; Tort)
• Penal Code (Offences against Officials, Malfeasance
14/11/2019 SP in Office) 59
•Constitution, the body of doctrines and practices that form the fundamental
organizing principle of a political state. In some cases, such as the United States,
the constitution is a specific written document. In others, such as the United
Kingdom, it is a collection of documents, statutes, and traditional practices that
are generally accepted as governing political matters. States that have a written
constitution may also have a body of traditional or customary practices that may
or may not be considered to be of constitutional standing.
www.britannica.com/topic/constitution-politics-and-law

รัฐธรรมนูญ หมำยถึง กฎหมำยสูงสุดที่จัดระเบียบกำรปกครองประเทศ แบ่งเป็น


- รัฐธรรมนูญลำยลักษณ์อักษร (written constitution) และ
- รัฐธรรมนูญไม่เป็นลำยลักษณ์อักษรหรือรัฐธรรมนูญจำรีตประเพณี (unwritten constitution)
คณะกรรมกำรจัดทำพจนำนุกรมศัพท์รัฐศำสตร์
14/11/2019 SP 60
รัฐธรรมนูญ
•กำหนดรูปแบบกำรปกครอง จัดโครงสร้ำงองค์กรและอำนำจหน้ำที่ของแต่ละ
องค์กรของรัฐ
•กำรคำนและดุลอำนำจระหว่ำงองค์กรต่ำง ๆ
•ประกันสิทธิและเสรีภำพของประชำชน
กฎหมายปกครอง
• จัดโครงสร้ำงองค์กรและอำนำจหน้ำที่ของแต่ละองค์กรในฝ่ำยปกครอง
• กำหนดกำรกระทำและภำรกิจของฝ่ำยปกครอง
• ควบคุมกำรใช้อำนำจของฝ่ำยปกครอง
14/11/2019 SP 61
รัฐ,
ดินแดน, ประชำกร, รัฐบำล, อำนำจอธิปไตย,
ชำติ, ประเทศ
ควำมสำมำรถในกำรปฏิสัมพันธ์ เขตอำนำจรัฐ

องค์กร
นิติบัญญัติ บริหำร ตุลำกำร
อิสระ
- ตัวแบบ
- ลำดับศักดิ์
Law ตรำกฎหมำย จัดทำบริกำรสำธำรณะ ตัดสินให้เป็นไปตำมกฎเกณฑ์
- พรป. รัฐบำล
- พรบ. - องค์กร ฝ่ำยปกครอง
By Law - รูปแบบ รำชกำร รัฐวิสำหกิจ องค์กำรมหำชน รูปแบบอื่น
- พรฎ. - เนื้อหำ ส่วนกลำง, ส่วนภูมิภำค, ส่วนท้องถิ่น
- กฎกระทรวง พรบ., พรฎ., จดทะเบียน กพท.
- ข้อบังคับ
- ระเบียบ ฯลฯ
14/11/2019 SP 62
Thai Constitution
Section 3. Sovereign power belongs to the Thai people.
The King as Head of State shall exercise such power through the
National Assembly, the Council of Ministers and the Courts in
accordance with the provisions of the Constitution.
The National Assembly, the Council of Ministers, Courts,
Independent Organs and State agencies shall perform duties in
accordance with the Constitution, laws and the rule of law for
the common good of the nation and the happiness of the public
at large.
14/11/2019 SP 63
Thai Constitution
Section 5. The Constitution is the supreme law of the State.
The provisions of any law, rule or regulation or any acts, which
are contrary to or inconsistent with the Constitution, shall be
unenforceable.
Whenever no provision under this Constitution is applicable
to any case, an act shall be performed or a decision shall be
made in accordance with the constitutional conventions of
Thailand under the democratic regime of government with the
King as Head of State.
14/11/2019 SP 64
- eternal
social, economic - uniformity
ethics - natural
- territory political model - divine - one fit for all
- population hierarchy law - human - tailor made
instrument
- government written unwritten
- capacity to relation statutory treaties of society’s goals
customary
healthy,
state, country National law International law
sovereignty nation nation nation wealthy,
jurisdiction civil law - consent happiness,
Law -legislative common law - pacta sunt servanda
-executive codified uncodified - good faith equity,
(law enforcement officer) - Jus cogen
-judicial peace,
private public criminal
safety,
- Entity
- Form
bylaw substantive procedural public order
(regulator)
- Content (regulations)
14/11/2019 every person SP State Party enforcement 65
Thai Constitution
Section 25. As regards the rights and liberties of the Thai
people, in addition to the rights and liberties as guaranteed
specifically by the provisions of the Constitution, a person shall
enjoy the rights and liberties to perform any act which is not
prohibited or restricted by the Constitution or other laws, and
shall be protected by the Constitution, insofar as the exercise of
such rights or liberties does not affect or endanger the security of
the State or public order or good morals, and does not violate
the rights or liberties of other persons.
14/11/2019 SP 66
เอกชน ภำครัฐ
หลักสิทธิเสรีภำพของเอกชน หลักควำมชอบด้วยกฎหมำยของกำรกระทำทำงปกครอง

ไม่มีกฎหมำยห้ำม ไม่มีกฎหมำยให้อำนำจ
source and limitation of authorities

ทำได้ ทำไม่ได้
14/11/2019 SP 67
by the parliament law primary level of legislation

ministerial level regulations


by the Director rules specific operating regulations

directorate level, procedures orders, instructions or


acceptable means of compliance
under delegation by the Director.
14/11/2019 ICAO Doc 9379 AN/916 Second Edition 2012 SP 68
ลาดับศักดิ์ของกฎหมาย hierarchy of law
Law รัฐธรรมนูญ องค์กร
law enforcement officer นิติบัญญัติ บริหำร ตุลำกำร
กฎหมาย อิสระ
พระรำชบัญญัติ บริหำร/
ประกอบรัฐธรรมนูญ ฝ่ำยปกครอง
พระรำชบัญญัติ พระรำชกำหนด
มอบอำนำจ bylaw พระรำชกฤษฎีกำ พระรำชกฤษฎีกำ
regulator (regulations)
กฎกระทรวง
- องค์กร อนุบัญญัติ ระเบียบ
- รูปแบบ ข้อบังคับ/ข้อกำหนด
- เนื้อหำ ข้อกำหนด
14/11/2019 ประกำศ SP 69
มอบอานาจให้ออกอนุบัญญัติต่อ ได้หรือไม่
กำรทีม่ ำตรำ ๖ แห่งพระรำชบัญญัติอำหำร พ.ศ. ๒๕๒๒ บัญญัติให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
สำธำรณสุขมีอำนำจประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเพื่อกำหนดรำยละเอียดในเรื่องต่ำงๆ เกี่ยวกับ
อำหำรไว้ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์แก่กำรควบคุมอำหำร โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้มีกำรควบคุมอำหำร
อย่ำงเข้มงวดเพื่อควำมปลอดภัยในชีวิตและสุขภำพของประชำชน ซึ่งในเรื่องกำรกำหนดหลักเกณฑ์
เงื่อนไข และวิธีกำรในกำรตรวจ กำรเก็บตัวอย่ำง กำรยึด กำรอำยัด และกำรตรวจวิเครำะห์
ทำงวิชำกำรซึ่งอำหำร จึงเห็นได้ว่ำ เป็นกรณีทกี่ ฎหมำยกำหนดให้เป็นอำนำจโดยเฉพำะของ
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุข ดังนั้น รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุขจะอำศัยอำนำจ
ตำมควำมในมำตรำ ๖ (๙) ออกประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่อง อำหำรที่มีสำรพิษตกค้ำง โดย
กำหนดให้สำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำเป็นผู้ออกประกำศกำหนดวิธีกำรตรวจวิเครำะห์
ทำงวิชำกำรซึ่งอำหำรตำมข้อ ๕ ของร่ำงประกำศดังกล่ำว จึงไม่อำจกระทำได้
14/11/2019 ควำมเห็นกฤษฎีกำ เรื่องเสร็จที่ ๕๑/๒๕๕๔ SP 70
ประกาศสานักงานศาลปกครอง
เรื่อง ศำลปกครองพิพำกษำถึงที่สุดให้เพิกถอนกฎ
-----------------------------------
ด้วยศำลปกครองสูงสุดได้มีคำพิพำกษำถึงทีส่ ุดในคดีหมำยเลขแดงที่ อ.๗๗๓/๒๕๕๕ ระหว่ำงนำงทองดี
ธวัชโยธิน ผู้ฟ้องคดี กับ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงอุตสำหกรรม ที่ ๑ อธิบดีกรมวิชำกำรเกษตร ที่ ๒ ผู้ถูกฟ้องคดี
โดยพิพำกษำเพิกถอนประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง บัญชีรำยชื่อวัตถุอันตรำย พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๒
กันยำยน ๒๕๔๖ และประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง บัญชีรำยชื่อวัตถุอันตรำย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗
ลงวันที่ ๓๐ กันยำยน ๒๕๔๗ และคำสั่งกรมวิชำกำรเกษตร ที่ ๑๗๗๙/๒๕๔๗ เรื่อง กำรจัดกำรทำลำยหรือ
ดำเนินกำรกับวัตถุอันตรำยชนิดที่ ๔ ที่กรมวิชำกำรเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๑
ตุลำคม ๒๕๔๗
จึงประกำศให้ทรำบทั่วกัน
ประกำศ ณ วันที่ ๑๓ มีนำคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม
รจ. ๑๓๐ ตอนที่ ๒๘ ก ลงวันที่ ๒๒ มีนำคม ๒๕๕๖ หน้ำ ๑๙
14/11/2019 SP เลขำธิกำรสำนักงำนศำลปกครอง 71
โดยมาตรา ๓๖ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ บัญญัติให้รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบโดยความเห็นของ
คณะกรรมการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย การออกใบสาคัญการขึ้น
ทะเบียนวัตถุอันตรายและการต่ออายุใบสาคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย จึงเห็นได้ว่า เป็นกรณีที่
กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจโดยเฉพาะของรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ ดังนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์โดยความเห็นของคณะกรรมการจะต้องกาหนดสาระสาคัญเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียน
ไว้ในประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยไม่สามารถมอบอานาจให้อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
ออกประกาศกรมวิชาการเกษตรได้ กรณีจึงควรแก้ไขปรับปรุงประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดยนารายละเอียดทางวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับทางปฏิบัติของการขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย
มากาหนดไว้ในประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาก็ต้องเป็นไป
ตามที่กาหนดในประกาศกระทรวงที่ได้ปรับปรุงขึ้นใหม่ด้วย
วัตถุอันตราย, สาธารณสุข, ทะเบียนวัตถุอันตราย บันทึกสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การขึ้นทะเบียนวัตถุ
อันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย - คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๑๐) - เรื่องเสร็จที่ ๑๓๔๒/๒๕๖๑
มาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕SP
14/11/2019 72
14/11/2019 SP 73
Thai Constitution
Section 26. The enactment of a law resulting in the
restriction of rights or liberties of a person shall be in accordance
with the conditions provided by the Constitution. In the case
where the Constitution does not provide the conditions thereon,
such law shall not be contrary to the rule of law, shall not
unreasonably impose burden on or restrict the rights or liberties of
a person and shall not affect the human dignity of a person, and
the justification and necessity for the restriction of the rights and
liberties shall also be specified.
The law under paragraph one shall be of general
application, and shall not be intended to apply to any particular
case or person.
14/11/2019 SP 74
Thai Constitution
Section 53. The State shall ensure that the law is strictly
observed and enforced.

Section 59. The State shall disclose any public data or


information in the possession of a State agency, which is not
related to the security of the State or government confidentiality
as provided by law, and shall ensure that the public can
conveniently access such data or information.
14/11/2019 SP 75
• Ethics refers to values that are intrinsic in the person making the
decision and that may or may not affect the outcome of the decision.
These values include (but are not limited to) trust, a sense of right and
wrong, concern for the welfare of others, responsibility for one's actions,
and adherence to one's beliefs in the face of pressure to do otherwise.

• Professional conduct can be thought of as referring to cognitive matters


that require skill and knowledge as the basis of decision making.
The Journal of Aviation/Aerospace Education & Research Volume 5 Number 2 JAAER Winter 1995 Article 4
1995 ETHICS IN AVIATION EDUCATION Patrick A. Benton

14/11/2019 SP 76
พระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจริยธรรม
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก ลงวันที่ ๑๖ เมษำยน ๒๕๖๒ หน้ำ ๑
• จริยธรรม กำรปฏิบัติตน เกี่ยวกับสภำพคุณงำมควำมดีที่ยึดถือสำหรับกำรปฏิบัติงำน กำรตัดสินควำม
ถูกผิด กำรปฏิบัติที่ควรกระทำหรือไม่ควรกระทำ ตลอดจนกำรดำรงตนในกำรกระทำควำมดี
และละเว้นควำมชัว่
• มำตรฐำนทำงจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ซึ่ง
จะต้องประกอบด้วย (๑) ยึดมั่นในสถำบันหลักของประเทศ (๒) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และ
รับผิดชอบต่อหน้ำที่ (๓) กล้ำตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม (๔) คิดถึงประโยชน์
ส่วนรวมมำกกว่ำประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสำธำรณะ (๕) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงำน (๖) ปฏิบัติหน้ำที่
อย่ำงเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ และ (๗) ดำรงตนเป็นแบบอย่ำงที่ดีและรักษำภำพลักษณ์
ของทำงรำชกำร
• ใช้กับหน่วยงำนของรัฐ และเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ (รวม กพท. และเจ้ำหน้ำที่ กพท.)
14/11/2019 SP 77
พระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจริยธรรม
พ.ศ. ๒๕๖๒
• ให้องค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคลของหน่วยงำนของรัฐ มีหน้ำที่จัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับ
เจ้ำหน้ำที่ของรัฐที่อยู่ในควำมรับผิดชอบ ถ้ำไม่มีให้ ก.ม.จ. วินิจฉัย
• หน่วยงำนของรัฐอำจจัดทำข้อกำหนดจริยธรรมเพื่อใช้บังคับกับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในหน่วยงำนนั้น
เพิ่มเติมจำกประมวลจริยธรรมให้เหมำะสมแก่ภำรกิจที่มีลกั ษณะเฉพำะของหน่วยงำนของรัฐนั้นด้วยก็ได้
• เพื่อประโยชน์ในกำรรักษำจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ให้หน่วยงำนของรัฐ (๑) กำหนดให้มี
ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับกำรรักษำจริยธรรมประจำหน่วยงำน (๒) ดำเนินกิจกรรมกำรส่งเสริม สนับสนุน
ให้ควำมรู้ ฝึกอบรม และพัฒนำเจ้ำหน้ำที่ และจัดให้มีมำตรกำรและกลไกที่มีประสิทธิภำพเพื่อ
เสริมสร้ำงให้มีกำรปฏิบัติตำมประมวลจริยธรรม รวมทั้งกำหนดกลไกในกำรส่งเสริมให้ประชำชน
มีส่วนร่วมในกำรตรวจสอบพฤติกรรมของเจ้ำหน้ำที่ ตลอดจนสร้ำงเครือข่ำยและประสำนควำมร่วมมือ
ระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐและภำคเอกชน (๓) จัดทำรำยงำนประจำปีเสนอต่อ ก.ม.จ. ทุกสิ้นปี
งบประมำณ
14/11/2019 SP 78
มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ซึ่งจะต้องประกอบด้วย
(๑) ยึดมั่นในสถำบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์ และ
กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(๒) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้ำที่
(๓) กล้ำตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
(๔) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมำกกว่ำประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสำธำรณะ
(๕) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงำน
(๖) ปฏิบัติหน้ำที่อย่ำงเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
(๗) ดำรงตนเป็นแบบอย่ำงที่ดีและรักษำภำพลักษณ์ของทำงรำชกำร
พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
14/11/2019 SP 79
รัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐
มาตรา ๗๗ รัฐพึงจัดให้มีกฎหมำยเพียงเท่ำที่จำเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมำยที่หมดควำมจำเป็น
หรือไม่สอดคล้องกับสภำพกำรณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตหรือกำรประกอบอำชีพโดยไม่ชักช้ำเพื่อไม่ให้เป็น
ภำระแก่ประชำชน และดำเนินกำรให้ประชำชนเข้ำถึงตัวบทกฎหมำยต่ำง ๆ ได้โดยสะดวกและสำมำรถเข้ำใจกฎหมำย
ได้ง่ำยเพื่อปฏิบัติตำมกฎหมำยได้อย่ำงถูกต้อง
ก่อนกำรตรำกฎหมำยทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีกำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเครำะห์ผลกระทบที่อำจ
เกิดขึ้นจำกกฎหมำยอย่ำงรอบด้ำนและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลกำรรับฟังควำมคิดเห็นและกำรวิเครำะห์นั้นต่อ
ประชำชน และนำมำประกอบกำรพิจำรณำในกระบวนกำรตรำกฎหมำยทุกขั้นตอน
เมื่อกฎหมำยมีผลใช้บังคับแล้ว รัฐพึงจัดให้มีกำรประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมำยทุกรอบระยะเวลำที่กำหนด
โดยรับฟังควำมคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนำกฎหมำยทุกฉบับให้สอดคล้องและเหมำะสม
กับบริบทต่ำง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
รัฐพึงใช้ระบบอนุญำตและระบบคณะกรรมกำรในกฎหมำยเฉพำะกรณีที่จำเป็น พึงกำหนดหลักเกณฑ์
กำรใช้ดุลพินิจของเจ้ำหน้ำทีข่ องรัฐและระยะเวลำในกำรดำเนินกำรตำมขั้นตอนต่ำง ๆ ที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยให้ชัดเจน
และพึงกำหนดโทษอำญำเฉพำะควำมผิดร้ำยแรง
14/11/2019 SP 80
มติ ครม. ๔ เม.ย. ๖๐
แนวทางการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย
• ร่ำงกฎหมำยต้องสอดคล้องและไม่ขัดหรือแย้งกับ รธน. และ พรป. และแนวนโยบำยแห่งรัฐ ยุทธศำสตร์ชำติ
และแผนปฏิรูปประเทศ
• ต้องคำนึงและให้สอดคล้องกับ พรบ.อำนวยควำมสะดวกในกำรขออนุญำต ๕๘
พรฏ. บริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ๔๖ และ พรฎ. ทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย ๕๘
• ต้องกระทำเพียงเท่ำที่จำเป็น โดยเฉพำะระบบอนุญำต โดยต้องระบุวัตถุประสงค์ของกำรอนุญำต
ระยะเวลำกำรพิจำรณำ และกรอบหลักเกณฑ์กำรออกกฎหมำยลำดับรอง หน่วยงำนอนุญำตแสดงควำมพร้อม
กำหนดอำยุกำรได้รับอนุญำตเฉพำะเท่ำที่จำเป็น ต้องมีกำรตรวจสอบหลังกำรอนุญำต คำนึงกำรชำระ
ค่ำธรรมเนียมแทนกำรขอต่ออำยุ
• ให้ใช้ระบบคณะกรรมกำรเท่ำที่จำเป็น โดยต้องกำหนดขั้นตอนวิธีกำรตั้งซึ่งไม่เพิ่มพระรำชภำระ
คณะกรรมกำรวำงกฎเกณฑ์หรือวินิจฉัยชี้ขำดต้องไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง ผู้แทนหน่วยงำนของรัฐ
ที่ต้องอยู่ภำยใต้กฎเกณฑ์หรืออำจเป็นคู่กรณี ต้องแยกหน้ำที่ผู้วำงกฎเกณฑ์หรือกำกับออกจำกผู้ปฏิบัติ
• ต้องกำหนดเกณฑ์กำรใช้ดุลพินิจ
14/11/2019 SP 81
พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๕๘
บทนิยาม
มาตรา ๔ ในพระรำชกฤษฎีกำนี้
“กฎหมาย” หมำยควำมว่ำ พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
พระรำชบัญญัติ ประมวลกฎหมำย พระรำชกำหนด และกฎตำมกฎหมำยว่ำด้วย
วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
“รัฐมนตรีผู้รักษาการ” หมำยควำมว่ำ รัฐมนตรีหรือผู้ดำรงตำแหน่งอื่น
ซึ่งกฎหมำยกำหนดให้เป็นผู้รักษำกำรตำมกฎหมำยนั้น ๆ และให้หมำยควำมรวมถึง
ผู้มีอำนำจออกกฎตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบตั ิรำชกำรทำงปกครองด้วย
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ลงวันที่ ๘ กันยำยน ๒๕๕๘ (ใช้บังคับ ๙ ก.ย. ๕๘)
14/11/2019 SP 82
มาตรา ๕ ภำยใต้บังคับมำตรำ ๑๓ เพื่อให้บทบัญญัติของกฎหมำยมีควำม
เหมำะสมเป็นธรรม ไม่เป็นภำระแก่ประชำชนเกินสมควร สอดคล้องกับกำรดำเนินชีวิต
ตำมกำลสมัยและวิวัฒนำกำรของเทคโนโลยีที่มีควำมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ
ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรมีหน้ำที่จัดให้มีกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย
ทุกห้ำปีที่กฎหมำยใช้บังคับ หรือเมื่อมีกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(๑) เห็นว่ำจำเป็นต้องมีกำรปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมำย
(๒) ได้รับหนังสือร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะจำกองค์กรที่เกี่ยวข้องหรือจำก
ประชำชนทั่วไปและรัฐมนตรีผู้รักษำกำรเห็นว่ำข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะนั้นมีเหตุผล
อันสมควร
(๓) ได้รับข้อเสนอแนะจำกคณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำย
(๔) เมื่อปรำกฏว่ำมิได้มีกำรบังคับใช้หรือปฏิบัติตำมกฎหมำยเกินสำมปีนับแต่
วันที่กฎหมำยนั้นใช้บังคับ
14/11/2019 SP 83
มาตรา ๗ เมื่อมีกรณีที่จะต้องพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย
ตำมมำตรำ ๕ ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรประกำศให้ประชำชนทรำบเป็นกำรทั่วไป และให้
ประกำศผ่ำนระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ พร้อมทั้งแจ้งให้คณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำย
ทรำบด้วย
ในระหว่ำงกำรดำเนินกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย
หำกได้รับข้อเสนอแนะจำกผู้ใด หรือจำกคณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำย ให้รัฐมนตรี
ผู้รักษำกำรนำข้อเสนอแนะดังกล่ำวไปประกอบกำรพิจำรณำด้วย

14/11/2019 SP 84
มาตรา ๘ เมื่อมีกรณีตำมมำตรำ ๕ (๒) ถ้ำรัฐมนตรีผู้รักษำกำรเห็นว่ำ
ข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะนั้นไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้มีหน้ำที่แจ้งให้ผู้ร้องเรียน
หรือผู้เสนอแนะทรำบพร้อมทั้งเหตุผลภำยในสิบวันนับแต่วันที่มีควำมเห็นดังกล่ำว
ถ้ำผู้ร้องเรียนหรือผู้เสนอแนะยังเห็นว่ำมีเหตุอันสมควรที่จะต้องพิจำรณำทบทวน
ควำมเหมำะสมของกฎหมำยนั้น จะเสนอเรื่องไปยังคณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำย
เพื่อพิจำรณำต่อไปก็ได้

