You are on page 1of 15

แนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์การท่องเที่ยว

ในเทศกาลสงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่

นางสาว ศุภนิดา กาลวงศ์ 116310509452-


3
นางสาว ชนาภา เมฆขลา 116310509462-
2
นางสาว ณัฐวรรณ คูฮกซิว
่ 116310509464-8
นางสาว ณัฐธยาน์ เหลื่อมอุไร 116310509465-
5
นางสาว ศศิวม
ิ ล สมแก้ว 116310509475-
4

เสนอ
ดร.กัญญ์กณิษฐ์ กมลกิตติวงศ

บทที่1

บทนำ

1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา


เมื่อครัง้ ก่อน พิธีสงกรานต์ เป็ นพิธีกรรมที่เกิดขึน
้ ภายในครอบครัว หรือ
ชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ในปั จจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงให้พิธีสงกรานต์
นัน
้ เป็ นเทศกาลสงกรานต์โดยได้ขยายออกไปสู่คมเป็ นวงกว้างมากขึน
้ และมี
แนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศคติ ตลอดจนความเชื่อไป แต่เดิมในพิธีสงกรานต์จะ
ใช้น้ำเป็ นสัญลักษณ์ที่เป็ นองค์ประกอบหลักของพิธีแก้กันกับความหมายของ
ฤดูร้อนช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษ ในวันนีจ
้ ะใช้น้ำรดให้แก่
กันเพื่อความชุ่มชื่นมีการขอพรจากผู้ใหญ่ มีการรำลึกและกตัญญูต่อ
บรรพบุรุษที่ล่วงลับ ต่อมาในสังคมไทยสมัยใหม่เกิดเป็ นประเพณีกลับบ้านใน
ช่วงเทศกาลสงกรานต์นับว่าวันสงกรานต์เป็ นวันครอบครัวอีกทัง้ ยังมี
ประเพณีที่สืบทอดมาตัง้ แต่ดงั ้ เดิมอย่างการสรงน้ำพระที่นำมาซึ่งความเป็ น
สิริมงคลเพื่อให้เป็ นการเริ่มต้นปี ใหม่ที่มีความสุข ปั จจุบันได้มีการ
ประชาสัมพันธ์ในเชิงท่องเที่ยวว่าเป็ น Water Festival หรือ เทศกาลแห่ง
น้ำ โดยได้ตัดข้อมูลในส่วนที่เป็ นความเชื่อดัง้ เดิมออกไป event.sanook
(2565)
ปั จจุบันธุรกิจการท่องเที่ยวเจริญก้าวหน้าและพัฒนามาเป็ นธุรกิจ
ระหว่างชาติที่จะต้องอาศัยความร่วมมือซึ่งกันและกันระหว่างหน่วยงานต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวมีการแข่งขันและปรับปรุงบริการด้าน การ
ท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้
เข้ามาท่องเที่ยวมากยิ่งขึน
้ นอกจากนีย
้ ังมีความจำเป็ นที่จะต้องศึกษา
พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวและพยายามปรับผลิตภัณฑ์ไม่ว่าจะเป็ นที่พัก
ลักษณะการนำเที่ยวประเภทสถานที่ท่องเที่ยวและรูปแบบการให้บริการให้
สอดคล้องกับความต้องการและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว แต่ละกลุ่มให้ถูก
ต้องมากที่สุด event.sanook (2565)
คมสัน สุริยะ (2551) ได้ให้แนวคิดเรื่องโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว
(Tourismlogistics) ว่าคล้ายคลึงกับเรื่องการขนส่งสำหรับการท่องเที่ยว
( Tourism and Transport) แต่ครอบคลุมกว้างกว่า โดยโลจิสติกส์สำหรับ
การท่องเที่ยวครอบคลุมสามเรื่องใหญ่คือ การขนส่งนักท่องเที่ยวและวัตถุ
สิ่งของ (Physical flow) การให้และรับข้อมูลข่าวสาร (Information flow)
และการรับจ่ายเงิน (Financial flow) ในขณะที่เรื่องการขนส่งสำหรับการ
ท่องเที่ยวจะครอบคลุมเฉพาะเรื่องการขนสง นักท่องเที่ยวและวัตถุสิ่งของ
เท่านัน