14/11/2019 SP 85
มาตรา ๙ ในกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย ให้รัฐมนตรี
ผู้รักษำกำรพิจำรณำทบทวนในเรื่องดังต่อไปนี้ทั้งหมดหรือบำงเรื่องตำมที่จำเป็น
(๑) เหตุผลและควำมจำเป็นที่ต้องมีกฎหมำยนั้นใช้บังคับต่อไป
(๒) กำรปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมำยให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ทำง
เศรษฐกิจ สังคม กำรเมืองกำรปกครอง วิทยำศำสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมทั้งของ
ประเทศและของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อยกระดับควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของ
ประเทศ และเพื่อกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
(๓) กำรปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมำยให้สอดคล้องหรืออนุวัติกำรตำม
พันธกรณีระหว่ำงประเทศที่ประเทศไทยต้องปฏิบัติตำมภำยใต้บังคับกฎหมำยระหว่ำง
ประเทศ
(๔) กำรปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมำยเพื่อลดผลกระทบและภำระของ
ประชำชนที่เกิดขึ้นจำกกฎหมำยนั้น
14/11/2019 SP 86
มาตรา ๙ ในกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย ให้รัฐมนตรี
ผู้รักษำกำรพิจำรณำทบทวนในเรื่องดังต่อไปนี้ทั้งหมดหรือบำงเรื่องตำมที่จำเป็น (ต่อ)
(๔) ...
(๕) กำรใช้ระบบคณะกรรมกำร กำรอนุมัติ กำรอนุญำต ใบอนุญำต ระบบกำร
จดทะเบียนหรือระบบอื่นที่กำหนดขึ้นเพื่อกำกับหรือควบคุม เพียงเท่ำที่จำเป็น
(๖) กำรให้บริกำรแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จได้อยำงรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ
(๗) กำรป้องกันและขจัดกำรทุจริตและประพฤติมิชอบที่เกิดขึ้นจำกกำรบังคับใช้
กฎหมำยนั้น
(๘) เรื่องอื่นใดที่จะทำให้กฎหมำยนั้นไม่เป็นอุปสรรคต่อกำรดำเนินชีวติ หรือกำร
ประกอบอำชีพของประชำชนโดยไม่จำเป็น ไม่ก่อให้เกิดควำมไม่เป็นธรรมแก่ประชำชน
หรือทำให้คุณภำพชีวิตของประชำชนดีขึ้น
14/11/2019 SP 87
มาตรา ๙ ในกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย ให้รัฐมนตรี
ผู้รักษำกำรพิจำรณำทบทวนในเรื่องดังต่อไปนี้ทั้งหมดหรือบำงเรื่องตำมที่จำเป็น (ต่อ)
(๘) ....
ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง รัฐมนตรีผู้รักษำกำรต้องจัดให้มีกำรรับฟัง
ควำมคิดเห็นขององค์กรที่เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับกฎหมำยนั้น หรือ
จะจัดให้มีกำรรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนเป็นกำรทั่วไปก็ได้

14/11/2019 SP 88
มาตรา ๑๓ ในวำระเริ่มแรก ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรสั่งให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
ตรวจสอบกฎหมำยที่อยู่ในควำมรับผิดชอบของรัฐมนตรีผู้รักษำกำรนั้นทั้งหมด แล้วแจ้ง
ให้คณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำยทรำบตำมแบบ วิธีกำร และระยะเวลำที่คณะกรรมกำร
พัฒนำกฎหมำยกำหนด ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำนี้ใช้บังคับ
ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง ถ้ำกฎหมำยใดใช้บังคับเกินห้ำปีนับถึงวันที่
พระรำชกฤษฎีกำนี้ใช้บังคับ ให้หน่วยงำนตำมวรรคหนึ่งแจ้งให้คณะกรรมกำรพัฒนำ
กฎหมำยทรำบด้วยว่ำจะดำเนินกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำยฉบั
๘ ก.ย. ๖๓ บใด
ในปีใด ซึ่งทั้งหมดต้องทำให้แล้วเสร็จภำยในห้ำปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำนี้ใช้บังคับ
สำหรับกฎหมำยใดที่ใช้บังคับยังไม่ถึงห้ำปีนับถึงวันที่พระรำชกฤษฎีกำนี้ใช้บังคับ
ให้ดำเนินกำรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำยนั้นเมื่อกฎหมำยนั้นใช้บังคับ
ครบห้ำปีนับแต่วันที่กฎหมำยนั้นใช้บงั คับ
14/11/2019 SP 89
มาตรา ๑๓ ในวำระเริ่มแรก ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรสั่ง...
ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง...
เมื่อได้ข้อมูลตำมวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรสั่งให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้๘อก.ย.
ง ๖๐
จัดทำคำแปลของกฎหมำยทั้งหมดเป็นภำษำกลำงของอำเซียนให้แล้วเสร็จภำยในสองปี
นับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำนี้ใช้บังคับและเผยแพร่ทำงระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศโดยที่
ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลดังกล่ำวได้โดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำย และแจ้งให้คณะกรรมกำร
พัฒนำกฎหมำยทรำบด้วย และเมื่อใดที่มีกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยดังกล่ำว
ให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องปรับปรุงแก้ไขและเผยแพร่คำแปลของกฎหมำยนั้นโดยเร็ว

“กฎหมำย” ตำมนิยำม หมำยควำมรวมถึง “อนุบัญญัต”ิ


รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ลงวันที่ ๘ กันยำยน ๒๕๕๘ (ครบสองปี ๘ ก.ย. ๖๐)
14/11/2019 SP 90
พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๕๘
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ลงวันที่ ๘ กันยำยน ๒๕๕๘ (ใช้บังคับ ๙ ก.ย. ๕๘)
• รัฐมนตรีผู้รักษำกำรและผู้มีอำนำจออกกฎ ต้องจัดให้มีกำรทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย และกฎ
ทุกห้ำปีที่กฎหมำยและกฎใช้บังคับ หรือก่อนนั้นเมื่อมีเหตุหรือมีผู้รอ้ งเรียน
• กำรทบทวนต้องประกำศให้ประชำชนทรำบเป็นกำรทั่วไปและประกำศผ่ำนระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ
พร้อมทั้งแจ้งให้คณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำยทรำบด้วย
• ในระหว่ำงกำรทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย หำกได้รับข้อเสนอแนะจำกผู้ใด หรือจำกคณะกรรมกำร
พัฒนำกฎหมำย ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรหรือผู้มีอำนำจออกกฎนำข้อเสนอแนะดังกล่ำวไปประกอบกำร
พิจำรณำด้วย
• ถ้ำรัฐมนตรีผู้รักษำกำรหรือผูม้ ีอำนำจออกกฎ เห็นว่ำข้อร้องเรียนไม่มีเหตุผล ให้แจ้งผู้ร้องทรำบ และผู้ร้องอำจ
เสนอต่อคณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำยเพื่อพิจำรณำต่อไปได้
• กำหนดเกณฑ์กำรทบทวนควำมเหมำะสม ๙ ก.ย. ๖๐
• ให้จัดทำคำแปลกฎหมำยและกฎทั้งหมดเป็นภำษำกลำงของอำเซียนให้แล้วเสร็จภำยในสองปีนับแต่ใช้ พรฎ. นี้
14/11/2019 SP 91
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑
เหตุผลในกำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นกำรสมควรกำหนดหลักเกณฑ์
กำรจัดทำร่ำงกฎหมำย กำรตรวจสอบควำมจำเป็นในกำรตรำกฎหมำย กำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง
และกำรวิเครำะห์ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกกฎหมำย เพื่อประกอบกำรจัดทำร่ำงกฎหมำย และกำรเปิดเผย
ผลกำรรับฟังควำมคิดเห็นและกำรวิเครำะห์นั้นต่อประชำชน หลักเกณฑ์กำรตรวจสอบเนื้อหำของร่ำงกฎหมำย
ที่เกี่ยวกับระบบอนุญำต ระบบคณะกรรมกำร กำรใช้ดุลพินิจของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ระยะเวลำในกำรดำเนินกำร
ตำมขั้นตอนต่ำง ๆ และกำรกำหนดโทษอำญำ เพื่อให้กำรตรำกฎหมำยเป็นไปโดยละเอียดรอบคอบ
ไม่สร้ำงภำระแก่ประชำชนเกินควำมจำเป็น ตลอดจนกำหนดหลักเกณฑ์กำรประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมำย
ภำยหลังเมื่อกฎหมำยมีผลใช้บังคับแล้ว เพื่อพัฒนำกฎหมำยให้ทันสมัยและสอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง
ไป และกำรเข้ำถึงบทบัญญัติของกฎหมำยของประชำชน ทั้งนี้ ตำมนัยมำตรำ ๗๗ ประกอบกับมำตรำ ๒๕๘ ค
ด้ำนกฎหมำย (๑) และ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย จึงจำเป็นต้องตรำพระรำชบัญญัตินี้
14/11/2019 SP 92
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑
มาตรา ๓ ในพระรำชบัญญัตินี้
“กฎหมำย” หมำยควำมว่ำ พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระรำชบัญญัติ และ
ประมวลกฎหมำย
“กฎ” หมำยควำมว่ำ กฎตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธปี ฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง บรรดำที่มีผล
ให้เกิดภำระแก่ประชำชน หรือกำรไม่ปฏิบัติตำมจะมีผลให้ต้องได้รับโทษหรือเสียสิทธิ หรือกระทบต่อ
สถำนะของบุคคล
“กำรจัดทำร่ำงกฎหมำย” หมำยควำมว่ำ กำรจัดทำและพิจำรณำร่ำงกฎหมำยเพื่อให้มีกฎหมำย
ขึ้นใหม่ ยกเลิก ปรับปรุง หรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมำย
“กำรวิเครำะห์ผลกระทบ” หมำยควำมว่ำ กำรวิเครำะห์ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกกฎหมำย
พระรำชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งแปดสิบวันนับแต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ คือ ๒๘ พฤศจิกำยน ๒๕๖๒
14/11/2019 SP 93
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑

มาตรา ๓ ในพระรำชบัญญัตินี้
“กำรประเมินผลสัมฤทธิ์” หมำยควำมว่ำ กำรประเมินผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจำกกำร
บังคับใช้กฎหมำยและกฎว่ำได้ผลตรงตำมวัตถุประสงค์ของกำรตรำกฎหมำยนั้นมำกน้อย
เพียงใด คุ้มค่ำกับภำระที่เกิดขึ้นแก่รัฐและประชำชนหรือไม่ หรือมีผลกระทบอื่นอัน
ก่อให้เกิดควำมไม่เป็นธรรมแก่ประชำชนหรือไม่เพียงใด
“หน่วยงำนของรัฐ” หมำยควำมว่ำ หน่วยงำนที่เป็นของรัฐไม่ว่ำจะเป็นส่วนรำชกำร
รัฐวิสำหกิจ องค์กำรมหำชน หรือในรูปแบบอื่นใด และไม่ว่ำจะเป็นองค์กรในฝ่ำยบริหำร
ฝ่ำยนิติบัญญัติ ฝ่ำยตุลำกำร หรือเป็นองค์กรอิสระ หรือองค์กรอัยกำร
14/11/2019 SP 94
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑

มาตรา ๓ ในพระรำชบัญญัตินี้
“ผู้เกี่ยวข้อง” หมำยควำมว่ำ ผู้ซึ่งมีหรืออำจมีสิทธิหรือหน้ำที่ หรือได้รับหรืออำจได้รับ
ผลกระทบจำกร่ำงกฎหมำย กฎหมำย หรือกฎ อันมีลักษณะอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ประกอบกำร บุคคล หรือกลุ่มบุคคลซึ่งมีหรืออำจมีสิทธิหรือหน้ำที่ หรือได้รับหรืออำจได้รับ
ผลกระทบ รวมทั้งองค์กรที่เกี่ยวข้อง
(๒) กลุ่มบุคคลหรือชุมชนซึ่งอยู่ในพื้นที่ที่ได้รับหรืออำจได้รับผลกระทบ รวมทั้งองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งมีวัตถุประสงค์กระทำกำรเพื่อประโยชน์ของกลุ่มบุคคลหรือชุมชนดังกล่ำว
(๓) หน่วยงำนของรัฐซึ่งมีภำรกิจเกี่ยวข้องหรือที่ดูแลรับผิดชอบพื้นที่ทไี่ ด้รับหรืออำจได้รับผลกระทบ
(๔) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญในเรื่องนั้น
14/11/2019 SP 95
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑

มาตรา ๓ ในพระรำชบัญญัตินี้
“องค์กรที่เกี่ยวข้อง” หมำยควำมว่ำ สมำคมหรือมูลนิธิที่จัดตั้งขึ้นตำมประมวล
กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ สภำหรือนิติบุคคลที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่จัดตั้งขึ้นตำมกฎหมำย
เฉพำะที่ได้รับหรืออำจได้รับผลกระทบจำกร่ำงกฎหมำย
“ระบบกลำง” หมำยควำมว่ำ ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศและเครือข่ำยเชื่อมโยง
ที่จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกำรจัดทำร่ำงกฎหมำยและกำรประเมินผลสัมฤทธิ์
รวมทั้งกำรเข้ำถึงบทบัญญัติของกฎหมำยของประชำชน
14/11/2019 SP 96
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑
มาตรา ๕ หน่วยงำนของรัฐพึงจัดให้มีกฎหมำยเพียงเท่ำที่จำเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุง
กฎหมำยที่หมดควำมจำเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภำพกำรณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตหรือ
กำรประกอบอำชีพ โดยไม่ชักช้ำเพื่อไม่ให้เป็นภำระแก่ประชำชน ให้หน่วยงำนของรัฐดำเนินกำรให้ประชำชน
เข้ำถึงตัวบทกฎหมำยต่ำง ๆ ได้โดยสะดวกและสำมำรถเข้ำใจกฎหมำยได้ง่ำยเพื่อปฏิบัติตำมกฎหมำยได้อย่ำง
ถูกต้อง
ก่อนกำรตรำกฎหมำยทุกฉบับ หน่วยงำนของรัฐพึงจัดให้มีกำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง
และวิเครำะห์ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกกฎหมำยอย่ำงรอบด้ำนและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลกำรรับฟัง
ควำมคิดเห็นและกำรวิเครำะห์นั้นแก่ประชำชน และนำผลนั้นมำประกอบกำรพิจำรณำในกระบวนกำร
ตรำกฎหมำยทุกขั้นตอน
ในกำรจัดทำร่ำงกฎหมำย ...
14/11/2019 SP 97
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑

มาตรา ๕ ...
ในกำรจัดทำร่ำงกฎหมำย หน่วยงำนของรัฐพึงใช้ระบบอนุญำตและระบบ
คณะกรรมกำรเฉพำะกรณีที่จำเป็น และพึงกำหนดหลักเกณฑ์กำรใช้ดุลพินิจของเจ้ำหน้ำที่
ของรัฐและระยะเวลำในกำรดำเนินกำรตำมขั้นตอนต่ำง ๆ ที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยให้ชัดเจน
รวมทั้งพึงกำหนดโทษอำญำเฉพำะควำมผิดร้ำยแรง
ควำมในมำตรำนี้ให้ใช้บังคับแก่กำรจัดทำร่ำงกฎตำมที่กำหนดในกฎกระทรวงด้วย
โดยอนุโลม

14/11/2019 SP 98
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๖ ในกำรทีศ่ ำลยุติธรรมจะใช้บทบัญญัติแห่งกฎหมำยที่มีโทษอำญำ โทษทำงปกครอง
หรือสภำพบังคับที่เป็นผลร้ำยอื่นแก่ผู้ฝำ่ ฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำม บังคับแก่คดีใด ถ้ำศำลเห็นเองหรือ
คู่ควำมโต้แย้งพร้อมด้วยเหตุผลและศำลเห็นว่ำเป็นเหตุผลอันสมควรว่ำบทบัญญัติแห่งกฎหมำยนั้น
ไม่สอดคล้องกับมำตรำ ๕ วรรคหนึ่ง และมิใช่กรณีที่บทบัญญัตินั้นขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญอันเป็น
อำนำจของศำลรัฐธรรมนูญ และยังไม่มีคำวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำในส่วนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้น
ให้ศำลส่งควำมเห็นเช่นว่ำนั้นต่อประธำนศำลฎีกำเพื่อเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำเพื่อวินิจฉัย ในระหว่ำง
นั้นให้ศำลดำเนินกำรพิจำรณำต่อไปได้ แต่ให้รอกำรพิพำกษำคดีไว้ชั่วครำวจนกว่ำจะมีคำวินิจฉัย
ของที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำ ในกรณีทที่ ี่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำวินิจฉัยว่ำ บทบัญญัติแห่งกฎหมำยดังกล่ำว
ไม่สอดคล้องกับมำตรำ ๕ วรรคหนึ่ง ศำลจะไม่ลงโทษ หรือจะลงโทษน้อยกว่ำที่กฎหมำยกำหนด หรือ
จะกำหนดสภำพบังคับที่เป็นผลร้ำยแตกต่ำงจำกที่กฎหมำยกำหนดไว้ แล้วแต่กรณี ก็ได้ คำวินิจฉัยของ
ที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำว่ำบทบัญญัติแห่งกฎหมำยใดไม่สอดคล้องกับมำตรำ ๕ วรรคหนึ่ง ให้ใช้ได้กับ
คดีทั้งปวงที่ศำลยุติธรรมมีอำนำจพิจำรณำพิพำกษำคดี และในกำรนี้ ให้ผู้รักษำกำรตำมกฎหมำยดังกล่ำว
ดำเนินกำรเพื่อให้มีกำรแก้ไขกฎหมำยนั้นให้สอดคล้องกับมำตรำ ๕ วรรคหนึ่ง โดยเร็วต่อไป
14/11/2019 SP 99
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๖ ควำมในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับแก่กรณีทศี่ ำลปกครองเห็นว่ำบทบัญญัติแห่งกฎหมำยที่มี
โทษปรับทำงปกครองที่ใช้บังคับแก่คดีใดนั้นไม่สอดคล้องกับมำตรำ ๕ วรรคหนึ่ง ด้วยโดยอนุโลม โดยให้
อำนำจของประธำนศำลฎีกำและที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำตำมวรรคหนึ่ง เป็นอำนำจของประธำนศำลปกครอง
สูงสุดหรือที่ประชุมใหญ่ตุลำกำรในศำลปกครองสูงสุด แล้วแต่กรณี
ควำมในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับแก่กำรพิจำรณำของศำลทหำรด้วยโดยอนุโลม โดยให้อำนำจของ
ประธำนศำลฎีกำและที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำตำมวรรคหนึ่ง เป็นอำนำจของหัวหน้ำสำนักตุลำกำรทหำร
หรือที่ประชุมใหญ่ตุลำกำรพระธรรมนูญในศำลทหำรสูงสุด แล้วแต่กรณี
กำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสำม ให้เป็นไปตำมระเบียบที่ประชุมใหญ่
ศำลฎีกำ ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลำกำรในศำลปกครองสูงสุด หรือระเบียบที่ประชุมใหญ่ตุลำกำร
พระธรรมนูญในศำลทหำรสูงสุด แล้วแต่กรณี
กฎหมำยตำมมำตรำนี้ ให้หมำยควำมรวมถึงประกำศหรือคำสั่งบรรดำที่มีผลบังคับเช่นเดียวกับ
กฎหมำย
14/11/2019 SP 100
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
สรุป รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๒ ก ลงวันที่ ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๑

• มีหลักเกณฑ์ที่จะช่วยให้กฎหมำยที่ตรำขึ้นมีคุณภำพสูงขึ้นไม่เป็นภำระกับประชำชน
เกินสมควร
• มีกำรปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมำยที่ล้ำสมัยหรือไม่เหมำะสมกับสภำวกำรณ์ปัจจุบัน
• ประชำชนมีช่องทำงในกำรได้รับข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนกำรตรำกฎหมำยและมีฐำนข้อมูล
กฎหมำยที่เข้ำถึงได้สะดวกและไม่มีค่ำใช้จ่ำย
• กำหนดให้มีกลไกที่จะให้อำนำจแก่ศำลในกำรใช้ดุลพินิจเพื่อกำหนดโทษที่เป็นอุปสรรคต่อ
กำรดำรงชีวิตหรือกำรประกอบอำชีพของประชำชนโดยไม่สมควร เพื่อเป็นกำรบรรเทำ
และเยียวยำผลร้ำยที่จะเกิดขึ้นแก่ประชำชนในระหว่ำงที่ยังมิได้มีกำรยกเลิกหรือแก้ไข
กฎหมำยดังกล่ำว
พระรำชบั ญญัตินี้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งแปดสิบวันนับSPแต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ คือ ๒๘ พฤศจิกำยน
14/11/2019 101 ๒๕๖๒
จากการศึกษาและมีส่วนร่วมในกฎหมายหลายฉบับ ผู้บรรยำยได้บทเรียนและใช้เป็นแนวปฏิบัติ ดังนี้
• มีกฎหมำยที่เป็นตัวแบบที่ดี ที่ “ควรเอำอย่ำง” และ “ไม่ควรเอำอย่ำง”
• พึงศึกษำวิจัยให้ละเอียดก่อนกำรจัดทำ โดยเปิดให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ำร่วมอย่ำงแท้จริง
• พึงรักษำดุลระหว่ำง ผู้ประกอบกำร ผู้ใช้บริกำร และประชำชน กับ ผู้กำกับดูแล
• พึงกำหนดหลักกำรให้ชัดเจน
• พึงกำหนดองค์กรที่ใช้อำนำจให้ชัดเจน ตำมลำดับควำมสำคัญ
• พึงกำหนดรูปแบบอนุบัญญัติให้น้อยรูปแบบ และมีเกณฑ์ที่ชัดเจนแน่นอนว่ำเรื่องใดใช้รูปแบบใด
• พึงกำหนดกรอบกำรใช้ดุลยพินิจให้ชัดเจน
• พึงใช้ถ้อยคำให้เสถียร (คำที่ใช้อยู่เดิม คำที่มำจำกภำษำต่ำงประเทศ คำเทคนิค)
• พึงเคำรพกฎหมำยที่ตนใช้บังคับ (มีส่วนในกำรออก) และกฎหมำยอื่น โดยเคร่งครัด
• พึงตรวจสอบควำมสอดคล้องของกฎหมำยทั้งฉบับ และไม่ขัดกับกฎหมำยกลำง
14/11/2019 SP 102
Uniformity is not one fit for all but tailor made.
Wrong is wrong, even if everyone (someone) is doing it.
Right is right, even if no one is doing it.
No one left behind.
Accident waiting to happen.
Being a good model is better than teaching.
14/11/2019 SP 103
พระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
สรุป พ.ศ. ๒๕๔๖
• เป้ำหมำยกำรบริหำรรำชกำร: มุ่งเน้นประโยชน์สุขของประชำชน ผลสัมฤทธิ์ของงำน ประสิทธิภำพ
ควำมคุ้มค่ำ ลดขั้นตอนกำรบริหำร อำนวยควำมสะดวกและตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน
• ให้ทำแผนปฏิบัติรำชกำร ๔ ปี ระบุเป้ำหมำย ผลสัมฤทธิ์ งบประมำณที่ใช้ ถ้ำไม่ทำ สงป. ไม่อนุมัติ
งบประมำณ และทุกสิ้นปีงบประมำณต้องรำยงำนผลสัมฤทธิ์ต่อ ครม.
• ถ้ำส่วนรำชกำรต้องได้รับอนุมัติ อนุญำต หรือเห็นชอบ จำกส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรที่มีอำนำจ
แจ้งผลกำรพิจำรณำภำยใน ๑๕ วัน หรือเวลำที่กฎหมำย กฎ ระเบียบกำหนด ถ้ำไม่เสร็จและเกิดควำม
เสียหำย ให้ถือว่ำหัวหน้ำส่วนและเจ้ำหน้ำที่ที่รบั ผิดชอบประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง เว้นแต่พิสูจน์วำ่
ไม่ได้เกิดจำกควำมผิดของตน
• กำรตั้งคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรในหน้ำที่ให้ทำเฉพำะที่จำเป็น และส่วนรำชกำรที่เป็นกรรมกำรต้องผูกพัน
แม้ผู้แทนไม่ได้เข้ำร่วมประชุม
14/11/2019 SP 104
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. ๒๕๔๖
สรุป
• กำรสั่งกำรปกติให้ทำเป็นลำยลักษณ์อักษร ถ้ำสั่งด้วยวำจำ ให้ผู้รับคำสั่งบันทึกไว้เป็นลำย
ลักษณ์อักษร และเมื่อผู้รับคำสั่งปฏิบัติแล้วให้บันทึกรำยงำนผล โดยอ้ำงคำสั่งด้วยวำจำนั้น
• ต้องกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจให้เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดควำมสะดวกแก่ประชำชน
• ต้องประกำศกำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จของงำน และให้เป็นหน้ำที่ของผู้บังคับบัญชำที่
ต้องตรวจสอบ ให้ดำเนินกำรให้แล้วเสร็จภำยในกำหนด ถ้ำไม่กำหนด หรือกำหนดมำกเกิน
กพร. อำจกำหนดเวลำได้
• ถ้ำได้รับหนังสือถำมเกี่ยวกับงำนในหน้ำที่จำกประชำชนหรือจำกส่วนรำชกำร ต้องตอบ
หรือแจ้งภำยใน ๑๕ วัน เว้นแต่ กำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จของงำนไว้เป็นอย่ำงอื่น
14/11/2019 SP 105
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๘
ขอบเขตการใช้บังคับ
พระรำชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับกับบรรดำกำรอนุญำต กำรจดทะเบียนหรือกำรแจ้ง
ที่มีกฎหมำยหรือกฎกำหนดให้ต้องขออนุญำต จดทะเบียน หรือแจ้ง ก่อนจะดำเนินกำรใด
บทบัญญัติของกฎหมำยหรือกฎใดที่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้
ให้ใช้พระรำชบัญญัตินี้แทน
(มาตรา ๓)

14/11/2019
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๔ กSP ลงวันที่ ๒๒ มกรำคม ๒๕๕๘ หน้ำ ๑ 106
ค่าบังคับของกฎหมาย
กฎหมำยกลำง

กฎหมำยเฉพำะ

กฎหมำยทั่วไป
14/11/2019 SP 107
พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
บทนิยาม พ.ศ. ๒๕๕๘
๑๓๒ รจ ตอนที่ ๔ ก ลง ๒๒ ม.ค. ๕๘ หน้ำ ๑ ใช้บังคับ ๑๘๐ วันนับถัดจำกวันประกำศ ๒๒ ก.ค. ๕๘
มาตรา ๔ ในพระรำชบัญญัตินี้
“เจ้าหน้าที”่ หมำยควำมว่ำ เจ้ำหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
“อนุญาต” หมำยควำมว่ำ กำรที่เจ้ำหน้ำที่ยินยอมให้บุคคลใดกระทำกำรใดที่มีกฎหมำย
กำหนดให้ต้องได้รับควำมยินยอมก่อนกระทำกำรนั้น และให้หมำยควำมรวมถึงกำรออกใบอนุญำต
กำรอนุมัติ กำรจดทะเบียน กำรขึ้นทะเบียน กำรรับแจ้ง กำรให้ประทำนบัตรและกำรให้อำชญำบัตร
ด้วย
“ผู้อนุญาต” หมำยควำมว่ำ ผู้ซึ่งกฎหมำยกำหนดให้มีอำนำจในกำรอนุญำต
“พนักงานเจ้าหน้าที”่ หมำยควำมว่ำ พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรอนุญำต
“กฎหมายว่าด้วยการอนุญาต” หมำยควำมว่ำ บรรดำกฎหมำยที่มีบทบัญญัติกำหนดให้
กำรดำเนินกำรใดหรือกำรประกอบกิจกำรใดจะต้องได้รับอนุญำตก่อนจึงจะดำเนินกำรได้
14/11/2019 SP 108
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๘
การทบทวนความจาเป็น
ทุกห้ำปีนับแต่วันที่พระรำชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้อนุญำตพิจำรณำกฎหมำย
ที่ให้อำนำจในกำรอนุญำตว่ำ สมควรปรับปรุงกฎหมำยนั้นเพื่อยกเลิกกำรอนุญำตหรือจัดให้มี
มำตรกำรอื่นแทนกำรอนุญำต หรือไม่ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีควำมจำเป็นผู้อนุญำตจะพิจำรณำปรับปรุง
กฎหมำยหรือจัดให้มีมำตรกำรอื่นแทนในกำหนดระยะเวลำที่เร็วกว่ำนั้นก็ได้
ให้ผู้อนุญำตเสนอผลกำรพิจำรณำตำมวรรคหนึ่งต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจำรณำยกเลิกกำร
อนุญำตหรือจัดให้มีมำตรกำรอื่นแทนกำรอนุญำต ในกำรนี้ให้คณะรัฐมนตรีรับฟังควำมคิดเห็นของ
คณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำยตำมกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำประกอบกำรพิจำรณำ
ด้วย (มาตรา ๖)
14/11/2019
ใช้บังคับ ๑๘๐ วันนับถัดจำกวันประกำศSP๒๒ ก.ค. ๕๘ ครบ ๕ ปี ๒๒ ก.ค. ๖๓ 109
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
การจัดทาคู่มือสาหรับประชาชน
ในกรณีที่มีกฎหมำยกำหนดให้กำรกระทำใดจะต้องได้รับอนุญำต ผู้อนุญำตจะต้องจัดทำ
คู่มือสำหรับประชำชน ซึ่งอย่ำงน้อยต้องประกอบด้วย
๑. หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข (ถ้ำมี) ในกำรยื่นคำขอ และจะกำหนดให้ยื่นคำขอผ่ำน
ทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์แทนกำรมำยื่นคำขอด้วยตนเองก็ได้
๒. รำยกำรเอกสำรหรือหลักฐำนทีผ่ ู้ขออนุญำตจะต้องยื่นมำพร้อมกับคำขอ
๓. ขั้นตอนและระยะเวลำในกำรพิจำรณำอนุญำต
คู่มือสำหรับประชำชน ให้ปิดประกำศไว้ ณ สถำนที่ที่กำหนดให้ยื่นคำขอ และเผยแพร่ทำง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเมื่อประชำชนประสงค์จะได้สำเนำคู่มือดังกล่ำว ให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่
จัดสำเนำให้โดยจะคิดค่ำใช้จ่ำยตำมควรแก่กรณีก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้ระบุค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวไว้ใน
คู่มือสำหรับประชำชนด้วย
14/11/2019 SP
(มาตรา ๗) 110
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การตรวจสอบคาขอ พ.ศ. ๒๕๕๘
ให้เป็นหน้ำที่ของพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ผู้มีหน้ำที่ในกำรรับคำขอ จะต้องตรวจสอบคำขอ
และรำยกำรเอกสำรหรือหลักฐำนที่ยื่นพร้อมคำขอให้ถูกต้องครบถ้วน
หำกเห็นว่ำคำขอไม่ถูกต้องหรือยังขำดเอกสำรหรือหลักฐำนใด ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทรำบ
ทันที ถ้ำเป็นกรณีที่สำมำรถแก้ไขหรือเพิ่มเติมได้ในขณะนั้น ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคำขอดำเนินกำรแก้ไข
หรือยื่นเอกสำรหรือหลักฐำนเพิ่มเติมให้ครบถ้วน
ถ้ำเป็นกรณีทไี่ ม่อำจดำเนินกำรได้ในขณะนั้น ให้บันทึกควำมบกพร่องและรำยกำรเอกสำรหรือ
หลักฐำนที่จะต้องยื่นเพิ่มเติม พร้อมทั้งกำหนดระยะเวลำที่ผู้ยื่นคำขอจะต้องดำเนินกำรแก้ไขหรือ
ยื่นเพิ่มเติมไว้ในบันทึกดังกล่ำวด้วย และให้พนักงำนเจ้ำหน้ำทีแ่ ละผู้ยื่นคำขอลงนำมไว้ในบันทึกนั้น
ให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่มอบสำเนำบันทึกให้ผู้ยื่นคำขอไว้เป็นหลักฐำน
14/11/2019 SP 111
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๘
การตรวจสอบคาขอ
ในกรณีที่ผู้ยื่นคำขอได้จัดทำคำขอถูกต้องและแนบเอกสำรหรือหลักฐำนครบถ้วนตำมที่ระบุ
ในคู่มือสำหรับประชำชนแล้ว หรือได้แก้ไขหรือยื่นเอกสำรหรือหลักฐำนเพิ่มเติมครบถ้วน
ตำมทีพ่ นักงำนเจ้ำหน้ำทีแ่ นะนำหรือตำมที่ปรำกฏในบันทึกแล้ว พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ จะเรียกเอกสำร
หรือหลักฐำนเพิ่มเติมอื่นใดอีกไม่ได้ และจะปฏิเสธกำรพิจำรณำคำขอนั้นโดยอำศัยเหตุแห่งควำม
ไม่สมบูรณ์ของคำขอหรือควำมไม่ครบถ้วนของเอกสำรหรือหลักฐำนไม่ได้ เว้นแต่ เป็นกรณีที่ควำม
ไม่สมบูรณ์หรือควำมไม่ครบถ้วนนัน้ เกิดจำกควำมประมำทเลินเล่อหรือทุจริตของพนักงำนเจ้ำหน้ำที่
และเป็นผลให้ไม่อำจอนุญำตได้ ในกรณีนี้ให้ผู้อนุญำตสั่งกำรตำมที่เห็นสมควร และให้ดำเนินกำร
ทำงวินัยหรือดำเนินคดีกับพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องโดยไม่ชักช้ำ (มาตรา ๘)
14/11/2019 SP 112
พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การคืนคาขอ และสิทธิอุทธรณ์
พ.ศ. ๒๕๕๘
ในกรณีที่ผู้ยื่นคำขอไม่แก้ไขเพิ่มเติมคำขอหรือไม่ส่งเอกสำรหรือหลักฐำนเพิ่มเติม
ตำมที่พนักงำนเจ้ำหน้ำที่แจ้งให้ทรำบหรือตำมที่ปรำกฏในบันทึกที่จัดทำ
ให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ คืนคำขอให้แก่ผู้ยื่นคำขอพร้อมทั้งแจ้งเป็นหนังสือถึงเหตุ
แห่งกำรคืนคำขอให้ทรำบด้วย
ผู้ยื่นคำขอจะอุทธรณ์คำสั่งคืนคำขอ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง หรือจะยื่นคำขอใหม่ก็ได้ แต่ในกรณีที่กฎหมำยกำหนดให้ต้องยื่นคำขอใด
ภำยในระยะเวลำที่กำหนด ผู้ยื่นคำขอจะต้องยื่นคำขอนั้นใหม่ภำยในระยะเวลำดังกล่ำว
(มาตรา ๙)
14/11/2019 SP 113
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๘
กาหนดระยะเวลาการพิจารณา การขยาย การแจ้ง
ผู้อนุญำตต้องดำเนินกำรให้แล้วเสร็จภำยในกำหนดเวลำที่ระบุไว้ในคู่มือสำหรับประชำชน
และแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทรำบภำยในเจ็ดวันนับแต่วันที่พิจำรณำแล้วเสร็จ
เมื่อครบกำหนดเวลำตำมที่ระบุไว้ในคู่มือสำหรับประชำชนแล้ว หำกผู้อนุญำตยังพิจำรณำ
ไม่แล้วเสร็จ ให้แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคำขอทรำบถึงเหตุแห่งควำมล่ำช้ำทุกเจ็ดวันจนกว่ำจะ
พิจำรณำแล้วเสร็จ พร้อมทั้งส่งสำเนำกำรแจ้งดังกล่ำวให้ กพร. ทรำบทุกครั้ง
ในกรณีที่ กพร. เห็นว่ำควำมล่ำช้ำนั้นเกินสมควรแก่เหตุหรือเกิดจำกกำรขำดประสิทธิภำพ
ในกำรปฏิบัติรำชกำรของหน่วยงำนของผู้อนุญำต ให้ กพร. รำยงำนต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมทั้ง
เสนอแนะให้มีกำรพัฒนำหรือปรับปรุงหน่วยงำนหรือระบบกำรปฏิบัติรำชกำรของหน่วยงำนนั้น
ในกรณีไม่แจ้งตำมวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้ถือว่ำผู้อนุญำตกระทำกำรหรือละเว้น
กระทำกำรเพื่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ผู้อื่น เว้นแต่จะเป็นเพรำะมีเหตุสุดวิสัย (มาตรา ๑๐)
14/11/2019 SP 114
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๘
กาหนดให้ใช้กฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับในวันขอ
ในกรณีที่มีกฎหมำย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับใดออกใช้บังคับ และมีผลให้ต้อง
เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ วิธีกำร เงื่อนไข หรือรำยละเอียดอื่นใดที่ปรำกฏในคู่มือสำหรับ
ประชำชน กำรเปลี่ยนแปลงเช่นว่ำนั้น มิให้ใช้บังคับกับกำรยื่นคำขอที่ได้ยื่นไว้แล้ว
โดยชอบก่อนวันที่กฎหมำย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับดังกล่ำวมีผลใช้บังคับ เว้นแต่
“กฎหมำย” นั้นจะบัญญัติไว้เป็นอย่ำงอื่น แต่สำหรับในกรณี“กฎ ระเบียบ หรือ
ข้อบังคับ” นั้นจะบัญญัติไว้เป็นอย่ำงอื่น ได้ก็แต่เฉพำะในกรณีที่กำรเปลี่ยนแปลงนั้น
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ยื่นคำขอ (มาตรา ๑๑)
14/11/2019 SP 115
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
กาหนดให้การชาระค่าธรรมเนียมการต่ออนุญาตมีผลเป็นการอนุญาต
ในกรณีทกี่ ฎหมำยกำหนดอำยุใบอนุญำตไว้ และกิจกำรหรือกำรดำเนินกำรที่ได้รับ
ใบอนุญำตนั้นมีลักษณะเป็นกิจกำรหรือกำรดำเนินกำรที่เห็นได้ว่ำผู้ได้รับใบอนุญำตจะประกอบ
กิจกำรหรือดำเนินกำรนั้นต่อเนื่องกัน คณะรัฐมนตรีจะกำหนดให้ผู้รับใบอนุญำตชำระค่ำธรรมเนียม
กำรต่ออำยุใบอนุญำตตำมที่กำหนดไว้ในกฎหมำยนั้น ๆ แทนกำรยื่นคำขอต่ออำยุใบอนุญำตก็ได้
และเมื่อหน่วยงำนซึ่งมีอำนำจออกใบอนุญำตได้รับค่ำธรรมเนียมดังกล่ำวแล้ว ให้ออกหลักฐำน
กำรต่ออำยุใบอนุญำตให้แก่ผู้รับใบอนุญำตโดยเร็ว และให้ถือว่ำผู้รับใบอนุญำตได้รับกำรต่ออำยุ
ใบอนุญำตตำมกฎหมำยนั้น ๆ แล้ว
โดยให้ทำเป็นร่ำง พรฎ. ระบุชื่อพระรำชบัญญัติและประเภทใบอนุญำต และให้ส่งร่ำง พรฎ.
ให้สภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำพิจำรณำเป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ ๓๐ วัน หำกไม่มีมติทักท้วง
ให้นำร่ำง พรฎ. กรำบบังคมทูลเพื่อทรงตรำ พรฎ. (มาตรา ๑๒)
14/11/2019 SP 116
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
การกากับดูแล
ให้เป็นหน้ำที่ของผู้อนุญำตที่จะต้องกำหนดหลักเกณฑ์และแนวทำงกำรตรวจสอบ
กำรประกอบกิจกำรหรือกำรดำเนินกิจกำรของผู้ได้รับอนุญำตให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยว่ำด้วย
กำรอนุญำตกำหนด
ให้เป็นหน้ำที่ของพนักงำนเจ้ำหน้ำที่และผู้อนุญำตที่จะต้องตรวจสอบตำมหลักเกณฑ์
และแนวทำงดังกล่ำว
ให้เป็นหน้ำที่ของพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ที่จะดำเนินกำรตรวจสอบและสั่งกำรตำมอำนำจหน้ำที่
โดยเร็ว เมื่อมีผู้ได้รับควำมเดือดร้อนรำคำญหรือเสียหำย จำกกำรประกอบกิจกำรหรือกำรดำเนิน
กิจกำรของผู้ได้รับอนุญำต ไม่ว่ำควำมจะปรำกฏต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่เองหรือมีผู้ร้องเรียน
(มาตรา ๑๓)
14/11/2019 SP 117
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
• ผู้อนุญาต ต้อง ๑. ทบทวนควำมจำเป็นในกำรให้มีระบบอนุญำตทุกห้ำปี
๒. จัดทำคู่มือ ปชช. ปิดประกำศ ลงสื่อ จัดไว้ให้
๓. กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทำงกำรตรวจสอบกำรประกอบกิจกำรหรือ
กำรดำเนินกิจกำรของผู้ได้รับอนุญำตให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยว่ำด้วยกำรอนุญำตกำหนด
๔. ตรวจสอบกำรประกอบกำรตำมหลักเกณฑ์กำรตรวจสอบ
• พนักงานเจ้าหน้าที่ มีหน้ำทีต่ รวจสอบคำขอและเอกสำรให้ถูกต้อง หำกไม่ถูกให้แจ้งแก้ไข
เพิ่มเติม หำกรับคำขอแล้วจะปฏิเสธไม่พิจำรณำเพรำะคำขอไม่ถูกต้องไม่ได้ เว้นเป็นกำรทุจริต
ให้ดำเนินกำรทำงวินัยหรือดำเนินคดีโดยเร็ว และให้ผู้อนุญำตสั่งกำรตำมที่เห็นสมควร
หำกคำขอไม่ถูกต้องหรือไม่แก้ภำยในกำหนดให้คืนคำขอเป็นหนังสือพร้อมด้วยเหตุผล ซึ่งผู้ขอ
มีสิทธิอุทธรณ์หรือยื่นคำขอใหม่ และต้องตรวจสอบ สั่งกำรเมื่อมีผู้ได้รับควำมเสียหำย
• กฎหมำย กฎ ระเบียบใช้ ณ วันยื่นคำขอ เว้นกฎหมำยกำหนดหรือเป็นคุณแก่ผู้ขอ
14/11/2019 SP 118
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
สรุป
• ผู้อนุญำต ต้อง ๑. ทบทวนควำมจำเป็นในกำรให้มีระบบอนุญำตทุก ๕ ปี
๒. จัดทำคู่มือ ปชช. ปิดประกำศ ลงสื่อ จัดไว้ให้
๓. กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทำงกำรตรวจสอบกำรประกอบกิจกำรหรือ
กำรดำเนินกิจกำรของผู้ได้รับอนุญำตให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยว่ำด้วยกำรอนุญำตกำหนด
๔. ตรวจสอบกำรประกอบกำรตำมหลักเกณฑ์กำรตรวจสอบ
• พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ มีหน้ำทีต่ รวจสอบคำขอและเอกสำรให้ถูกต้อง หำกไม่ถูกให้แจ้งแก้ไขเพิ่มเติม
หำกรับคำขอแล้วจะปฏิเสธไม่พิจำรณำเพรำะคำขอไม่ถูกต้องไม่ได้ เว้นเป็นกำรทุจริต
ให้ดำเนินกำรทำงวินัยหรือดำเนินคดีโดยเร็ว และให้ผู้อนุญำตสั่งกำรตำมที่เห็นสมควร
หำกคำขอไม่ถูกต้องหรือไม่แก้ภำยในกำหนดให้คืนคำขอเป็นหนังสือพร้อมด้วยเหตุผล ซึ่งผู้ขอ
มีสิทธิอุทธรณ์หรือยื่นคำขอใหม่ และต้องตรวจสอบสั่งกำรเมื่อมีผู้ได้รับควำมเสียหำย
14/11/2019 SP 119
พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
สรุป
• กฎหมำย กฎ ระเบียบใช้ ณ วันยื่นคำขอ เว้นกฎหมำยกำหนดหรือเป็นคุณแก่ผู้ขอ
• ผู้อนุญำตต้องกำหนดหลักเกณฑ์และแนวทำงกำรตรวจสอบกำรประกอบกิจกำรหรือ
กำรดำเนินกิจกำรของผู้ได้รับอนุญำต ให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยว่ำด้วยกำรอนุญำตกำหนด
• พนักงำนเจ้ำหน้ำที่และผู้อนุญำตมีหน้ำที่ต้องตรวจสอบตำมหลักเกณฑ์และแนวทำงดังกล่ำว
• พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ต้องตรวจสอบและสั่งกำรโดยเร็ว เมื่อมีผู้ได้รับควำมเดือดร้อนรำคำญ หรือ
เสียหำยจำกกำรประกอบกิจกำรหรือกำรดำเนินกิจกำรของผู้ได้รับอนุญำต ไม่ว่ำควำมจะปรำกฏ
ต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่เองหรือมีผู้ร้องเรียน

14/11/2019 SP 120
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ขอบเขตการใช้บังคับ
วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองตำมกฎหมำยต่ำง ๆ ให้เป็นไปตำมที่กำหนดใน
พระรำชบัญญัตินี้ เว้นแต่ ในกรณีที่กฎหมำยใดกำหนดวิธีปฏิบตั ิรำชกำรทำงปกครอง
เรื่องใดไว้โดยเฉพำะและมีหลักเกณฑ์ที่ประกันควำมเป็นธรรมหรือมีมำตรฐำนในกำร
ปฏิบัติรำชกำรไม่ต่ำกว่ำหลักเกณฑ์ที่กำหนดในพระรำชบัญญัตินี้
(มาตรา ๓)
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๖๐ ก ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกำยน ๒๕๓๙ หน้ำ ๑
ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๘๙ ก ลงวันSPที่ ๓๐ ธันวำคม ๒๕๕๗ หน้ำ ๑ แก้ ม. ๒๗ เพิ่ม ๓๙/๑121
14/11/2019
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
นิยาม
“วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมำยควำมว่ำ กำรเตรียมกำร
และกำรดำเนินกำรของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มคี ำสั่งทำงปกครองหรือกฎ
และรวมถึงกำรดำเนินกำรใด ๆ ในทำงปกครองตำมพระรำชบัญญัตินี้

“การพิจารณาทางปกครอง” หมำยควำมว่ำ กำรเตรียมกำรและ


กำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่เพื่อจัดให้มีคำสั่งทำงปกครอง

14/11/2019 SP 122
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
นิยาม
“คาสั่งทางปกครอง” หมำยควำมว่ำ
(๑) กำรใช้อำนำจตำมกฎหมำยของเจ้ำหน้ำที่ทมี่ ีผลเป็นกำรสร้ำงนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่ำง
บุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถำนภำพของสิทธิหรือ
หน้ำที่ของบุคคล ไม่ว่ำจะเป็นกำรถำวรหรือชั่วครำว เช่น กำรสั่งกำร กำรอนุญำต กำรอนุมัติ
กำรวินิจฉัยอุทธรณ์ กำรรับรอง และกำรรับจดทะเบียน แต่ไม่หมำยควำมรวมถึงกำรออกกฎ
(๒) กำรอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง

“กฎ” หมำยควำมว่ำ พระรำชกฤษฎีกำ กฎกระทรวง ประกำศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น


ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นกำรทั่วไป โดยไม่มุ่งหมำยให้ใช้บังคับแก่
กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นกำรเฉพำะ
14/11/2019 SP 123
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
นิยาม
“เจ้าหน้าที่” หมำยควำมว่ำ บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อำนำจหรือ
ได้รับมอบให้ใช้อำนำจทำงปกครองของรัฐในกำรดำเนินกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดตำม
กฎหมำย ไม่ว่ำจะเป็นกำรจัดตั้งขึ้นในระบบรำชกำร รัฐวิสำหกิจหรือกิจกำรอื่นของรัฐ
หรือไม่ก็ตำม
“คู่กรณี” หมำยควำมว่ำ ผู้ยื่นคำขอหรือผู้คัดค้ำนคำขอ ผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่
ในบังคับของคำสั่งทำงปกครอง และผู้ซึ่งได้เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครอง
เนื่องจำกสิทธิของผู้นั้นจะถูกกระทบกระเทือนจำกผลของคำสั่งทำงปกครอง
(มาตรา ๔)
14/11/2019 SP 124
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ผู้ทาคาสั่งทางปกครอง และข้อห้ามทาการพิจารณาทางปกครอง
คำสั่งทำงปกครองจะต้องกระทำโดยเจ้ำหน้ำที่ซึ่งมีอำนำจหน้ำที่ในเรื่องนั้น (มาตรา ๑๒)
เจ้ำหน้ำที่ดังต่อไปนี้จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้
(๑) เป็นคู่กรณีเอง
(๒) เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
(๓) เป็นญำติของคู่กรณี คือ เป็นบุพกำรีหรือผู้สืบสันดำนไม่ว่ำชั้นใด ๆ หรือเป็นพี่น้องหรือ
ลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงภำยในสำมชั้น หรือเป็นญำติเกี่ยวพันทำงแต่งงำนนับได้เพียงสองชั้น
(๔) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี
(๕) เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
(๖) กรณีอื่นตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
(มาตรา ๑๓)
14/11/2019 SP 125
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ให้หยุดพิจารณา และวิธีการคัดค้าน
เมื่อมีกรณีทเี่ จ้ำหน้ำที่ทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้ หรือคู่กรณีคัดค้ำนว่ำเจ้ำหน้ำที่ผู้ใด
เป็นบุคคลที่ทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้ ให้เจ้ำหน้ำที่ผู้นั้นหยุดกำรพิจำรณำเรื่องไว้ก่อน และ
แจ้งให้ผู้บังคับบัญชำเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทรำบ เพื่อที่ผู้บังคับบัญชำดังกล่ำวจะได้มีคำสั่งต่อไป

กำรยื่นคำคัดค้ำน กำรพิจำรณำคำคัดค้ำน และกำรสั่งให้เจ้ำหน้ำที่อื่นเข้ำปฏิบัติหน้ำที่แทน


ผู้ที่ถูกคัดค้ำน ให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง
(มาตรา ๑๔)
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖ และ ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๕ ก ลงวันที่ ๙ กุมภำพันธ ๒๕๔๒ หน้ำ ๒๒
14/11/2019 SP 126
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
เหตุอื่นที่จะพิจารณาไม่ได้ และวิธีปฏิบัติ
ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจำกบัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๓ เกี่ยวกับเจ้ำหน้ำที่ที่มีอำนำจพิจำรณำ
ทำงปกครอง ซึ่งมีสภำพร้ำยแรงอันอำจทำให้กำรพิจำรณำทำงปกครองไม่เป็นกลำง เจ้ำหน้ำที่ผู้นั้น
จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองในเรื่องนั้นไม่ได้
(๑) ถ้ำผู้นั้นเห็นเองว่ำตนมีกรณีดังกล่ำว ให้ผู้นั้นหยุดกำรพิจำรณำเรื่องไว้ก่อนและแจ้งให้
ผู้บังคับบัญชำเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทรำบ
(๒) ถ้ำมีคู่กรณีคัดค้ำนว่ำผู้นั้นมีเหตุดังกล่ำว หำกผู้นั้นเห็นว่ำตนไม่มีเหตุตำมที่คัดค้ำนนั้น
ผู้นั้นจะทำกำรพิจำรณำเรื่องต่อไปก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชำเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทรำบ
(๓) ให้ผู้บังคับบัญชำของผู้นั้นมีคำสั่งโดยไม่ชักช้ำว่ำ ผู้นั้นมีอำนำจในกำรพิจำรณำ
ทำงปกครองในเรื่องนั้นหรือไม่
(มาตรา ๑๖)
14/11/2019 SP 127
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การกระทาก่อนหยุดการพิจารณาไม่เสียไป
กำรกระทำใด ๆ ของเจ้ำหน้ำที่ที่ได้กระทำไปก่อนหยุดกำรพิจำรณำ ไม่เสียไป เว้นแต่
เจ้ำหน้ำที่ผู้เข้ำปฏิบัติหน้ำที่แทนผู้ถูกคัดค้ำนจะเห็นสมควรดำเนินกำรส่วนหนึ่งส่วนใดเสียใหม่ก็ได้
(มาตรา ๑๗)
กำรหยุดพิจำรณำและกำรคัดค้ำน ไม่ให้นำมำใช้บังคับกับกรณีที่มคี วำมจำเป็นเร่งด่วน หำก
ปล่อยให้ล่ำช้ำไปจะเสียหำยต่อประโยชน์สำธำรณะหรือสิทธิของบุคคลจะเสียหำยโดยไม่มีทำงแก้ไข
ได้ หรือไม่มีเจ้ำหน้ำทีอ่ ื่นปฏิบัตหิ น้ำทีแ่ ทนผู้นั้นได้ (มาตรา ๑๘)
ถ้ำปรำกฏภำยหลังว่ำเจ้ำหน้ำที่ขำดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ำมหรือกำรแต่งตั้งไม่ชอบ
ด้วยกฎหมำย อันเป็นเหตุให้ผู้นั้นต้องพ้นจำกตำแหน่ง กำรพ้นจำกตำแหน่งเช่นว่ำนี้
ไม่กระทบกระเทือนถึงกำรใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตำมอำนำจหน้ำที่ (มาตรา ๑๙)
14/11/2019 SP 128
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
คู่กรณี ความสามารถ
บุคคลธรรมดำ คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อำจเป็นคู่กรณีในกำรพิจำรณำทำงปกครอง
ได้ตำมขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออำจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอำจหลีกเลี่ยงได้
(มาตรา ๒๑)
ผูม้ ีควำมสำมำรถกระทำกำรในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองได้ จะต้องเป็น
(๑) ผู้ซึ่งบรรลุนิติภำวะ
(๒) ผู้ซึ่งมีบทกฎหมำยเฉพำะกำหนดให้มีควำมสำมำรถกระทำกำรในเรื่องที่กำหนดได้
แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภำวะหรือควำมสำมำรถถูกจำกัดตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
(๓) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตำมมำตรำ ๒๑ โดยผู้แทนหรือตัวแทน แล้วแต่กรณี
(๔) ผู้ซึ่งมีประกำศของนำยกรัฐมนตรีกำหนดให้มีควำมสำมำรถกระทำกำรในเรื่องที่กำหนดได้
(มาตรา ๒๒)
14/11/2019 SP 129
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
คู่กรณีต้องมาปรากฎตัวต่อหน้า ตั้งผู้แทน นาทนาย ที่ปรึกษาเข้าได้
ในกำรพิจำรณำทำงปกครองทีค่ ู่กรณีต้องมำปรำกฏตัวต่อหน้ำเจ้ำหน้ำที่ คู่กรณีมีสิทธินำ
ทนำยควำมหรือที่ปรึกษำของตนเข้ำมำในกำรพิจำรณำทำงปกครองได้
กำรใดที่ทนำยควำมหรือที่ปรึกษำได้ทำลงต่อหน้ำคู่กรณีให้ถือว่ำเป็นกำรกระทำของคู่กรณี
เว้นแต่คู่กรณีจะได้คัดค้ำนเสียแต่ในขณะนั้น (มาตรา ๒๓)
คู่กรณีอำจมีหนังสือแต่งตั้งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภำวะกระทำกำรอย่ำงหนึ่ง
อย่ำงใดตำมที่กำหนดแทนตนในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองใด ๆ ได้ ในกำรนี้เจ้ำหน้ำที่
จะดำเนินกระบวนพิจำรณำทำงปกครองกับตัวคู่กรณีได้เฉพำะเมื่อเป็นเรื่องที่ผู้นั้นมีหน้ำที่โดยตรง
ที่จะต้องทำกำรนั้นด้วยตนเองและต้องแจ้งให้ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งให้กระทำกำรแทนทรำบด้วย
(มาตรา ๒๔)
14/11/2019 SP 130
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ผู้ได้รับแต่งตั้งจากคู่กรณีไม่ทราบ ไม่น่าไว้วางใจ

ถ้ำผู้ได้รับกำรแต่งตั้งไม่ทรำบข้อเท็จจริงเพียงพอหรือมีเหตุไม่ควรไว้วำงใจในควำมสำมำรถ
ให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งให้คู่กรณีทรำบโดยไม่ชักช้ำ

กำรแต่งตั้งให้กระทำกำรแทนไม่ถือว่ำสิ้นสุดลงเพรำะควำมตำยของคู่กรณีหรือกำรที่
ควำมสำมำรถหรือควำมเป็นผู้แทนของคู่กรณีเปลี่ยนแปลงไป เว้นแต่ผู้สืบสิทธิตำมกฎหมำย
ของคู่กรณีหรือคู่กรณีจะถอนกำรแต่งตั้งดังกล่ำว (มาตรา ๒๔)

14/11/2019 SP 131
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
เอกสารที่ยื่นต้องเป็นภาษาไทย
เอกสำรที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ให้จัดทำเป็นภำษำไทย ถ้ำเป็นเอกสำรที่ทำขึ้นเป็น
ภำษำต่ำงประเทศ ให้คู่กรณีจัดทำคำแปลเป็นภำษำไทยที่มีกำรรับรองควำมถูกต้องมำให้ภำยใน
ระยะเวลำที่เจ้ำหน้ำที่กำหนด ในกรณีนี้ให้ถือว่ำเอกสำรดังกล่ำวได้ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ในวันที่เจ้ำหน้ำที่
ได้รับคำแปลนั้น เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่จะยอมรับเอกสำรที่ทำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ และในกรณีนี้
ให้ถือว่ำวันที่ได้ยื่นเอกสำรฉบับที่ทำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศเป็นวันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับเอกสำร
ดังกล่ำว
กำรรับรองควำมถูกต้องของคำแปลเป็นภำษำไทยหรือกำรยอมรับเอกสำรที่ทำขึ้น
เป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง (มาตรา ๒๖)
กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๑๗ ก ลงวันที่ ๒๒ พฤษภำคม
14/11/2019 SP
๒๕๔๐ หน้ำ ๒๗ 132
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
บุคลลที่รับรองคาแปล
(๑) คนไทยที่จบกำรศึกษำในระดับที่ไม่ต่ำกวำปริญญำตรีในหลักสูตรที่ใชภำษำ
ที่ปรำกฏในเอกสำรนั้นเปนภำษำในกำรเรียนกำรสอน
(๒) อำจำรยในสถำบันกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำและเปนผูสอนภำษำที่ปรำกฏ
ในเอกสำรนั้นในสถำบันกำรศึกษำดังกลำว
(๓) สถำนทูตหรือสถำนกงสุลตำงประเทศที่ตั้งอยูในประเทศไทย โดยประเทศ
นั้นใชภำษำที่ปรำกฏในเอกสำรนั้นเปนภำษำรำชกำร
(๔) สถำนทูตหรือสถำนกงสุลไทยในตำงประเทศ
กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๑๗ ก ลงวันที่ ๒๒ พฤษภำคม ๒๕๔๐ หน้ำ ๒๗
14/11/2019 SP 133
มาตรา ๑๓ ในวำระเริ่มแรก ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรสั่ง...
ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง...
เมื่อได้ข้อมูลตำมวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีผู้รักษำกำรสั่งให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
จัดทำคำแปลของกฎหมำยทั้งหมดเป็นภำษำกลำงของอำเซียนให้แล้วเสร็จภำยในสองปี
นับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำนี้ใช้บังคับและเผยแพร่ทำงระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศโดยที่
ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลดังกล่ำวได้โดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำย และแจ้งให้คณะกรรมกำร
พัฒนำกฎหมำยทรำบด้วย และเมื่อใดที่มีกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยดังกล่ำว
ให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องปรับปรุงแก้ไขและเผยแพร่คำแปลของกฎหมำยนั้นโดยเร็ว

กฎหมำย ตำมนิยำม หมำยควำมรวมถึงอนุบัญญัติ


รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ลงวันที่ ๘ กันยำยน ๒๕๕๘ (ครบสองปี ๘ ก.ย. ๖๐)
14/11/2019 SP 134
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การแจ้งสิทธิและหน้าที่ และการตรวจคาขอ
ให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งสิทธิและหน้ำทีใ่ นกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองให้คู่กรณีทรำบ
ตำมควำมจำเป็นแก่กรณี (มาตรา ๒๗ ว.๑)
ให้เป็นหน้ำทีข่ องเจ้ำหน้ำที่ผู้รับคำขอ ที่จะต้องดำเนินกำรตรวจสอบควำมถูกต้องของคำขอ
และควำมครบถ้วนของเอกสำรบรรดำทีม่ ีกฎหมำยหรือกฎกำหนดให้ต้องยื่นมำพร้อมกับคำขอ
หำกคำขอไม่ถูกต้อง ให้เจ้ำหน้ำที่ดังกล่ำวแนะนำให้ผู้ยื่นคำขอดำเนินกำรแก้ไขเพิ่มเติมเสียให้ถูกต้อง
และหำกมีเอกสำรใดไม่ครบถ้วนให้แจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทรำบทันทีหรือภำยในไม่เกินเจ็ดวันนับแต่วันที่
ได้รับคำขอ ในกำรแจ้งดังกล่ำวให้เจ้ำหน้ำที่ทำเป็นหนังสือลงลำยมือชื่อของเจ้ำหน้ำที่ผู้รับคำขอและ
ระบุรำยกำรเอกสำรที่ไม่ถูกต้องหรือยังไม่ครบถ้วนให้ผู้ยื่นคำขอทรำบ พร้อมทั้งบันทึกกำรแจ้ง
ดังกล่ำวไว้ในกระบวนพิจำรณำจัดทำคำสั่งทำงปกครองนั้นด้วย (มาตรา ๒๗ ว.๒)
14/11/2019 SP 135
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ปฏิเสธไม่ดาเนินการตามคาขอไม่ได้ โทษทางวินัย หน้าที่ผู้ยื่นคาขอ การคืนคาขอ
เมื่อผู้ยื่นคำขอได้แก้ไขคำขอหรือจัดส่งเอกสำรตำมที่ระบุในกำรแจ้งครบถ้วนแล้ว เจ้ำหน้ำที่
จะปฏิเสธไม่ดำเนินกำรตำมคำขอเพรำะเหตุยังขำดเอกสำรอีกมิได้ เว้นแต่มีควำมจำเป็นเพื่อปฏิบัติ
ให้ถูกต้องตำมกฎหมำยหรือกฎและได้รับควำมเห็นชอบจำกผู้บังคับบัญชำเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่ง
ในกรณีเช่นนั้นให้ผู้บังคับบัญชำดังกล่ำวดำเนินกำรตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยพลัน หำกเห็นว่ำ
เป็นควำมบกพร่องของเจ้ำหน้ำที่ให้ดำเนินกำรทำงวินัยต่อไป (มาตรา ๒๗ ว.๓)
ผู้ยื่นคำขอต้องดำเนินกำรแก้ไขหรือส่งเอกสำรเพิ่มเติมต่อเจ้ำหน้ำที่ภำยในเวลำที่เจ้ำหน้ำที่
กำหนดหรือภำยในเวลำที่เจ้ำหน้ำที่อนุญำตให้ขยำยออกไป เมื่อพ้นกำหนดเวลำดังกล่ำวแล้ว หำก
ผู้ยื่นคำขอไม่แก้ไขหรือส่งเอกสำรเพิ่มเติมให้ครบถ้วน ให้ถือว่ำผู้ยื่นคำขอไม่ประสงค์ที่จะให้เจ้ำหน้ำที่
ดำเนินกำรตำมคำขอต่อไป ในกรณีเช่นนั้นให้เจ้ำหน้ำที่ส่งเอกสำรคืนให้ผู้ยื่นคำขอพร้อมทั้งแจ้งสิทธิ
ในกำรอุทธรณ์ให้ผู้ยื่นคำขอทรำบ และบันทึกกำรดำเนินกำรดังกล่ำวไว้ (มาตรา ๒๗ ว.๔)
14/11/2019 SP 136
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ใช้ระบบไต่สวน
กำรพิจำรณำทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่อำจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ตำมควำมเหมำะสมในเรื่อง
นั้น ๆ โดยไม่ต้องผูกพันอยู่กับคำขอหรือพยำนหลักฐำนของคู่กรณี (มาตรา ๒๘)
เจ้ำหน้ำที่ต้องพิจำรณำพยำนหลักฐำนที่ตนเห็นว่ำจำเป็นแก่กำรพิสูจน์ข้อเท็จจริง โดยต้อง
(๑) แสวงหำพยำนหลักฐำนทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง
(๒) รับฟังพยำนหลักฐำน คำชี้แจง หรือควำมเห็นของคู่กรณีหรือของพยำนบุคคลหรือ
พยำนผู้เชี่ยวชำญที่คู่กรณีกล่ำวอ้ำง เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่เห็นว่ำเป็นกำรกล่ำวอ้ำงทีไ่ ม่จำเป็น ฟุ่มเฟือย
หรือเพื่อประวิงเวลำ
(๓) ขอข้อเท็จจริงหรือควำมเห็นจำกคู่กรณี พยำนบุคคล หรือพยำนผู้เชี่ยวชำญ
(๔) ขอให้ผู้ครอบครองเอกสำรส่งเอกสำรที่เกี่ยวข้อง
(๕) ออกไปตรวจสถำนที่
14/11/2019 SP (มาตรา ๒๙ ว.๑) 137
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
หน้าที่คู่กรณี ค่าป่วยการพยาน

คู่กรณีต้องให้ควำมร่วมมือกับเจ้ำหน้ำที่ในกำรพิสูจน์ข้อเท็จจริง และมีหน้ำที่แจ้ง
พยำนหลักฐำนที่ตนทรำบแก่เจ้ำหน้ำที่ (มาตรา ๒๙ ว.๒)

พยำนหรือพยำนผู้เชี่ยวชำญที่เจ้ำหน้ำที่เรียกมำให้ถ้อยคำหรือทำควำมเห็นมีสิทธิได้รับ
ค่ำป่วยกำรตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง (มาตรา ๒๙ ว.๓)

14/11/2019 SP 138
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ต้องให้โอกาสคู่กรณีทราบข้อเท็จจริง และโต้แย้ง
คำสั่งทำงปกครองอำจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้ำหน้ำที่ต้องให้คู่กรณีมีโอกำสที่จะได้ทรำบข้อเท็จจริง
อย่ำงเพียงพอและมีโอกำสได้โต้แย้งและแสดงพยำนหลักฐำนของตน เว้นแต่
(๑) เมือ่ มีควำมจำเป็นรีบด่วนหำกปล่อยให้เนิ่นช้ำไปจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด
หรือจะกระทบต่อประโยชน์สำธำรณะ
(๒) เมื่อจะมีผลทำให้ระยะเวลำที่กฎหมำยหรือกฎกำหนดไว้ในกำรทำคำสั่งทำงปกครองต้องล่ำช้ำออกไป
(๓) เมื่อเป็นข้อเท็จจริงทีค่ ู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคำขอ คำให้กำรหรือคำแถลง
(๔) เมื่อโดยสภำพเห็นได้ชัดในตัวว่ำกำรให้โอกำสดังกล่ำวไม่อำจกระทำได้
(๕) เมื่อเป็นมำตรกำรบังคับทำงปกครอง
(๖) กรณีอื่นตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ห้ำมเจ้ำหน้ำที่ให้โอกำสทรำบข้อเท็จจริงและโต้แย้ง ถ้ำจะก่อให้เกิดผลเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงต่อประโยชน์
สำธำรณะ
14/11/2019 (มาตรา ๓๐) SP 139
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
สิทธิขอตรวจดูเอกสารเพื่อโต้แย้งหรือชี้แจง เว้นที่เป็นต้นร่าง ความลับ
คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรที่จำเป็นต้องรู้เพื่อกำรโต้แย้งหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิ
ของตนได้ แต่ถ้ำยังไม่ได้ทำคำสั่งทำงปกครองในเรื่องนั้น คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรอันเป็น
ต้นร่ำงคำวินิจฉัย
กำรตรวจดูเอกสำร ค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจดูเอกสำร หรือกำรจัดทำสำเนำเอกสำรให้เป็นไป
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง (มาตรา ๓๑)

เจ้ำหน้ำทีอ่ ำจไม่อนุญำตให้ตรวจดูเอกสำรหรือพยำนหลักฐำนได้ ถ้ำเป็นกรณีที่


ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับ (มาตรา ๓๒)
14/11/2019 SP 140
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
รูปแบบคาสั่งทางปกครอง
คำสั่งทำงปกครองอำจทำเป็นหนังสือหรือวำจำหรือโดยกำรสื่อควำมหมำยในรูปแบบอื่น
ก็ได้ แต่ต้องมีข้อควำมหรือควำมหมำยทีช่ ัดเจนเพียงพอที่จะเข้ำใจได้ (มาตรา ๓๔)

ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองเป็นคำสั่งด้วยวำจำ ถ้ำผู้รับคำสั่งนั้นร้องขอและกำร
ร้องขอได้กระทำโดยมีเหตุอันสมควรภำยในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีคำสั่งดังกล่ำว เจ้ำหน้ำที่ผู้ออกคำสั่ง
ต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ (มาตรา ๓๕)

คำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสืออย่ำงน้อยต้องระบุ วัน เดือน และปีที่ทำ


คำสั่ง ชื่อและตำแหน่งของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่ง พร้อมทั้งมีลำยมือชื่อของเจ้ำหน้ำทีผ่ ู้ทำคำสั่งนั้น
(มาตรา ๓๖)
14/11/2019 SP 141
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ต้องจัดให้มีเหตุผล
คำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสือและกำรยืนยันคำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ด้วย
และเหตุผลนั้นอย่ำงน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำคัญ
(๒) ข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง
(๓) ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลพินจิ
เว้นแต่
(๑) เป็นกรณีที่มีผลตรงตำมคำขอและไม่กระทบสิทธิและหน้ำที่ของบุคคลอื่น
(๒) เหตุผลนั้นเป็นทีร่ ู้กนั อยู่แล้วโดยไม่จำต้องระบุอีก
(๓) เป็นกรณีที่ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับ
(๔) เป็นกำรออกคำสั่งทำงปกครองด้วยวำจำหรือเป็นกรณีเร่งด่วนแต่ต้องให้เหตุผล
เป็นลำยลักษณ์อักษรในเวลำอันควรหำกผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งนั้นร้องขอ (มาตรา ๓๗)
14/11/2019 SP 142
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การกาหนดเงื่อนไขของคาสั่ง
กำรออกคำสั่งทำงปกครองเจ้ำหน้ำที่อำจกำหนดเงื่อนไขใด ๆ ได้เท่ำที่จำเป็นเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของกฎหมำย เว้นแต่กฎหมำยจะกำหนดข้อจำกัดดุลพินิจเป็นอย่ำงอื่น
กำรกำหนดเงื่อนไข รวมถึงกำรกำหนดเงื่อนไขในกรณีดังต่อไปนี้ตำมควำมเหมำะสมแก่กรณีด้วย
(๑) กำรกำหนดให้สิทธิหรือภำระหน้ำที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลำใดเวลำหนึ่ง
(๒) กำรกำหนดให้กำรเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิทธิหรือภำระหน้ำที่ต้องขึ้นอยู่กับเหตุกำรณ์
ในอนำคตที่ไม่แน่นอน
(๓) ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำสั่งทำงปกครอง
(๔) กำรกำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทำหรืองดเว้นกระทำหรือต้องมีภำระหน้ำที่หรือ
ยอมรับภำระหน้ำที่หรือควำมรับผิดชอบบำงประกำร หรือกำรกำหนดข้อควำมในกำรจัดให้มี เปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มข้อกำหนดดังกล่ำว (มาตรา ๓๙)
14/11/2019 SP 143
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ระยะเวลาในการทาคาสั่ง
กำรออกคำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือในเรื่องใด หำกมิได้มกี ฎหมำยหรือกฎกำหนด
ระยะเวลำในกำรออกคำสั่งทำงปกครองในเรื่องนั้นไว้เป็นประกำรอื่น ให้เจ้ำหน้ำที่ออกคำสั่ง
ทำงปกครองนั้นให้แล้วเสร็จภำยในสำมสิบวันนับแต่วันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับคำขอและเอกสำรถูกต้อง
ครบถ้วน
ให้เป็นหน้ำที่ของผู้บังคับบัญชำชั้นเหนือขึ้นไปของเจ้ำหน้ำที่ ที่จะกำกับดูแลให้เจ้ำหน้ำที่
ดำเนินกำรให้เป็นไปตำมวรรคหนึ่ง

(มาตรา ๓๙/๑)
14/11/2019 SP 144
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์
คำสั่งทำงปกครองที่อำจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ ให้ระบุกรณีที่อำจอุทธรณ์
หรือโต้แย้ง กำรยื่นคำอุทธรณ์หรือคำโต้แย้ง และระยะเวลำสำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำรโต้แย้ง
ดังกล่ำวไว้ด้วย
ในกรณีที่มีกำรฝ่ำฝืนบทบัญญัติตำมวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลำสำหรับกำรอุทธรณ์หรือ
กำรโต้แย้งเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งหลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง แต่ถ้ำไม่มีกำรแจ้งใหม่และ
ระยะเวลำดังกล่ำวมีระยะเวลำสั้นกว่ำหนึ่งปี ให้ขยำยเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับคำสั่งทำงปกครอง

(มาตรา ๔๐)
14/11/2019 SP 145
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
คาสั่งทางปกครองที่อาจทาให้สมบูรณ์
คำสั่งทำงปกครองที่ออกโดยกำรฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำสั่ง
ทำงปกครองนั้นไม่สมบูรณ์
(๑) กำรออกคำสั่งทำงปกครองโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่จะดำเนินกำรเองไม่ได้นอกจำก
จะมีผู้ยื่นคำขอ ถ้ำต่อมำในภำยหลังได้มีกำรยื่นคำขอเช่นนั้นแล้ว
(๒) คำสั่งทำงปกครองที่ต้องจัดให้มีเหตุผล ถ้ำได้มีกำรจัดให้มเี หตุผลดังกล่ำวในภำยหลัง
(๓) กำรรับฟังคู่กรณีที่จำเป็นต้องกระทำได้ดำเนินกำรมำโดยไม่สมบูรณ์ ถ้ำได้มีกำรรับฟังให้สมบูรณ์
ในภำยหลัง
(๔) คำสั่งทำงปกครองทีต่ ้องให้เจ้ำหน้ำที่อื่นให้ควำมเห็นชอบก่อน ถ้ำเจ้ำหน้ำที่นั้นได้ให้ควำมเห็นชอบ
ในภำยหลัง
เมื่อมีกำรดำเนินกำร และเจ้ำหน้ำที่ผู้มีคำสั่งประสงค์ให้ผลเป็นไปตำมคำสั่งเดิม ให้เจ้ำหน้ำที่ผู้นั้นบันทึก
ข้อเท็จจริงและควำมประสงค์ของตนไว้ในหรือแนบไว้กับคำสั่งเดิมและต้องมีหนังสือแจ้งควำมประสงค์ของตนให้คู่กรณี
ทรำบด้วย แต่ตอ้ งทำก่อนสิ้นสุดกระบวนกำรพิจำรณำอุทธรณ์ หรือถ้ำเป็นกรณีที่ไม่ต้องมีกำรอุทธรณ์ต้องก่อนมีกำรนำ
ค14/11/2019
ำสั่งทำงปกครองไปสู่กำรพิจำรณำของผู้มีอำนำจพิจำรณำวิSPนิจฉัยควำมถูกต้องของคำสั่งทำงปกครองนั้น (มาตรา ๔๑) 146
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ผลของคาสั่ง และการเรียกคืนสิ่งที่แสดงคาสั่ง
คำสั่งทำงปกครองให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่ขณะที่ผู้นั้นได้รับแจ้งเป็นต้นไป
คำสั่งทำงปกครองย่อมมีผลตรำบเท่ำที่ยังไม่มีกำรเพิกถอนหรือสิ้นผลลงโดยเงื่อนเวลำหรือ
โดยเหตุอื่น

เมื่อคำสั่งทำงปกครองสิ้นผลลง ให้เจ้ำหน้ำที่มีอำนำจเรียกผู้ซึ่งครอบครองเอกสำรหรือ
วัตถุอื่นใดที่ได้จัดทำขึ้นเนื่องในกำรมีคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำว ซึ่งมีข้อควำมหรือเครื่องหมำย
แสดงถึงกำรมีอยู่ของคำสั่งทำงปกครองนั้น ให้ส่งคืนสิ่งนั้นหรือให้นำสิ่งของดังกล่ำวอันเป็น
กรรมสิทธิ์ของผู้นั้นมำให้เจ้ำหน้ำที่จัดทำเครื่องหมำยแสดงกำรสิ้นผลของคำสั่งทำงปกครอง
ดังกล่ำวได้
(มาตรา ๔๒)
14/11/2019 SP 147
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การแก้ไขคาสั่งที่มีข้อผิดพลาดเล็กน้อย
คำสั่งทำงปกครองทีม่ ีข้อผิดพลำดหรือผิดหลงเล็กน้อยนั้น เจ้ำหน้ำทีอ่ ำจแก้ไขเพิ่มเติม
ได้เสมอ

ในกำรแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทำงปกครอง ให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องทรำบตำมควร


แก่กรณี ในกำรนี้เจ้ำหน้ำที่อำจเรียกให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องจัดส่งคำสั่งทำงปกครอง เอกสำรหรือวัตถุอื่นใด
ที่ได้จัดทำขึ้นเนื่องในกำรมีคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวมำเพื่อกำรแก้ไขเพิ่มเติมได้

(มาตรา ๔๓)
14/11/2019 SP 148
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
คำสั่งทำงปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรีและไม่มีกฎหมำยกำหนดขั้นตอนอุทธรณ์ภำยใน
ฝ่ำยปกครองไว้เป็นกำรเฉพำะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่ง
ทำงปกครองภำยในสิบห้ำวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งคำสั่งดังกล่ำว

คำอุทธรณ์ต้องทำเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง
ประกอบด้วย

กำรอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลำกำรบังคับตำมคำสั่งทำงปกครอง เว้นแต่จะมีกำรสั่งให้
ทุเลำกำรบังคับ
(มาตรา ๔๔)
14/11/2019 SP 149
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ระยะเวลาการพิจารณาคาอุทธรณ์
เจ้ำหน้ำที่ต้องพิจำรณำคำอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์โดยไม่ชักช้ำ แต่ต้องไม่เกินสำมสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ ในกรณีที่เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์ไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วนก็ให้ดำเนินกำร
เปลี่ยนแปลงคำสั่งทำงปกครองตำมควำมเห็นของตนภำยในกำหนดเวลำดังกล่ำวด้วย
ถ้ำเจ้ำหน้ำทีไ่ ม่เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์ไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วนก็ให้เร่งรำยงำนควำมเห็น
พร้อมเหตุผลไปยังผู้มีอำนำจพิจำรณำคำอุทธรณ์ภำยในกำหนดเวลำ
ให้ผู้มีอำนำจพิจำรณำคำอุทธรณ์พิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในสำมสิบวันนับแต่วันที่ตนได้รับ
รำยงำน ถ้ำมีเหตุจำเป็นไม่อำจพิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในระยะเวลำดังกล่ำว ให้ผู้มีอำนำจพิจำรณำ
อุทธรณ์มหี นังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทรำบก่อนครบกำหนดเวลำดังกล่ำว ในกำรนี้ ให้ขยำยระยะเวลำ
พิจำรณำอุทธรณ์ออกไปได้ไม่เกินสำมสิบวันนับแต่วันที่ครบกำหนดเวลำดังกล่ำว
เจ้ำหน้ำที่ผู้ใดจะเป็นผู้มอี ำนำจพิจำรณำอุทธรณ์ให้เป็นไปตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
(มาตรา ๔๕)
14/11/2019 SP 150
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

ข้อ ๒ กำรพิจำรณำอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่งไม่เห็นด้วยกับ
คำอุทธรณ์ ให้เป็นอำนำจของเจ้ำหน้ำที่ ดังต่อไปนี้
(๑๒) ผู้แทนของรัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ แล้วแต่กรณีในกรณีที่ผู้ทำคำสั่ง
ทำงปกครองเป็นเจ้ำหน้ำที่ของรัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ
(๑๔) ผู้บังคับบัญชำ ผู้กำกับดูแล หรือผู้ควบคุมชั้นเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่ง แล้วแต่กรณี
ในกรณีที่ผู้ทำคำสั่งทำงปกครองเป็นเจ้ำหน้ำที่อื่นนอกจำกที่กำหนดไว้ข้ำงต้น
รำชกิ จจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๑๗ ก ลงวันที่ ๒๒ พฤษภำคม
14/11/2019 SP ๒๕๔๐ หน้ำ ๓๔ 151
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การพิจารณาคาอุทธรณ์

กำรพิ

จ ำรณำอุ ท ธรณ์

ให้
เ จ้ ำ หน้ ำ ที


่ จ
ิ ำรณำทบทวนค ำสั ง
่ ทำงปกครองได้ ไ ม่ ว ำ
่ จะ
เป็นปัญหำข้อเท็1จจริง ข้อกฎหมำย หรือควำมเหมำะสมของกำรท 2
ำค ำสั ง
่ ทำงปกครอง
และอำจมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองเดิมหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งนั้นไปในทำงใด
ทั้งนี้ ไม่ว่ำจะเป็นกำรเพิ่มภำระหรือลดภำระหรือใช้ดุลพินิจแทนในเรื่องควำมเหมำะสม
ของกำรทำคำสั่งทำงปกครอง หรือมีข้อกำหนดเป็นเงื่อนไขอย่ำงไรก็ได้
(มาตรา ๔๖)
14/11/2019 SP 152
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองไม่ชอบด้วยกฎหมาย
คำสั่งทำงปกครองทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมำยอำจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบำงส่วน โดยจะ
ให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลังหรือมีผลในอนำคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตำมที่กำหนดได้ แต่ถ้ำ
คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งซึ่งเป็นกำรให้ประโยชน์แก่ผู้รับ กำรเพิกถอนต้องเป็นไปตำมบทบัญญัติมำตรำ ๕๑
และมำตรำ ๕๒
(มาตรา ๕๐)

กำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยซึ่งเป็นกำรให้เงิน หรือให้ทรัพย์สิน
หรือให้ประโยชน์ที่อำจแบ่งแยกได้ให้คำนึงถึงควำมเชื่อโดยสุจริตของผู้รับประโยชน์ในควำมคงอยู่
ของคำสั่งทำงปกครองนั้นกับประโยชน์สำธำรณะประกอบกัน (มาตรา ๕๑ ว.๑)
14/11/2019 SP 153
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ความเชื่อโดยสุจริต
ควำมเชื่อโดยสุจริตจะได้รับควำมคุ้มครองต่อเมื่อผู้รับคำสั่งทำงปกครองได้ใช้ประโยชน์
อันเกิดจำกคำสั่งทำงปกครองหรือได้ดำเนินกำรเกี่ยวกับทรัพย์สินไปแล้วโดยไม่อำจแก้ไข
เปลี่ยนแปลงได้หรือกำรเปลี่ยนแปลงจะทำให้ผู้นั้นต้องเสียหำยเกินควรแก่กรณี
ในกรณีดังต่อไปนี้ ผู้รับคำสั่งทำงปกครองจะอ้ำงควำมเชื่อโดยสุจริตไม่ได้
(๑) ผู้นั้นได้แสดงข้อควำมอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อควำมจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งหรือข่มขู่
หรือชักจูงใจโดยกำรให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมำย
(๒) ผู้นั้นได้ให้ข้อควำมซึ่งไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสำระสำคัญ
(๓) ผู้นั้นได้รู้ถึงควำมไม่ชอบด้วยกฎหมำยของคำสั่งทำงปกครองในขณะได้รับคำสั่ง
ทำงปกครองหรือกำรไม่รู้นั้นเป็นไปโดยควำมประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง
(มาตรา ๕๑ ว.๑)
14/11/2019 SP 154
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งไม่ใช่คาสั่งให้เงิน
คำสั่งทำงปกครองทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมำยและไม่อยู่ในบังคับของมำตรำ ๕๑ อำจถูกเพิกถอน
ทั้งหมดหรือบำงส่วนได้ แต่ผู้ได้รับผลกระทบจำกกำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำว
มีสิทธิได้รับค่ำทดแทนควำมเสียหำยเนื่องจำกควำมเชื่อโดยสุจริตในควำมคงอยู่ของคำสั่งทำงปกครอง
ได้ แต่ต้องร้องขอค่ำทดแทนภำยในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ได้รับแจ้งให้ทรำบถึงกำรเพิกถอนนั้น
และค่ำทดแทนควำมเสียหำยจะต้องไม่สูงกว่ำประโยชน์ที่ผู้นั้นอำจได้รับหำกคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำว
ไม่ถูกเพิกถอน

(มาตรา ๕๒)
14/11/2019 SP 155
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำสั่งทำงปกครองทีช่ อบด้วยกฎหมำยซึ่งไม่เป็นกำรให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่งทำงปกครอง
อำจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบำงส่วนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนำคต
ไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตำมที่กำหนดได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่คงต้องทำคำสั่งทำงปกครองที่มีเนื้อหำ
ทำนองเดียวกันนั้นอีก หรือเป็นกรณีที่กำรเพิกถอนไม่อำจกระทำได้เพรำะเหตุอื่น ทั้งนี้ ให้คำนึงถึง
ประโยชน์ของบุคคลภำยนอกประกอบด้วย (มาตรา ๕๓ ว.๑)
คำสั่งทำงปกครองที่ชอบด้วยกฎหมำยซึ่งเป็นกำรให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่งทำงปกครอง
อำจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบำงส่วนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนำคตไปถึง
ขณะใดขณะหนึ่งตำมที่กำหนดได้เฉพำะเมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้
(๑) มีกฎหมำยกำหนดให้เพิกถอนได้หรือมีข้อสงวนสิทธิให้เพิกถอนได้ในคำสั่งทำงปกครอง
นั้นเอง
14/11/2019 SP 156
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย
(๒) คำสั่งทำงปกครองนั้นมีข้อกำหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้องปฏิบัติ แต่ไม่มีกำรปฏิบัติ
ภำยในเวลำที่กำหนด
(๓) ข้อเท็จจริงและพฤติกำรณ์เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหำกมีข้อเท็จจริงและพฤติกำรณ์เช่นนี้
ในขณะทำคำสั่งทำงปกครองแล้วเจ้ำหน้ำที่คงจะไม่ทำคำสั่งทำงปกครองนั้น และหำกไม่เพิกถอน
จะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อประโยชน์สำธำรณะได้
(๔) บทกฎหมำยเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหำกมีบทกฎหมำยเช่นนี้ในขณะทำคำสั่งทำงปกครอง
แล้วเจ้ำหน้ำที่คงจะไม่ทำคำสั่งทำงปกครองนั้น แต่กำรเพิกถอนในกรณีนี้ให้กระทำได้เท่ำที่
ผู้รับประโยชน์ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ หรือยังไม่ได้รับประโยชน์ตำมคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำว
และหำกไม่เพิกถอนจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อประโยชน์สำธำรณะได้
(มาตรา ๕๓ ว.๒)
14/11/2019 SP 157
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำสั่งทำงปกครองทีช่ อบด้วยกฎหมำยซึ่งเป็นกำรให้เงินหรือให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์
ที่อำจแบ่งแยกได้ อำจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบำงส่วนโดยให้มีผลย้อนหลังหรือไม่มีผลย้อนหลัง
หรือมีผลในอนำคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตำมที่กำหนดได้ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่ำช้ำในอันที่จะดำเนินกำรให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ของคำสั่ง
ทำงปกครอง
(๒) ผู้ได้รับประโยชน์มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่ำช้ำในอันที่จะดำเนินกำรให้เป็นไปตำมเงื่อนไข
ของคำสั่งทำงปกครอง

(มาตรา ๕๓ ว.๓)
14/11/2019 SP 158
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การขอให้พิจารณาใหม่
เมื่อคู่กรณีมีคำขอ เจ้ำหน้ำทีอ่ ำจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทำงปกครองที่พ้นกำหนดอุทธรณ์ ได้
ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) มีพยำนหลักฐำนใหม่ อันอำจทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสำระสำคัญ
(๒) คู่กรณีที่แท้จริงมิได้เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองหรือได้เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำ
ครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัดโอกำสโดยไม่เป็นธรรมในกำรมีส่วนร่วมในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครอง
(๓) เจ้ำหน้ำที่ไม่มีอำนำจที่จะทำคำสั่งทำงปกครองในเรื่องนั้น
(๔) ถ้ำคำสั่งทำงปกครองได้ออกโดยอำศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมำยใดและต่อมำข้อเท็จจริง
หรือข้อกฎหมำยนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสำระสำคัญในทำงทีจ่ ะเป็นประโยชน์แก่คู่กรณี
กำรยื่นคำขอตำมวรรคหนึ่ง (1) (2) หรือ (3) ให้กระทำได้เฉพำะเมื่อคู่กรณีไม่อำจทรำบถึงเหตุนั้น
ในกำรพิจำรณำครั้งที่แล้วมำก่อนโดยไม่ใช่ควำมผิดของผู้นั้น
กำรยื่นคำขอให้พิจำรณำใหม่ต้องกระทำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่ผนู้ ั้นได้รู้ถึงเหตุซึ่งอำจขอให้พิจำรณำใหม่ได้
(มาตรา
14/11/2019
๕๔) SP 159
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ระยะเวลาและอายุความ
กำหนดเวลำเป็นวัน สัปดำห์ เดือน หรือปีนั้น มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลำนั้นรวมเข้ำด้วย
เว้นแต่จะได้เริ่มกำรในวันนั้นหรือมีกำรกำหนดไว้เป็นอย่ำงอื่นโดยเจ้ำหน้ำที่
ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่มีหน้ำที่ต้องกระทำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดภำยในระยะเวลำที่กำหนด
ให้นับวันสิ้นสุดของระยะเวลำนั้นรวมเข้ำด้วยแม้ว่ำวันสุดท้ำยเป็นวันหยุดทำกำรงำนสำหรับเจ้ำหน้ำที่
ในกรณีที่บุคคลใดต้องทำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดภำยในระยะเวลำที่กำหนดโดยกฎหมำย
หรือโดยคำสั่งของเจ้ำหน้ำที่ถ้ำวันสุดท้ำยเป็นวันหยุดทำกำรงำนสำหรับเจ้ำหน้ำที่หรือวันหยุดตำม
ประเพณีของบุคคลผู้รับคำสั่ง ให้ถือว่ำระยะเวลำนั้นสิ้นสุดในวันทำงำนที่ถัดจำกวันหยุดนั้น เว้นแต่
กฎหมำยหรือเจ้ำหน้ำที่ที่มีคำสั่งจะกำหนดไว้เป็นอย่ำงอื่น
(มาตรา ๖๔)
14/11/2019 SP 160
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
เจ้าหน้าที่ขยาย ผู้ขอขอขยาย ระยะเวลา
ระยะเวลำที่กำหนดไว้ในคำสั่งของเจ้ำหน้ำที่อำจมีกำรขยำยอีกได้ และถ้ำระยะเวลำนั้นได้
สิ้นสุดลงแล้วเจ้ำหน้ำที่อำจขยำยโดยกำหนดให้มีผลย้อนหลังได้เช่นกันถ้ำกำรสิ้นสุดตำมระยะเวลำเดิม
จะก่อให้เกิดควำมไม่เป็นธรรมที่จะให้สิ้นสุดลงตำมนั้น (มาตรา ๖๕)

ในกรณีที่ผใู้ ดไม่อำจกระทำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดภำยในระยะเวลำที่กำหนดไว้ในกฎหมำยได้
เพรำะมีพฤติกำรณ์ที่จำเป็นอันมิได้เกิดขึ้นจำกควำมผิดของผู้นั้น ถ้ำผู้นั้นมีคำขอเจ้ำหน้ำที่อำจขยำย
ระยะเวลำและดำเนินกำรส่วนหนึ่งส่วนใดที่ล่วงมำแล้วเสียใหม่ก็ได้ ทั้งนี้ ต้องยื่นคำขอภำยในสิบห้ำวัน
นับแต่พฤติกำรณ์เช่นว่ำนั้นได้สิ้นสุดลง
(มาตรา ๖๖)
14/11/2019 SP 161
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การแจ้ง
กำรแจ้งคำสั่งทำงปกครอง กำรนัดพิจำรณำ หรือกำรอย่ำงอื่นที่เจ้ำหน้ำที่ต้องแจ้งให้
ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทรำบอำจกระทำด้วยวำจำก็ได้ แต่ถ้ำผู้นั้นประสงค์จะให้กระทำเป็นหนังสือก็ให้แจ้ง
เป็นหนังสือ
กำรแจ้งเป็นหนังสือให้สง่ หนังสือแจ้งต่อผู้นั้น หรือถ้ำได้ส่งไปยังภูมิลำเนำของผู้นั้นก็ให้ถือว่ำ
ได้รับแจ้งตั้งแต่ในขณะที่ไปถึง
ในกำรดำเนินกำรเรื่องใดที่มีกำรให้ที่อยู่ไว้กับเจ้ำหน้ำที่ไว้แล้ว กำรแจ้งไปยังที่อยู่ดังกล่ำว
ให้ถือว่ำเป็นกำรแจ้งไปยังภูมิลำเนำของผู้นั้นแล้ว

(มาตรา ๖๙)
14/11/2019 SP 162
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การแจ้ง
กำรแจ้งเป็นหนังสือโดยวิธีให้บุคคลนำไปส่ง ถ้ำผู้รับไม่ยอมรับหรือถ้ำขณะนำไปส่งไม่พบผู้รับ
และหำกได้ส่งให้กับบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภำวะที่อยู่หรือทำงำนในสถำนที่นั้น หรือในกรณีที่ผู้นั้น
ไม่ยอมรับ หำกได้วำงหนังสือนั้นหรือปิดหนังสือนั้นไว้ในที่ซึ่งเห็นได้ง่ำย ณ สถำนที่นั้นต่อหน้ำ
เจ้ำพนักงำนตำมที่กำหนดในกฎกระทรวงที่ไปเป็นพยำนก็ให้ถือว่ำได้รับแจ้งแล้ว (มาตรา ๗๐)

กำรแจ้งโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับให้ถือว่ำได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนดเจ็ดวันนับแต่วันส่ง
สำหรับกรณีภำยในประเทศหรือเมื่อครบกำหนดสิบห้ำวันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีส่งไปยังต่ำงประเทศ
เว้นแต่จะมีกำรพิสูจน์ได้ว่ำไม่มีกำรได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจำกวันนั้น
(มาตรา ๗๑)
14/11/2019 SP 163
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
เจ้าพนักงานที่เป็นพยานในการวางคาสั่ง
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
เจ้ำพนักงำนที่จะเป็นพยำนในกำรวำงหนังสือหรือปิดหนังสือเพื่อแจ้งคำสัง่ ทำงปกครอง กำรนัด
พิจำรณำ หรือกำรอย่ำงอื่นที่จะต้องแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทรำบ ในกรณีที่ผู้รับไม่ยอมรับหรือไม่มีผู้รับ ได้แก่
(๑) เจ้ำพนักงำนตำรวจ
(๒) ข้ำรำชกำรส่วนกลำง
(๓) เจ้ำพนักงำนผู้มหี น้ำที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่ ได้แก่
(ก) กำนัน (ข) แพทย์ประจำตำบล (ค) สำรวัตรกำนัน (ง) ผู้ใหญ่บ้ำน (จ) ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน
(ฉ) ข้ำรำชกำรส่วนท้องถิ่นหรือพนักงำนส่วนท้องถิ่น (ช) ข้ำรำชกำรประจำอำเภอหรือจังหวัด
รำชกิ จจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๕ ก ลงวันที่ ๙ กุมภำพั
14/11/2019 SP
นธ์ ๒๕๔๒ หน้ำ ๓๑ 164
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
การแจ้งคาสั่งทางปกครองกรณีเร่งด่วน
ในกรณีมีเหตุจำเป็นเร่งด่วนกำรแจ้งคำสั่งทำงปกครองจะใช้วิธีส่งทำงเครื่องโทรสำรก็ได้
แต่ต้องมีหลักฐำนกำรได้ส่งจำกหน่วยงำนผู้จัดบริกำรโทรคมนำคมที่เป็นสื่อในกำรส่งโทรสำรนั้น
และต้องจัดส่งคำสั่งทำงปกครองตัวจริงโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตำมหมวดนี้ให้แก่ผู้รับในทันทีที่อำจกระทำได้
ในกรณีนี้ให้ถือว่ำผู้รับได้รับแจ้งคำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือตำมวัน เวลำ ที่ปรำกฏในหลักฐำนของ
หน่วยงำนผู้จัดบริกำรโทรคมนำคมดังกล่ำว เว้นแต่จะมีกำรพิสูจน์ได้ว่ำไม่มีกำรได้รับหรือได้รับก่อน
หรือหลังจำกนั้น

(มาตรา ๗๔)
14/11/2019 SP 165
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
สรุป
• เป็นกฎหมำยกลำงสำหรับกำรเตรียมทำคำสั่งทำงปกครอง และคำสั่งทำงปกครอง
• กำหนดตัวเจ้ำหน้ำที่ คู่กรณี และผู้มีอำนำจทำคำสั่งทำงปกครอง
• ใช้ระบบไต่สวนในกำรพิจำรณำทำคำสั่ง
• ต้องให้โอกำสคู่กรณีได้ทรำบข้อเท็จจริง ชี้แจงแสดงเหตุผล และโต้แย้ง
• คำสั่งทำงปกครองต้องชัดเจน มีเหตุผล เหมำะสม คำนึงถึงประโยชน์สำธำรณะ และมีควำมมั่นคง
• กำหนดวิธีกำรให้คำสั่งทำงปกครองสมบูรณ์ กำรเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำย และ
ที่ชอบด้วยกฎหมำย
• กำหนดให้มีกำรอุทธรณ์ เจ้ำหน้ำที่เพิกถอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งของตนเองได้ และผู้มีอำนำจ
วินิจฉัยอุทธรณ์ โดยในกำรอุทธรณ์พิจำรณำได้ทั้งข้อเท็จจริง ข้อกฎหมำย และควำมเหมำะสมของคำสั่ง
• กำหนดวิธีกำรขอให้พิจำรณำใหม่
• กำหนดวิธีกำรแจ้ง และกำรนับระยะเวลำไว้เป็นพิเศษ
14/11/2019 SP 166
There are administrative and criminal enforcement actions.
• Administrative enforcement is generally at the authority level;
• Criminal enforcement action is taken through the court or judicial
system.

Any enforcement system requires the following components: 4Cs


• a) Clearly defined authority
• b) Clearly defined process
• c) Clearly defined enforcement measures
• d) Consistent, fair and firm application of enforcement measures
14/11/2019 SP 167
พระราชบัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
ขอบเขตการใช้บังคับ
ใช้บังคับแก่กำรดำเนินธุรกรรมในกำรดำเนินงำนของรัฐตำมที่กำหนดในหมวด ๔
(มาตรา ๓ วรรคสาม)
ห้ำมมิให้ปฏิเสธควำมมีผลผูกพันและกำรบังคับใช้ทำงกฎหมำยของข้อควำมใด
เพียงเพรำะเหตุที่ข้อควำมนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลทำงอิเล็กทรอนิกส์
(มาตรา ๗)
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๑๑๒ ก ลงวันที่ ๔ ธันวำคม ๒๕๔๔ หน้ำ ๒๖
14/11/2019
ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗SPก ลงวันที่ ๒๖ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๒๐๓ 168
พระราชบัญญัตธิ ุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
นิยาม พ.ศ. ๒๕๔๔
“หน่วยงำนของรัฐ” หมำยควำมว่ำ
(๑) กระทรวง ทบวง กรม ส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม รำชกำรส่วนภูมิภำค
และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(๒) รัฐวิสำหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระรำชบัญญัติหรือพระรำชกฤษฎีกำ
(๓) องค์กำรมหำชนที่ตั้งขึ้นโดยพระรำชบัญญัติหรือพระรำชกฤษฎีกำ
(๔) หน่วยงำนของรัฐสภำ
(๕) หน่วยงำนของศำล ในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับกำรพิจำรณำพิพำกษำอรรถคดี
(๖) องค์กรตำมรัฐธรรมนูญ ในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับกำรวินิจฉัยชี้ขำดข้อพิพำท
(๗) องค์กรอิสระที่ตั้งขึ้นตำมกฎหมำย
(๘) นิติบุคคล คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งมีหน้ำที่และอำนำจในกำรดำเนินงำนของรัฐ
ไม่ว่ำในกำรใด ๆ (มำตรำ ๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดย ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๒)
14/11/2019 SP 169
พระราชบัญญัตธิ ุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
ในพระรำชบัญญัตินี้
“ธุรกรรม” หมำยควำมว่ำ กำรกระทำใดๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทำงแพ่งและพำณิชย์ หรือในกำร
ดำเนินงำนของรัฐตำมที่กำหนดในหมวด ๔
“อิเล็กทรอนิกส์” หมำยควำมว่ำ กำรประยุกต์ใช้วิธีกำรทำงอิเล็กตรอน ไฟฟ้ำ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ
หรือวิธอี ื่นใดในลักษณะคล้ำยกัน และให้หมำยควำมรวมถึงกำรประยุกต์ใช้วิธีกำรทำงแสง วิธีกำรทำง
แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรประยุกต์ใช้วิธีต่ำง ๆ เช่นว่ำนั้น
“ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์” หมำยควำมว่ำ ธุรกรรมที่กระทำขึ้นโดยใช้วิธกี ำรทำง
อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บำงส่วน
“ข้อความ” หมำยควำมว่ำ เรื่องรำว หรือข้อเท็จจริง ไม่ว่ำจะปรำกฏในรูปแบบของตัวอักษร
ตัวเลข เสียง ภำพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อควำมหมำยได้โดยสภำพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่ำนวิธีกำรใด ๆ
(มำตรำ ๔)
14/11/2019 SP 170
พระราชบัญญัตธิ ุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
ในพระรำชบัญญัตินี้
“ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” หมำยควำมว่ำ ข้อควำมที่ได้สร้ำง ส่ง รับ เก็บรักษำ หรือ
ประมวลผลด้วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลทำงอิเล็กทรอนิกส์
จดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ โทรเลข โทรพิมพ์ หรือโทรสำร
“ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” หมำยควำมว่ำ อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์
อื่นใดที่สร้ำงขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งนำมำใช้ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดง
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็น
เจ้ำของลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น และเพื่อแสดงว่ำบุคคล
ดังกล่ำวยอมรับข้อควำมในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
(มำตรำ ๔)
14/11/2019 SP 171
พระราชบัญญัตธิ ุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
ภำยใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมำตรำ ๙ ในกรณีที่กฎหมำยกำหนดให้กำรใด
ต้องทำเป็นหนังสือ มีหลักฐำนเป็นหนังสือหรือมีเอกสำรมำแสดง หรือกำหนดผล
ทำงกฎหมำยกรณีไม่ทำเป็นหนังสือ ไม่มีหลักฐำนเป็นหนังสือหรือไม่มีเอกสำรมำแสดง
ถ้ำได้มีกำรจัดทำข้อควำมขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สำมำรถเข้ำถึงและนำกลับมำ
ใช้ได้โดยควำมหมำยไม่เปลี่ยนแปลง ให้ถือว่ำข้อควำมนั้นได้ทำเป็นหนังสือ มีหลักฐำน
เป็นหนังสือหรือมีเอกสำรมำแสดงตำมที่กฎหมำยกำหนด

(มำตรำ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดย ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๒)


14/11/2019 SP 172
พระราชบัญญัตธิ ุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
ในกรณีที่กฎหมำยกำหนดให้มีกำรลงลำยมือชื่อ หรือกำหนดผลทำงกฎหมำย
กรณีที่ไม่มีกำรลงลำยมือชื่อไว้ ให้ถือว่ำได้มีกำรลงลำยมือชื่อแล้ว ถ้ำ
(๑) ใช้วิธีกำรที่สำมำรถระบุตัวเจ้ำของลำยมือชื่อ และสำมำรถแสดงเจตนำของเจ้ำของ
ลำยมือชื่อเกี่ยวกับข้อควำมในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และ
(๒) ใช้วิธีกำรในลักษณะอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(ก) วิธีกำรที่เชื่อถือได้โดยเหมำะสมกับวัตถุประสงค์ของกำรสร้ำงหรือส่งข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์โดยคำนึงถึงพฤติกำรณ์แวดล้อมทั้งปวง รวมถึงข้อตกลงใด ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ
(ข) วิธีกำรอื่นใดที่สำมำรถยืนยันตัวเจ้ำของลำยมือชื่อและสำมำรถแสดงเจตนำ
ของเจ้ำของลำยมือชื่อตำม (๑) ได้ด้วยวิธีกำรนั้นเองหรือประกอบกับพยำนหลักฐำนอื่น
(มำตรำ ๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดย ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๒)
14/11/2019 SP 173
พระราชบัญญัตธิ ุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
หมวด ๔
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ

มาตรา ๓๕ คำขอ กำรอนุญำต กำรจดทะเบียน คำสั่งทำงปกครอง กำรชำระเงิน


กำรประกำศหรือกำรดำเนินกำรใด ๆ ตำมกฎหมำยกับหน่วยงำนของรัฐหรือโดยหน่วยงำนของรัฐ
ถ้ำได้กระทำในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดโดยพระรำชกฤษฎีกำ
ให้นำพระรำชบัญญัตินี้มำใช้บังคับและให้ถือว่ำมีผลโดยชอบด้วยกฎหมำยเช่นเดียวกับกำร
ดำเนินกำรตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กฎหมำยในเรื่องนั้นกำหนด ทั้งนี้ ในพระรำชกฤษฎีกำ
อำจกำหนดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องกระทำหรืองดเว้นกระทำกำรใด ๆ หรือให้หน่วยงำนของรัฐ
ออกระเบียบเพื่อกำหนดรำยละเอียดในบำงกรณีด้วยก็ได้
14/11/2019 SP 174
พระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐
สรุป เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น
• ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
- ปชช. ต้องรู้ : ลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ
- ปชช. ควรรู้ : จัดให้มีไว้ให้เข้ำตรวจดูได้
- ปชช. อยำกรู้ : จัดหำให้เมื่อได้รับคำขอ
• ข้อมูลที่เป็นควำมลับ ไม่เปิดเผยได้ เฉพำะเหตุที่กำหนดและต้องระบุเหตุด้วย
• กำรสั่งเปิดเป็นดุลพินิจของเจ้ำหน้ำที่
• กำรคุ้มครองควำมรับผิดของเจ้ำหน้ำที่ที่สุจริต แต่หน่วยงำนไม่พ้นควำมรับผิด
• ข้อมูลส่วนบุคคล ต้องจัดเก็บเท่ำที่จำเป็น ตรงจำกเจ้ำของ มีระบบรักษำควำมปลอดภัยข้อมูล
เมื่อผิดพลำดคลำดเคลื่อนต้องแก้ไข เปลี่ยนแปลง ลบ ถ้ำไม่ดำเนินกำรเจ้ำของข้อมูลอุทธรณ์ได้
• ข้อมูลประวัติศำตร์ ต้องส่งให้หอสมุดแห่งชำติ
14/11/2019 SP 175
ประกาศสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
เรื่องการดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. ๒๕๖๐
เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
----------------
เพื่อให้เป็นไปตำมมำตรำ ๒๓ (๓) แห่ง พรบ. ข้อมูลข่ำวสำร พ.ศ. ๒๕๔๐ กพท. จัดให้มีระบบข้อมูล
ข่ำวสำร ดังนี้
ข้อ ๑ ประเภทบุคคลที่มีกำรเก็บข้อมูล
ข้อ ๒ ประเภทของระบบข้อมูลข่ำวสำร
ข้อ ๓ ลักษณะกำรใช้ข้อมูลตำมปกติ
ข้อ ๔ วิธีกำรขอตรวจดูข้อมูลข่ำวสำรของเจ้ำของข้อมูล
ข้อ ๕ วิธีกำรขอเปลี่ยนแปลงข้อมูล
ข้อ ๖ แหล่งที่มำของข้อมูล
14/11/2019 SP ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๐ 176
ระเบียบสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสาร
พ.ศ. ๒๕๖๐
----------------
อำศัยอำนำจตำมมำตรำ ๙ แห่ง พรบ. ข้อมูลข่ำวสำร พ.ศ. ๒๕๔๐ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกำศเป็นต้นไป
หมวด ๑ คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของสำนักงำน (รอง, ผ. ฝ่ำย, ผ. กลุ่ม, หน. กลุ่ม)
หมวด ๒ ศูนย์ข้อมูลข่ำวสำร(ศูนย์ข้อมูลข่ำวสำร กองสื่อสำรองค์กร ฝ่ำยบริหำรกลำง)
หมวด ๓ กำรจัดระบบข้อมูลข่ำวสำร (ลง รจ., จัดไว้ให้ตรวจดู, ส่วนบุคคล, ข้อมูลอื่น)
หมวด ๔ กำรขอตรวจดู กำรขอข้อมูลข่ำวสำร และกำรอนุญำต
หมวด ๕ กำหนดระยะเวลำ (ภำยในวันทำกำร หรือวันทำกำรถัดไป หรือภำยในสิบห้ำวัน)
หมวด ๖ สถำนที่บริกำรข้อมูลข่ำวสำร (ศูนย์ข้อมูลข่ำวสำร กองสื่อสำรองค์กร ฝ่ำยบริหำรกลำง)
ประกาศ ณ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๐
14/11/2019 SP 177
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒
มำตรำ ๖ ในพระรำชบัญญัตินี้
“ข้อมูลส่วนบุคคล” หมำยควำมว่ำ ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำให้สำมำรถระบุตัวบุคคลนั้นได้
ไม่ว่ำทำงตรงหรือทำงอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพำะ
“ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หมำยควำมว่ำ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอำนำจหน้ำที่ตัดสินใจ
เกี่ยวกับกำรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
“ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” หมำยควำมว่ำ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดำเนินกำรเกี่ยวกับ
กำรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตำมคำสัง่ หรือในนำมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดำเนินกำรดังกล่ำวไม่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
“บุคคล” หมำยควำมว่ำ บุคคลธรรมดำ
พระรำชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป เว้นแต่บทบัญญัติในหมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๕
หมวด ๖ หมวด ๗ และควำมในมำตรำ ๙๕ และมำตรำ ๙๖ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป
14/11/2019 SP 178
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒

• กำรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้หำกเจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้


ควำมยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่บทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่นบัญญัติ
ให้กระทำได้
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องทำกำรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตำมวัตถุประสงค์
ที่ได้แจ้งเจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคลไว้ก่อนหรือในขณะที่เก็บรวบรวม
• เก็บรวบรวมได้เท่ำที่จำเป็นภำยใต้วัตถุประสงค์อันชอบด้วยกฎหมำยของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
• จะต้องแจ้งให้เจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคลทรำบก่อนหรือในขณะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล
ถึงวัตถุประสงค์กำรเก็บ ระยะเวลำกำรเก็บ กำรเปิดเผย
14/11/2019 SP 179
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒

• เจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิ
• ขอเข้ำถึงและขอรับสำเนำข้อมูลส่วนบุคคลทีเ่ กีย่ วกับตนซึ่งอยู่ในควำมรับผิดชอบของผู้ควบคุมข้อมูลส่วน
บุคคล หรือขอให้เปิดเผยถึงกำรได้มำซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่ำวที่ตนไม่ได้ให้ควำมยินยอม
• ขอรับข้อมูลส่วนบุคคลที่เกีย่ วกับตนจำกผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ให้โอนไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่น
• คัดค้ำนกำรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนเมื่อใดก็ได้
• ขอให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลดำเนินกำรลบหรือทำลำย หรือทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สำมำรถ
ระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคลได้
• ให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลระงับกำรใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของตน
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดำเนินกำรให้ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นถูกต้องเป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่
ก่อให้เกิดควำมเข้ำใจผิด
14/11/2019 SP 180
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒

• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
• ต้องดำเนินกำรให้ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นถูกต้องเป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดควำมเข้ำใจผิด
• จัดให้มีมำตรกำรรักษำควำมมั่นคงปลอดภัยที่เหมำะสม
• ดำเนินกำรเพื่อป้องกันมิให้ผู้ได้รับข้อมูล ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยปรำศจำกอำนำจหรือ
โดยมิชอบ
• จัดให้มีระบบกำรตรวจสอบเพื่อดำเนินกำรลบหรือทำลำยข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อพ้นกำหนด
• ระยะเวลำกำรเก็บรักษำ หรือที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินควำมจำเป็น หรือที่เจ้ำของข้อมูลร้องขอ
• แจ้งเหตุกำรละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่สำนักงำนคณะกรรมกำรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
โดยไม่ชักช้ำภำยในเจ็ดสิบสองชั่วโมงนับแต่ทรำบเหตุ
• บันทึกรำยกำร เพื่อให้เจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคลและสำนักงำนสำมำรถตรวจสอบได้
14/11/2019 SP 181
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒

• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งดำเนินกำรใด ๆ เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
อันเป็นกำรฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมบทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัตินี้ทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อเจ้ำของข้อมูล
ส่วนบุคคล ต้องชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนเพื่อกำรนั้นแก่เจ้ำของข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ว่ำกำรดำเนินกำรนั้น
จะเกิดจำกกำรกระทำโดยจงใจหรือประมำทเลินเล่อหรือไม่ก็ตำม
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลผูใ้ ดฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำม อันเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล โดยประกำรที่น่ำจะ
ทำให้ผู้อื่นเกิดควำมเสียหำย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับควำมอับอำย ต้องระวำงโทษ
จำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้ำแสนบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลผูใ้ ดไม่ปฏิบัติตำม หรือไม่ขอควำมยินยอมตำมแบบหรือข้อควำมที่คณะกรรมกำร
ประกำศกำหนด หรือไม่แจ้งผลกระทบจำกกำรถอนควำมยินยอม ต้องระวำงโทษปรับทำงปกครองไม่เกิน
หนึ่งล้ำนบำท
14/11/2019 SP 182
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สรุป
พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒

• การขอความยินยอม กำรเก็บรวบรวม กำรใช้ หรือ กำรเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ต้องได้รับกำร


ยินยอมจำกเจ้ำของข้อมูล โดยต้องมีกำรยอมรับเป็นลำยลักษณ์อักษร หรือ ผ่ำนทำงระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ครอบคลุมถึงผู้ควบคุมข้อมูล (Data Controller) และผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
(Data Processor) ที่อยู่นอกประเทศโดยมี ๑) กำรเสนอขำยสินค้ำหรือบริกำรแก่เจ้ำของข้อมูลซึ่งอยู่
ในประเทศ ไม่ว่ำจะมีกำรชำระเงินหรือไม่ และ ๒) กำรเฝ้ำติดตำมพฤติกรรมของเจ้ำของข้อมูล
ที่เกิดขึ้นในประเทศ
• วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล ต้องแจ้งเจ้ำของข้อมูลถึงวัตถุประสงค์ในกำรเก็บ ใช้ หรือ เปิดเผย
และต้องไม่ใช้ข้อมูลนอกเหนือจำกวัตถุประสงค์ที่แจ้ง
14/11/2019 SP 183
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สรุป พ.ศ. ๒๕๖๒
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ลงวันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๕๒

• การรักษาความปลอดภัยข้อมูล ต้องมีมำตรกำรรักษำควำมปลอดภัยของข้อมูลที่ถูกเก็บรักษำ
ในประเทศ หรือกรณีกำรโอนย้ำยข้อมูลไปนอกประเทศ ประเทศปลำยทำงต้องมีมำตรกำรรักษำ
ควำมปลอดภัยข้อมูลส่วนบุคคลที่เพียงพอ และจะต้องมีกำรจัดทำรำยงำนวัดผลกำรป้องกันข้อมูล
ตำมกฎหมำยด้วย
• สิทธิของเจ้าของข้อมูล โดยเจ้ำของมีสิทธิในกำรขอเคลื่อนย้ำยข้อมูลส่วนบุคคลของตน มีสิทธิขอรับ
สำเนำข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน รวมถึงมีสิทธิโต้แย้ง หรือ คัดค้ำนกำรเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยข้อมูล เพิ่มเติมจำกกำรมีสิทธิเข้ำถึง และขอให้เปิดเผยถึงกำรได้มำซึ่งข้อมูล ขอให้ลบทำลำย
หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่องค์กรต่ำงๆ นำไปใช้
• บทลงโทษ มีทั้งทำงแพ่ง ทำงอำญำ และทำงปกครอง
14/11/2019 SP 184
คู่มือ ปชช.
บังคับ
ยื่น พิจำรณำ
ให้ขอ
ยื่น ยื่น รับ
ภำยใน
อนุญำต ที่ไหน อย่ำงไร กับใคร อย่ำงไร
เวลำ
“อนุญำต” หมำยควำมว่ำ กำรที่เจ้ำหน้ำที่ยินยอมให้บุคคลใดกระทำกำรใด
ที่มีกฎหมำยกำหนดให้ต้องได้รับควำมยินยอมก่อนกระทำกำรนั้น
ปชช. และให้หมำยควำมรวมถึงกำรออกใบอนุญำต กำรอนุมัติ กำรจดทะเบียน แจ้งผล
กำรขึ้นทะเบียน กำรรับแจ้ง กำรให้ประทำนบัตรและกำรให้อำชญำบัตรด้วย

สมัครใจ ขอให้ อุทธรณ์


พิจำรณำ
ตรวจดู ใหม่
ขอข้อมูล
14/11/2019
ขอทรำบ SP 185
- ข้อมูลข่ำวสำร ลงรำชกิจจำ จัดให้ตรวจดู จัดหำให้
กฎหมำย
ส่วนบุคคล เป็นภัยไม่เปิดได้ ต้องมีคำสั่งระบุเหตุผล
กฎ ก ำหนด - ระมัดระวังกฎหมำยคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
กำหนด กระบวนงำน ทำคู่มือ - ส่วนรำชกำรขออนุญำตต้องทำภำยใน ๑๕ วัน หรือเวลำที่กำหนด
ต้องได้รับ ขั้นตอน ปชช. พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ - ปชช. ส่วนรำชกำร ถำม ต้องตอบภำยใน ๑๕ วัน
อนุญำต ระยะเวลำ ปิดประกำศ ตรวจคำขอ ขอได้ครั้งเดียว - ดำเนินกำรด้วยธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ได้
ดำเนินงำน ลงสื่อ ถูกต้องออกใบรับ รับแล้วปฏิเสธ เจ้ำหน้ำที่
แบบคำขอ ไม่ถูกต้องให้แก้ไข เพรำะคำขอ พิจำรณำระบบ ถ้ำไม่เสร็จ ผู้อนุญำต
เอกสำร ส่งเพิ่มเติมในเวลำ ไม่ถูก เอกสำร ไต่สวน โดย ภำยในเวลำ พิจำรณำ เจ้ำหน้ำที่แก้ไข
ที่ต้องยื่น ที่กำหนด ไม่ครบไม่ได้ ผู้ขอต้องมำ ต้องแจ้งให้ ภำยใน เปลี่ยนแปลง
สถำนที่ยื่น ไม่แก้ ไม่ส่ง ลงโทษวินัย ปรำกฏตัว ผู้ขอทรำบ คำสั่งได้เสมอ
ก ำหนด
คืนคำขอ อำญำ นำทนำยเข้ำได้ ทุกเจ็ดวัน ต้องพิจำรณำ
แจ้ ง ผล
เป็นหนังสือ เจ้ำหน้ำที่ ภำยในเวลำที่ และสำเนำ เป็นหนังสือ อุทธรณ์ภำยใน
พร้อมเหตุผล กฎหมำย ส่ง กพร. ๓๐ วัน
พร้อมแจ้ง
- คำขอ เอกสำร ต้องเป็นภำษำไทย หรือมีคำแปลถูกต้อง คู่มือ กำหนด
สิทธิอุทธรณ์
เว้นเจ้ำหน้ำที่เข้ำใจและรับ ถ้ ำ ปฏิ เ สธต้ อ ง
14/11/2019
- กฎใช้ ณ วันขอ ย้อนหลังไม่ได้ เว้นเป็นคุณ SP ให้โอกำสโต้แย้ง 186
ประมวลกฎหมายอาญา
ลักษณะ ๒
ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
“เจ้ำพนักงำน” หมำยควำมว่ำ บุคคลซึ่งกฎหมำยบัญญัติว่ำเป็น
เจ้ำพนักงำน หรือได้รับแต่งตั้งตำมกฎหมำยให้ปฏิบัติหน้ำที่รำชกำร
ไม่ว่ำเป็นประจำหรือครั้งครำว และไม่ว่ำจะได้รับค่ำตอบแทนหรือไม่
14/11/2019 SP 187
ประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๒ ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ
มาตรา ๑๔๘ ผู้ใดเป็นเจ้ำพนักงำน ใช้อำนำจในตำแหน่งโดยมิชอบ
ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหำมำให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์
อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวำงโทษ
จำคุกตั้งแต่ห้ำปีถึงยี่สิบปีหรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสน
บำทถึงสี่แสนบำท หรือประหำรชีวิต

14/11/2019 SP 188
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๒ ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร
มาตรา ๑๔๙ ผู้ใดเป็นเจ้ำพนักงำน ... เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน
หรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทำกำรหรือ
ไม่กระทำกำรอย่ำงใดในตำแหน่งไม่ว่ำกำรนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้ำที่
ต้องระวำงโทษจำคุกตั้งแต่ห้ำปีถึงยี่สิบปีหรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่
หนึ่งแสนบำทถึงสี่แสนบำท หรือประหำรชีวิต

14/11/2019 SP 189
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๒ ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร
มาตรา ๑๕๗ ผู้ใดเป็นเจ้ำพนักงำน ปฏิบัติหรือละเว้นกำรปฏิบัติหน้ำที่
โดยมิชอบเพื่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นกำร
ปฏิบัติหน้ำที่โดยทุจริต ต้องระวำงโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่
สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ

“โดยทุจริต” หมำยควำมว่ำ เพื่อแสวงหำประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ


ด้วยกฎหมำยสำหรับตนเองหรือผู้อื่น
14/11/2019 SP 190
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๒ ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร
มาตรา ๑๕๘ ผู้ใดเป็นเจ้ำพนักงำน ทำให้เสียหำย ทำลำย ซ่อนเร้น
เอำไปเสีย หรือทำให้สูญหำยหรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์หรือเอกสำรใด
อันเป็นหน้ำที่ของตนที่จะปกครองหรือรักษำไว้หรือยินยอมให้ผู้อื่นกระทำ
เช่นนั้น ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปีและปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่นบำท

14/11/2019 SP 191
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๒ ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร
มาตรา ๑๖๑ ผู้ใดเป็นเจ้ำพนักงำน มีหน้ำที่ทำเอกสำร กรอกข้อควำม
ลงในเอกสำรหรือดูแลรักษำเอกสำร กระทำกำรปลอมเอกสำรโดยอำศัยโอกำส
ที่ตนมีหน้ำที่นั้น ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสิบปีและปรับไม่เกินสองแสนบำท

14/11/2019 SP 192
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๒ ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร
มาตรา ๑๖๒ ผู้ใดเป็นเจ้ำพนักงำน มีหน้ำที่ทำเอกสำร รับเอกสำรหรือกรอกข้อควำม
ลงในเอกสำร กระทำกำรดังต่อไปนี้ในกำรปฏิบัติกำรตำมหน้ำที่
(๑) รับรองเป็นหลักฐำนว่ำ ตนได้กระทำกำรอย่ำงใดขึ้น หรือว่ำกำรอย่ำงใดได้กระทำ
ต่อหน้ำตนอันเป็นควำมเท็จ
(๒) รับรองเป็นหลักฐำนว่ำ ได้มีกำรแจ้งซึ่งข้อควำมอันมิได้มีกำรแจ้ง
(๓) ละเว้นไม่จดข้อควำมซึ่งตนมีหน้ำที่ต้องรับจด หรือจดเปลี่ยนแปลงข้อควำมเช่นว่ำนั้น
หรือ
(๔) รับรองเป็นหลักฐำนซึ่งข้อเท็จจริงอันเอกสำรนั้นมุ่งพิสูจน์ควำมจริงอันเป็นควำมเท็จ
ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปีและปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่นบำท
14/11/2019 SP 193
ประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงาน
มาตรา ๑๓๖ ผู้ใดดูหมิ่นเจ้ำพนักงำนซึ่งกระทำกำรตำมหน้ำที่ หรือ
เพรำะได้กระทำกำรตำมหน้ำทีต่ ้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๗ ผู้ใดแจ้งข้อควำมอันเป็นเท็จแก่เจ้ำพนักงำน


ซึ่งอำจทำให้ผู้อื่นหรือประชำชนเสียหำย ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
14/11/2019 SP 194
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๑ ควำมผิดต่อเจ้ำพนักงำน
มาตรา ๑๓๙ ผู้ใดข่มขืนใจเจ้ำพนักงำนให้ปฏิบัติกำรอันมิชอบด้วยหน้ำที่
หรือให้ละเว้นกำรปฏิบัตกิ ำรตำมหน้ำที่โดยใช้กำลังประทุษร้ำย หรือขู่เข็ญว่ำจะ
ใช้กำลังประทุษร้ำย ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสี่ปีหรือปรับไม่เกินแปดหมื่นบำท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
“ใช้กำลังประทุษร้ำย” หมำยควำมว่ำ ทำกำรประทุษร้ำยแก่กำยหรือจิตใจของบุคคล ไม่ว่ำ
จะทำด้วยใช้แรงกำยภำพหรือด้วยวิธีอื่นใด และให้หมำยควำมรวมถึงกำรกระทำใด ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้
บุคคลหนึ่งบุคคลใดอยู่ในภำวะที่ไม่สำมำรถขัดขืนได้ไม่ว่ำจะโดยใช้ยำทำให้มึนเมำ สะกดจิต หรือ
วิธีอื่นใดอันคล้ำยคลึงกัน
14/11/2019 SP 195
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๑ ควำมผิดต่อเจ้ำพนักงำน
มาตรา ๑๔๓ ผู้ใดเรียก รับหรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด
สำหรับตนเองหรือผู้อื่น เป็นกำรตอบแทนในกำรที่จะจูงใจหรือได้จูงใจ
เจ้ำพนักงำน ... โดยวิธีอันทุจริตหรือผิดกฎหมำยหรือโดยอิทธิพลของตน
ให้กระทำกำร หรือไม่กระทำกำรในหน้ำที่อันเป็นคุณหรือเป็นโทษแก่บุคคลใด
ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินห้ำปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ

14/11/2019 SP 196
ประมวลกฎหมำยอำญำ
หมวด ๑ ควำมผิดต่อเจ้ำพนักงำน
มาตรา ๑๔๔ ผู้ใดให้ ขอให้หรือรับว่ำจะให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด
แก่เจ้ำพนักงำน ... เพื่อจูงใจให้กระทำกำร ไม่กระทำกำร หรือประวิงกำรกระทำ
อันมิชอบด้วยหน้ำที่ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินห้ำปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบำท
หรือทั้งจำทั้งปรับ

14/11/2019 SP 197
ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค ๓ ลหุโทษ
มาตรา ๓๖๗ ผู้ใดเมื่อเจ้ำพนักงำนถำมชื่อหรือที่อยู่เพื่อปฏิบัติกำรตำมกฎหมำย
ไม่ยอมบอก หรือแกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็นเท็จ ต้องระวำงโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบำท
มาตรา ๓๖๘ ผู้ใดทรำบคำสั่งของเจ้ำพนักงำนซึ่งสั่งกำรตำมอำนำจที่มีกฎหมำยให้ไว้
ไม่ปฏิบัติตำมคำสั่งนั้นโดยไม่มีเหตุหรือข้อแก้ตัวอันสมควร ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสิบวัน หรือ
ปรับไม่เกินห้ำพันบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้ำกำรสั่งเช่นว่ำนั้น เป็นคำสั่งให้ช่วยทำกิจกำรในหน้ำที่ของเจ้ำพนักงำนซึ่งกฎหมำย
กำหนดให้สั่งให้ช่วยได้ ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบำท หรือ
ทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๓๖๙ ผูใ้ ดกระทำด้วยประกำรใด ๆ ให้ประกำศ ภำพโฆษณำ หรือเอกสำรใด
ที่เจ้ำพนักงำนผู้กระทำกำรตำมหน้ำที่ปิดหรือแสดงไว้ หรือสั่งให้ปิด หรือแสดงไว้ หลุดฉีกหรือ
ไร้ประโยชน์ ต้องระวำงโทษปรับไม่เกินห้ำพันบำท
14/11/2019 SP 198
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
นิยาม
มาตรา ๔ ในพระรำชบัญญัตินี้
“เจ้าหน้าที”่ หมำยควำมว่ำ ข้ำรำชกำร พนักงำน ลูกจ้ำง หรือผู้ปฏิบัติงำนประเภทอื่น
ไม่ว่ำจะเป็นกำรแต่งตั้งในฐำนะเป็นกรรมกำรหรือฐำนะอื่นใด

“หน่วยงานของรัฐ” หมำยควำมว่ำ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่อ


อย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม รำชกำรส่วนภูมิภำค รำชกำรส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสำหกิจที่ตั้งขึ้นโดย
พระรำชบัญญัติหรือพระรำชกฤษฎีกำ และให้หมำยควำมรวมถึงหน่วยงำนอื่นของรัฐที่มี
พระรำชกฤษฎีกำกำหนดให้เป็นหน่วยงำนของรัฐตำมพระรำชบัญญัตินี้ด้วย
รำชกิ จจำนุเบกษำ เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๖๐ ก ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิ
14/11/2019 SP
กำยน ๒๕๓๙ หน้ำ ๒๕ 199
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
พรฎ. กาหนด กพท. เป็นหน่วยงานอื่น

พระรำชกฤษฎีกำกำหนดหน่วยงำนของรัฐตำมพระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิด
ของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๙

มาตรา ๓ ให้เพิ่มควำมต่อไปนี้เป็น (๕๘) ของมำตรำ ๓ แห่งพระรำชกฤษฎีกำกำหนด


หน่วยงำนของรัฐตำมพระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ศ. ๒๕๔๐
“(๕๘) สำนักงำนกำรบินพลเรือนแห่งประเทศไทย”

รำชกิ จจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๘๑ ก ลงวันที่ ๑๖ กัSPนยำยน ๒๕๕๙ หน้ำ ๑


14/11/2019 200
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
• กำหนดหลักเกณฑ์ควำมเสียหำยจำกกำรละเมิดที่เจ้ำหน้ำที่ก่อขึ้น
- หำกเป็นกำรปฏิบัติหน้ำที่ ต้องฟ้องหน่วยงำน จะฟ้องเจ้ำหน้ำที่ไม่ได้
- หำกไม่ใช่กำรปฏิบัติหน้ำที่ เจ้ำหน้ำที่รับผิดชอบส่วนตัว ฟ้องหน่วยงำนไม่ได้
- หน่วยงำนหรือเจ้ำหน้ำที่อำจขอให้ศำลเรียกอีกฝ่ำยเข้ำมำเป็นคู่ควำมในคดีได้
• ในกำรปฏิบัติหน้ำที่เจ้ำหน้ำที่มีควำมรับผิดเฉพำะเมื่อจงใจหรือประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรงเท่ำนั้น
และหน่วยงำนไม่จำต้องเรียกชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนเต็มจำนวน
• ผู้เสียหำยอำจยื่นคำขอให้หน่วยงำนพิจำรณำชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนได้ โดยหน่วยงำนต้อง
ออกใบรับและพิจำรณำให้แล้วเสร็จโดยเร็ว ไม่เกิน ๑๘๐ วัน หำกไม่เสร็จ ขอรัฐมนตรีขยำยได้
ไม่เกิน ๑๘๐ วัน หำกผู้เสียหำยไม่พอใจคำสั่ง ฟ้องศำลปกครองได้ภำยใน ๙๐ วันนับแต่วันได้รับแจ้ง
• หน่วยงำนมีอำนำจออกคำสั่งให้เจ้ำหน้ำที่ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนที่ชำระไปภำยในกำหนดได้
14/11/2019 SP 201
หน้ำ ๑
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๓ กันยำยน ๒๕๔๘
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ
พ.ศ. ๒๕๒๖
-------------
โดยที่เป็นกำรสมควรปรับปรุงระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วย
งำนสำรบรรณ พ.ศ. ๒๕๐๖ เสียใหม่ให้เหมำะสมยิ่งขึ้น คณะรัฐมนตรีจึงวำงระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
14/11/2019 SP 202
หน้ำ ๓๒
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๓ กันยำยน ๒๕๔๘
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๘
-------------
โดยที่เป็นกำรสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ
พ.ศ. ๒๕๒๖ เพื่อให้เหมำะสมกับสภำวกำรณในปัจจุบันที่มีกำรปฏิบัติงำนสำรบรรณด้วยระบบ
สำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และเป็นกำรสอดคล้องกับกำรบริหำรรำชกำรแนวทำงใหม่ ที่มุ่งเน้น
ผลสัมฤทธิ์ ควำมคุ้มค่ำ และกำรลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน สมควรวำงระบบงำนสำรบรรณให้เป็นกำร
ดำเนินงำนที่มีระบบ มีควำมรวดเร็ว มีประสิทธิภำพ และลดควำมซ้ำซ้อนในกำรปฏิบัติรำชกำร
14/11/2019 SP 203
หน้ำ ๕
เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๓๕ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๙ ธันวำคม ๒๕๖๐
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๐
-------------
โดยที่ เ ป็ น กำรสมควรแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ระเบี ย บส ำนั ก นำยกรั ฐ มนตรี ว่ ำ ด้ ว ย
งำนสำรบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ เพื่อระบุตำแหน่ง ประเภทตำแหน่ง และระดับตำแหน่งของข้ำรำชกำร
พลเรือน และพนักงำนส่วนท้องถิ่นให้สอดคล้องกับตำแหน่ง ประเภทตำแหน่ง และระดับตำแหน่ง
ของข้ ำ รำชกำรพลเรื อ นหรื อ พนั ก งำนส่ ว นท้ อ งถิ่ น นั้ น รวมทั้ ง ก ำหนดให้ พ นั ก งำนรำชกำรและ
เจ้ำหน้ำที่ของรัฐอื่นมีหน้ำที่ทำสำเนำหนังสือและรับรองสำเนำหนังสือนั้นได้ด้วย
14/11/2019 SP 204
• “งานสารบรรณ” หมำยควำมว่ำ งำนที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนเอกสำร เริ่มตั้งแต่
กำรจัดทำ กำรรับ กำรส่ง กำรเก็บรักษำ กำรยืม จนถึงกำรทำลำย
• หนังสือราชการ คือ เอกสำรที่เป็นหลักฐำนในรำชกำร ได้แก่
๑. หนังสือที่มีไปมำระหว่ำงส่วนรำชกำร
๒. หนังสือที่ส่วนรำชกำรมีไปถึงหน่วยงำนอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนรำชกำร หรือที่มีไปถึง
บุคคลภำยนอก
๓. หนังสือที่หน่วยงำนอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนรำชกำร หรือที่บุคคลภำยนอกมีมำถึง
ส่วนรำชกำร
๔. เอกสำรที่ทำงรำชกำรจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐำนในรำชกำร
๕. เอกสำรที่ทำงรำชกำรจัดทำขึ้นตำมกฎหมำย ระเบียบ หรือข้อบังคับ
14/11/2019 SP 205
• หนังสือ มี ๖ ชนิด คือ
๑. หนังสือภำยนอก
๒. หนังสือภำยใน
๓. หนังสือประทับตรำ
๔. หนังสือสั่งกำร (คำสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ)
๕. หนังสือประชำสัมพันธ์ (ประกำศ แถลงกำรณ์ และข่ำว)
๖. หนังสือที่เจ้ำหน้ำที่ทำขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำร (หนังสือรับรอง
รำยงำนกำรประชุม บันทึก และหนังสืออื่น)

14/11/2019 SP 206
• หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่ำปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินกำร
ทำงสำรบรรณด้วยควำมรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ
๑. ด่วนที่สุด ให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น
๒. ด่วนมาก ให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติโดยเร็ว
๓. ด่วน ให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติเร็วกว่ำปกติ เท่ำที่จะทำได้
ให้ระบุชั้นควำมเร็วด้วยตัวอักษรสีแดงขนำดไม่เล็กกว่ำตัวพิมพ์โป้ง ๓๒ พอยท์
ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง

14/11/2019 SP 207
หน้ำ ๒๘
เล่ม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๑๘ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๓ กุมภำพันธ์ ๒๕๔๔
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบ
ว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร
พ.ศ. ๒๕๔๔
-------------
โดยที่เป็นกำรสมควรให้มีระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร
อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๑๖ และมำตรำ ๒๖ วรรคห้ำ แห่ง
พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ ... คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้วำงระเบียบ
ไว้ ดังต่อไปนี้
14/11/2019 SP 208
ชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำร
ลับที่สุด (TOP SECRET) หมำยถึง ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือ
เพียงบำงส่วนจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรงที่สุด
ลับมาก (SECRET) หมำยถึง ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือ
เพียงบำงส่วนจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรง
ลับ (CONFIDENTIAL) หมำยถึง ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือ
เพียงบำงส่วนจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐ

14/11/2019 SP 209
หน้ำ ๑๐
เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๘ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๖ มิถุนำยน ๒๕๖๑
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง กำหนดแบบเอกสำรตำมระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๑
-------------
โดยที่ เ ป็ น กำรสมควรก ำหนดแบบรำยงำนกำรตรวจสอบข้ อ มู ล ข่ ำ วสำรลั บ
แบบรำยงำนผลกำรปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำรลับ และแบบบันทึกกำรโอนและกำรรับโอนข้อมูล
ข่ำวสำรลับ รวมทั้งปรับปรุงแบบใบตอบรับให้มีควำมเหมำะสมยิ่งขึ้น
14/11/2019 SP 210
หน้ำ ๑
เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๘ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๖ มิถุนำยน ๒๕๖๑
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบ
ว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๑
-------------
โดยที่เป็นกำรสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำง
รำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ โครงสร้ำง และอำนำจหน้ำที่ของหน่วยงำน
ของรัฐในปัจจุบัน รวมทั้งก ำหนดให้ มีก ำรรำยงำนและกำรตรวจสอบกำรปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูล
ข่ำวสำรลับของหน่วยงำนของรัฐและกำหนดให้มีแบบเอกสำรเกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำรลับเป็นกำร
เพิ่มเติม เพื่อให้มีควำมชัดเจนและเหมำะสม
14/11/2019 SP 211
หน้ำ ๔
เล่ม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๓๙ ง รำชกิจจำนุเบกษำ ๒๓ กันยำยน ๒๕๕๒
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ำด้วยกำรรักษำควำมปลอดภัยแห่งชำติ
พ.ศ. ๒๕๕๒
-------------
โดยที่ ร ะเบี ย บว่ ำ ด้ ว ยกำรรั ก ษำควำมปลอดภั ย แห่ ง ชำติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ซึ่ ง เป็ น
ระเบียบที่วำงแนวทำงปฏิบัติในกำรรักษำควำมปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล เอกสำร และสถำนที่ได้ใช้
บั ง คั บ มำเป็ น เวลำนำนแล้ ว และมี บ ทบั ญ ญั ติ ห ลำยประกำรที่ ไ ม่ เ หมำะสมกั บ กำลปั จ จุ บั น น ำ
รำยละเอียดในทำงปฏิบัติมำกำหนดไว้เกินควำมจำเป็น รวมทั้งระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับ
ของทำงรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งเป็นแนวทำงปฏิบัติในกำรรักษำข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่เป็น
เอกสำรมิให้รั่วไหลมีผลใช้บังคับแล้ว สมควรปรับปรุงระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมปลอดภัย
แห่ ง ชำติ พ.ศ. ๒๕๑๗ เพื่ อ ให้ ก ำรรั ก ษำควำมปลอดภั ย แห่ ง ชำติ เ ป็ น ไปอย่ ำ งเหมำะสมและมี
ประสิทธิภำพยิ่งขึ้น
14/11/2019 บุคคล สถำนที่ กำรประชุม
SP 212
กำรกำหนดให้ข้อมูลข่ำวสำรอยู่ในชั้นควำมลับใด ให้พิจำรณำถึงองค์ประกอบอย่ำงน้อย
ดังต่อไปนี้
(๑) ควำมสำคัญของเนื้อหำ
(๒) แหล่งที่มำของข้อมูลข่ำวสำร
(๓) วิธีกำรนำไปใช้ประโยชน์
(๔) จำนวนบุคคลที่ควรรับทรำบ
(๕) ผลกระทบหำกมีกำรเปิดเผย
(๖) หน่วยงำนของรัฐที่รับผิดชอบในฐำนะเจ้ำของเรื่องหรือผู้อนุมัติ
14/11/2019 SP 213
Module II

Aviation Law and regulations

14/11/2019 SP 214
aviation กำรบิน
air navigation กำรเดินอำกำศ
air transport กำรขนส่งทำงอำกำศ

14/11/2019 SP 215
• Aviation comes from the Latin avis meaning
"bird," an appropriate translation given that
aviation deals with travel by air, specifically in a
plane.
• The aviation industry is the business sector
dedicated to manufacturing and operating all
types of aircraft. Air traffic controllers, when they
are awake, are concerned with aviation safety.
https://www.vocabulary.com/dictionary/aviation
14/11/2019 SP 216
Aviation is the
design,
development,
production,
operation, and
use
of aircraft,
especially heavier-than-air aircraft.
http://en.wikipedia.org/wiki/Aviation
14/11/2019 SP 217
•Transport
: to carry, move, or convey from one place to
another.
http://dictionary.reference.com/browse/transport?s=t

•Air Transport
: a method of transportation by which passengers,
mail, and cargo are conveyed by air.
http://encyclopedia2.thefreedictionary.com/Air+Transport
14/11/2019 SP 218
• Navigation
1. the act or process of navigating.
2. the art or science of plotting, ascertaining, or directing
the course of a ship, aircraft, or guided missile.
http://dictionary.reference.com/browse/navigation?&o=100074&s=t
• Air navigation
: The basic principles of air navigation are identical to
general navigation, which includes the process of
planning, recording, and controlling the movement of a
craft from one place to another.
https://en.wikipedia.org/wiki/Air_navigation
14/11/2019 SP 219
- การบิน (aviation) คือ กำรกระทำอย่ำงนก ทำอย่ำงไรที่จะบินได้
หมำยรวมตั้งแต่กำรออกแบบ กำรผลิต กำรใช้ กำรปฏิบัติกำร และ
กำรบำรุงรักษำอำกำศยำน สนำมบินและเครื่องอำนวยควำมสะดวก
ในกำรเดินอำกำศอย่ำงอื่น บุคลำกรทำงกำรบิน
- การขนส่งทางอากาศ (air transport) คือ กำรเคลื่อนย้ำยคน หรือ
ของจำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งทำงอำกำศ โดยอำกำศยำน
- การเดินอากาศ (air navigation) คือ กำรกำหนดตำแหน่งในกำร
เคลื่อนที่จำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งทำงอำกำศ
- การรับขนทางอากาศ (air carriage) คือ ควำมตกลงให้ขนส่งคน
14/11/2019
หรือของ จำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งทำงอำกำศ โดยอำกำศยำน
SP 220
essential elements of aviation (4Air)
•air
•airmen
•aircraft
•air navigation facilities / airport
14/11/2019 SP 221
air noun :
• the mixture of gases that surrounds the earth and that we breathe:
I went outside to get some fresh air.
You should put some air in your tyres - they look flat to me.
• the air :The balloon rose gently (up) into the air.
The volcano spewed a giant cloud of ash, dust, and gases into the air.
The extent of the flooding can only be fully appreciated when viewed from the air.
The ball carried high into the air and landed the other side of the fence.
A cloud of dust rose in the air as the car roared past.
• the space above the ground, especially high above the ground:
The air was filled with the scent of roses.
Throw your gun down and put your hands in the air.
The police fired into the air to clear the demonstrators from the streets.
14/11/2019
http://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/air
SP 222
Air
* แก๊สผสมที่ประกอบด้วยไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่
ใช้ในกำรหำยใจหรือช่วยในกำรเผำไหม้
* ที่ว่ำงเปล่ำซึ่งมีอยู่เป็นเอกเทศจำกสสำร
* ท้องฟ้ำ เช่น นกบินไปในอำกำศ
* เป็นธำตุอย่ำง ๑ ใน ๖ - ปฐวีธำตุ(ดิน),
อำโปธำตุ (น้ำ), เตโชธำตุ (ไฟ), วำโยธำตุ (ลม),
อำกำศธำตุ (ที่ว่ำงเปล่ำ) และวิญญำณธำตุ (รู้)
* สภำพดินฟ้ำอำกำศทั่วๆไป เช่น เช้ำนี้อำกำศดีจัง
14/11/2019 SP 223
airmen / aviation personnel

trained license - Personnel stated in Annex 1

- Airworthiness certificate issuer


trained certificate - Airport manager
- Security personnel
trained - Aviation inspector
- Medical examiners (A1 1.2.4.6)
- Cabin crew,
approved approved - Airport ground personnel : Marshaller, Fire fighting personnel …
training training - etc.
organization
14/11/2019 SP 224
Annex 2 Rules of the Air
Safety-sensitive personnel. Persons who might endanger aviation
safety if they perform their duties and functions improperly including,
but not limited to, crew members, aircraft maintenance personnel and
air traffic controllers.
Annex 19 Safety Management
Operational personnel. Personnel involved in aviation activities who
are in a position to report safety information.
Note.— Such personnel include, but are not limited to: flight crews;
air traffic controllers; aeronautical station operators; maintenance technicians;
personnel of aircraft design and manufacturing organizations; cabin crews;
flight dispatchers, apron personnel and ground handling personnel.
14/11/2019 SP 225
“airman” means an individual—
(A) in command, or as pilot, mechanic, or member of the crew, who navigates
aircraft when under way;
(B) except to the extent the Administrator of the Federal Aviation Administration
may provide otherwise for individuals employed outside the United States,
who is directly in charge of inspecting, maintaining, overhauling, or repairing
aircraft, aircraft engines, propellers, or appliances; or
(C) who serves as an aircraft dispatcher or air traffic control-tower operator.

49 USCS § 40102 [Title 49. Transportation; Subtitle VII. Aviation Programs;


Part A. Air Commerce and Safety; Subpart I. General]
14/11/2019 SP 226
Annexes to the CC44
aircraft. Any machine that can derive support in the atmosphere from
the reactions of the air other than the reactions of the air against the
earth’s surface.
Redefining Ado. 8 November 1967 Eff. 8 March 1968 App. 8 July 1968

“aircraft” means any contrivance invented, used, or designed to


navigate, or fly in, the air.
49 USCS § 40102 [Title 49. Transportation; Subtitle VII. Aviation Programs;
Part A. Air Commerce and Safety; Subpart I. General]
14/11/2019 SP 227
airport / aerodrome
Annex 14 Aerodrome

Aerodrome. A defined area on land or water


(including any buildings, installations and equipment)
intended to be used either wholly or in part for the
arrival, departure and surface movement of aircraft.

14/11/2019 SP 228
CC44 A. 28 Air navigation facilities and standard systems
Each contracting State undertakes, so far as it may find practicable, to:
(a) Provide, in its territory, airports, radio services, meteorological services and other
air navigation facilities to facilitate international air navigation, in accordance with
the standards and practices recommended or established from time to time,
pursuant to this Convention;
(b) Adopt and put into operation the appropriate standard systems of
communications procedure, codes, markings, signals, lighting and other operational
practices and rules which may be recommended or established from time to time,
pursuant to this Convention;
14/11/2019 SP 229
"Air navigation facility" means any facility other than one owned
or operated by the United States used in, available for use in, or designed
for use in, aid of air navigation, including airports and any structures,
mechanisms, lights, beacons, markers, communicating system or other
instrumentalities or devices used or useful as an aid, or constituting an
advantage or convenience to the safe taking-off, navigation and landing of
aircraft, or the safe and efficient operation or maintenance of an airport,
and any combination of any or all of such facilities.

https://www.oregonlaws.org/glossary/definition/air_navigation_facility
14/11/2019 SP 230
• Air navigation facility means a facility used, available for use, or designed for use, in aid of air
navigation, including—
(A) a landing area;
(B) runway lighting and airport surface visual and other navigation aids;
(C) apparatus, equipment, software, or service for distributing aeronautical and meteorological
information to air traffic control facilities or aircraft;
(D) communication, navigation, or surveillance equipment for air-to-ground or air-to-air applications;
(E) any structure, equipment, or mechanism for guiding or controlling flight in the air or the landing
and takeoff of aircraft; and
(F) buildings, equipment, and systems dedicated to the national airspace system.

Title 49. TRANSPORTATION Subtitle VII. AVIATION PROGRAMS Part A. AIR COMMERCE AND SAFETY
Subpart i. general Chapter 401. GENERAL PROVISIONS Section 40102. Definitions (present)
14/11/2019 SP 231
เครื่องอำนวยควำมสะดวกในกำรเดินอำกำศ
• ท่ำอำกำศยำน
• เครื่องวิทยุ
• เครื่องช่วย (อนุกูล) กำรเดินอำกำศ
• บริการจราจรทางอากาศ
• บริการอุตุนิยมวิทยาทางอากาศ
• บริการข่าวสารการบิน
• บริการค้นหาและช่วยเหลือ
14/11/2019 SP 232
•Politic •Safety
•Social •Security
•Safety impact to impact by (war, armed conflict)
aviation
•Security •Economics
•Economics •Weather
•Environment •Fuel price

14/11/2019
economic engines drive
SP 233
Foreign elements of aviation International character
Relevant to civil aviation : :
- operating globally - its use
- with common world-wide requirements - its finality
- safety - its generality
- regularity - its speed and distance
- efficiency - its danger incurred by
- depends on international co-operation aerial locomotion
& co-ordination
- substantially affected by international law
& international organizations
14/11/2019 SP 234
(foreign element) Air Law (international character)
the body of law directly or indirectly concerned with civil aviation.
Aviation in this context extends to both heavier-than-air and
lighter-than-air aircraft.
Because of the essentially international character of aviation,
a large part of air law is either international law or international
uniform law (rules of national law that have by agreement been
made internationally uniform). Insofar as international air law is
concerned, it need hardly be mentioned that an international
agreement or an amendment thereto is binding only on states
that are parties to it.
http://www.britannica.com/EBchecked/topic/10733/air-law
14/11/2019 SP 235
Meaning air airmen
economic Essential aircraft
engine drive elements
ANF/airport
Significant
economic International character/
Aviation Foreign element
politic
Impact by
conflict social economic
fuel price weather
politic Impact to safety
environment security
14/11/2019 SP 236
องค์ประกอบ ผลกระทบ
ความหมาย
- อำกำศ
- ควำมปลอดภัย
- อำกำศยำน - ควำมมั่นคง - ขับเคลื่อนทำงเศรษฐกิจ
- ท่ำอำกำศยำน - เศรษฐกิจ - เชื่อมโลก เชื่อมวัฒนธรรม
- บุคลำกรทำงอำกำศ - สิ่งแวดล้อม - ย่นย่อโลก
ประวัติ - สร้ำงงำน
การบิน ความสาคัญ
ประเภท - ปัจจัยพื้นฐำนของ
การขนส่งทางอากาศ
กำรท่องเที่ยว
การเดินอากาศ
- ทหำร - พลเรือน - ยุทธวิธีทำงทหำร
-กำรขนส่งทำงอำกำศ - ประจำ /ไม่ประจำ จุดเกาะเกี่ยว
เพื่อกำรพำณิชย์ - คนโดยสำร/สินค้ำ/ ระหว่างประเทศ
- กำรทำงำนทำงอำกำศ รวม - ดินแดน
14/11/2019 - กำรบินทั่วไป -SPภำยใน/ระหว่ำง ปท. - สัญชำติ 237
Aviation Law
highly specialized field of law
encompasses most facets of air travel,
as well as the operation and regulation
of business issues relating to air travel,
HG.org-HGExperts.co
14/11/2019 SP 238
Aviation Law
- the operation and use of aircraft
- the maintenance of aircraft
- management of aviation facilities
- oversee the administrative functions and
- regulations of air traffic and related aerospace activities.
Cornell University Law School
14/11/2019 SP 239
Basic Principles of International Air Law
•Territorial Sovereignty.
•National Airspace.
•Freedom of the Seas.
•Nationality of Aircraft.
Source: Prof. John Cobb Cooper

14/11/2019 SP 240
• Cuius Est Solum Eius Est Usque Ad Coelum Et Ad Inferos is a Latin term that
means for whoever owns the soil, it is theirs up to heaven and down to hell.
• This is a principle of property law. The principle states that a person who owns a
particular piece of land owns everything above and below it as well.
• This means that owner of a property could prosecute trespass against people
who violated the border but never actually touched the soil.
• The owner can also sell or lease the property to others, or it can be taken or
regulated by the state. However, the U.S. common law limits trespass claims to
infringements at a reasonable distance above and below the surface of the land.
• Despite the Latin phrasing of the maxim this is not a principle of Roman law, nor
was the theory recognized in early common law. This principle of property law
can be traced back to 1766 in the commentaries on the laws of England by
Blackstone. However, by the end of the 19th century, it transformed into a
supposed rule of American law.
14/11/2019 SP https://definitions.uslegal.com 241
Public International Air Law
• (Paris Convention 1919)
• (Madrid Convention 1926)
• (Habana Convention 1928)
• (Buenos Aires Convention 1935 – facilities for air traffic)
• (Bucharest Convention 1936 – Balkan States)
• Chicago Convention 1944
• Air Transit Agreement 1944
• Air Transport Agreement 1944
• Montreal Convention1991
14/11/2019 SP 242
Private International Law
creditor / security on financial
•The 1948 Geneva Convention

•The 2001 Cape town Convention

14/11/2019 SP 243
Private International Law
damage to third party : delict
•The 1952 Rome Convention
•The 1978 Montreal Protocol

•The 2009 Montreal Convention


(General Risk Convention / GRC)
•The 2009 Montreal Convention
(Unlawful Interference Compensation Convention /
UICC)
14/11/2019
Compulsory insurance for third parties
SP 244
Private International Law
damage to passenger / cargo : contract / user
Warsaw System / Regime
•The 1929 Warsaw Convention (WC29)
•The 1955 Hague Protocol
(1961, 1971, 1975)
•The 1999 Montreal Convention (MC99)
Compulsory insurance for pax., baggage & cargo
14/11/2019 SP 245
Criminal International Law
•The 1963 Tokyo Convention (criminal jurisdiction; police power)
•The 2014 Montreal Protocol
•The 1970 Hague Convention (hijacking)
•The 2010 Beijing Protocol
•The 1971 Montreal Convention (sabotage)
•The 1988 Montreal Protocol (airport)
•The 2010 Beijing Convention
•ICAO Model law 2001 (unruly passenger)
14/11/2019 SP 246
International Aviation Treaties
Public Private Criminal
• PC19 User / Contract Creditor 3rd Parties
• MC26
• HC28 • WC29 • GC48 • RC52 • TC63
• BA C35 - GC61 • CPC01 • MP78 MP14
• BC36 - MAP1 75 • GRC09 • HC70
• CC44 • WHC58 • UICC09 BP10
• IASTA44 - GP71 • MC71
• IATA44 - MAP2,3,4 75 • MP88
• MC91
14/11/2019
• MC99 SP
BC10247
แนะนาให้รู้จักกฎหมายการบินระหว่างประเทศ
public ๑. กฎหมำยมหำชน ที่สำคัญ คือ อนุสัญญำชิคำโก ค.ศ. ๑๙๔๔ ซึ่งกล่ำวถึงกำรบินพลเรือนระหว่ำงประเทศ
และกำรบริกำรขนส่งทำงอำกำศระหว่ำงประเทศ รวมทั้งจัดตั้ง ICAO และควำมตกลงผ่ำนแดนและขนส่ง
private ๒. กฎหมำยเอกชน ที่สำคัญ ๓ กลุ่ม ได้แก่
user ด้ำนสัญญำ คือ อนุสัญญำมอนตริออล ค.ศ. ๑๙๙๙ เป็นเรื่องหลักและควำมรับผิดของผู้
ขนส่ง ทำงอำกำศและจำนวนจำกัดควำมรับผิด เขตศำลที่มีอำนำจพิจำรณำ โดยบังคับให้ผู้ขนส่งต้อง
ทำประกันภัยเพื่อควำมเสียหำยของผู้โดยสำร สัมภำระ และของ
third party ด้ำนละเมิด คือ อนุสัญญำโรม ค.ศ. ๑๙๕๒ เป็นเรื่องควำมรับผิดและกำรจำกัดควำมรับ
ผิดของผู้ดำเนินกำรอำกำศยำนต่ำงประเทศที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่บุคคลที่สำมบนพื้นผิว โดยบังคับให้
ผู้ดำเนินกำรอำกำศยำนต้องทำประกันภัยเพื่อควำมเสียหำยของบุคคลที่สำมบนพื้นผิว และ
creditor ด้ำนกำรเงิน คือ อนุสัญญำเจนีวำ ค.ศ. ๑๙๔๘ ที่กำหนดลำดับบุริมสิทธิ์ในหนี้ที่อำกำศ
ยำนก่อให้เกิดขึ้น และ อนุสัญญำเคปทำวน์ ค.ศ. ๒๐๐๑ ที่กำหนดวิธีกำรบังคับสิทธิในหนี้ที่อำกำศยำนก่อให้เกิด
criminal ขึ้น
๓. กฎหมำยอำญำ ที่สำคัญ ได้แก่ อนุสัญญำโตเกียว ค.ศ. ๑๙๖๓ กำหนดเขตอำนำจรัฐทำงอำญำ และ
ให้อำนำจตำรวจแก่ผู้ควบคุมอำกำศยำน
อนุสัญญำเฮก ค.ศ. ๑๙๗๐ กำหนดให้กำรจี้อำกำศยำน
อนุสัญญำมอนตริออล ค.ศ. ๑๙๗๑ กำหนดกำรกระทำต่อหรือในอำกำศยำนที่เป็น
อันตรำยต่อควำมปลอดภัยของอำกำศยำนหรือบุคคลหรือทรัพย์สินในอำกำศยำน และพิธีสำรมอนตริออล ค.ศ.
๑๙๘๘ กำหนดให้กำรกระทำรุนแรงที่ท่ำอำกำศยำนซึ่งให้บริกำรกำรบินพลเรือนระหว่ำงประเทศ
14/11/2019
กฎหมำยแบบของ ICAO ค.ศ. ๒๐๐๑ SP
ที่กำหนดให้กำรประพฤติตนไม่เรียบร้อยของ 248
ผู้โดยสำร เป็นควำมผิดระหว่ำงประเทศ
กฎหมายการบินของไทย
มหาชน เอกชน อาญา
• พรบ. การเดินอากาศ ๖๕ •พรบ. การรับขน
• พรบ. การเดินอากาศ ๘๐ ทางอากาศระหว่าง
• พรบ. การเดินอากาศ ๙๗ ประเทศ ๕๘, ๖๒
• พรบ. ควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบต่อความปลอดภัยฯ ๗๑
• พรบ. กาหนดกระทรวงเจ้าหน้าที่ ๗๑ •พรบ. ความผิดบาง
• ปว. ๕๘ ๑๕ ประการต่อการ
• พรบ. ว่าด้วยการปฏิบัติต่ออากาศยานที่กระทาผิดกฎหมาย ๑๙ เดินอากาศ ๒๑
• พรบ. ว่าด้วยการปฏิบัติต่ออากาศยานที่กระทาผิดกฎหมาย ๕๓ •พรบ. ความผิดบาง
• พรก. การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ๕๘ ประการต่อการ
14/11/2019 SP
เดินอากาศ 249
๕๘
มหาชน หลักที่นามาใช้ - สนธิสัญญำ
- พรบ. กำรเดินอำกำศ ๒๔๙๗ - กฎหมำยของต่ำงประเทศ
- พรบ. ศุลกำกร ๒๕๖๐
- พรบ. คนเข้ำเมือง ๒๕๖๑ เอกชน
- พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ ๒๕๓๐ -ปพพ. สัญญำ / ประกันภัย
- พรบ. สิ่งแวดล้อม ๒๕๓๕ - พรบ. กำรรับขนทำงอำกำศ
- ปว. ๕๘ (๒๕๑๕) ระหว่ำงประเทศ ๒๕๕๘
- พรบ. ประกอบธุรกิจ
ของคนต่ำงด้ำว ๒๕๔๒ กฎหมายการบิน
- ปพพ. ละเมิด / ประกันภัย
- พรบ. กำรให้เอกชนร่วมลงทุน ภายในประเทศ
ในกิจกำรของรัฐ ๒๕๖๒ - ปพพ. หลักประกัน
- พรบ. ว่ำด้วยปฏิบัติต่อ
อำกำศยำนที่กระทำผิด อาญา
กฎหมำย ๒๕๕๓
- พรบ. ควำมผิดบำงประกำรต่อกำรเดินอำกำศ ๒๕๕๘
- พรบ. กำรเดินอำกำศ ๒๔๙๗
14/11/2019 - ประมวลกฎหมำยอำญำ
SP 250

You might also like