ปั จจัยที่สำคัญอันดับแรกที่จะสร้างความประทับใจและก่อให้เกิดความ
ภักดีต่อการท่องเที่ยวคือ ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว
(Liang, et al, 2007)เนื่องจากโลจิสติกส์การท่องเที่ยวเป็ นประเด็นสำคัญ
ส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพราะเป็ นส่วนที่นำพานักท่องเที่ยว
มาแหล่งท่องเที่ยว หากขาดวิถีการขนส่งที่จะนำนักท่องเที่ยวไปสู่แหล่งท่อง
เที่ยวโดยสะดวกแล้ว แม้ว่าสถานที่ท่องเที่ยวนัน
้ จะสวยงาม มีสงิ่ ดึงดูดใจมาก
สักเพียงใด การท่องเที่ยวก็อาจจะไม่เกิดขึน
้ (นิศา ชัชกุล, 2555) ซึง่
สอดคล้องกับผลการวิจัยของมิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด (2550) ที่พบว่า ปั ญหา
ด้านการท่องเที่ยวนัน
้ ไม่ได้อยู่ที่เรื่องของแหล่งท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว หาก
แต่อยู่ที่การจัดการห่วงโซ่อุปทานของการท่องเที่ยว ซึง่ ก็คือการจัดการขัน

ตอนต่าง ๆ ในกระบวนการบริการที่ต้องต่อเนื่องเป็ นลูกโซ่ที่มีประสิทธิภาพ
ทัง้ ด้านเวลาต้นทุน ความพึงพอใจสูงสุด และผลการวิจัยยังชีช
้ ัดว่า การ
จัดการห่วงโซ่คุณค่าก็คือ การจัดการโลจิสติกส์ และโลจิสติกส์การท่องเที่ยว
ซึ่งแตกต่างจากโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมอื่น ๆเนื่องจาก โลจิสติกส์การ
ท่องเที่ยวนัน
้ เป็ นการจัดการเคลื่อนย้ายคนซึ่งมีความรู้สึก และต้องการได้รับ
การบริการที่มีประสิทธิภาพ
จังหวัดเชียงใหม่เป็ นจังหวัดใหญ่ในภาคเหนือ มีพ้น
ื ที่ 20,107 ตาราง
กิโลเมตร เป็ นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับที่2 ของประเทศ มีประชากร
1.79 ล้านคน มากเป็ นอันดับที่ 4 ของประเทศ เชียงใหม่เป็ นเมืองใหญ่ที่มี
สถานที่ท่องเที่ยวมากมาย และ วัดสำคัญต่างๆเช่น ดอยอินทนนท์ วัดพระ
ธาตุดอยสุเทพ ประตูท่าแพโดยภาพรวมเศรษฐกิจการท่องเที่ยวช่วง
สงกรานต์ประจำปี 2565 หลังผ่อนปรนมาตรการโควิด-19 พบว่าช่วง
สงกรานต์ 13-17 เม.ย 2565 มีนักท่องเที่ยวทัง้ ไทยและต่างชาติเข้าพื้นที่
มากกว่า 6.1 หมื่นคน อัตราการเข้าพักโรงแรมเฉลี่ย 32.99%ก่อให้เกิดราย
ได้จากการท่องเที่ยวกว่า 549 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็ นการจ่ายของนักท่อง
เที่ยวชาวไทย 452 ล้านบาท

ภาพที่ 1 แสดงแผนที่ของจังหวัดเชียงใหม่
https://www.thai-tour.com/map/chiangmai?province=เชียงใหม่
สภาพปั ญหาการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่สามารถแยกได้ เป็ น 6 ประเด็นหลัก ได้ แก่ 1) ปั ญหาด้ าน
อุปทานการท่องท่องเที่ยว เนื่องจากมีผ้ ปู ระกอบการจำนวนมากเกินไปขาดการประชาสัมพันธ์ และมีการ
แข่งขันค้ านราคาของผู้ประกอบการ 2) ปั ญหาการพัฒนาสถานที่และสินค้ าของการท่องเที่ยว ได้ แก่ การขาด
การอนุรักษ์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ รวมถึงเอกลักษณ์ความเป็ นล้ านนาเริ่ มสูญหาย 3) ปั ญหาค้ าน
บุคลากรการท่องเที่ยว ขาดแคลนมัคคุเทศก์ บุคลากรด้ านการท่องเที่ยวที่มีคณ ุ ภาพกระจุกตัวอยูเ่ ฉพาะใน
จังหวัดเชียงใหม่ 4 ปั ญหาสิ่งแวดล้ อมและสิ่งอำนวยความสะดวกพื ้นฐานได้ แก่ ปั ญหาหมอกควัน สิ่งแวดล้ อม
เริ่ มเสื่อมโทรมทำให้ สเน่ห์ความเป็ นล้ านนาเสื่อมถอยลง และ ระบบการคมนาคมและระบบขนส่งมวลชนยัง
ไม่มีประสิทธิภาพ และ 5) ปั ญหาค้ านนโยบายการท่องเที่ยวที่ขาดความต่อเนื่อง ความไม่ร่วมมือกันในการ
ทำงานของภาครัฐและเอกชน 6) ปั ญหาด้ านการจราจรเนื่องจากถนนหนทางมีน้อยและคับแคบไม่เพียงพอต่อ
จำนวนรถที่เพิ่มขึ ้นทำให้ รถติดอย่างมาก นอกจากนี ้การพัฒนาด้ านการคมนาคมให้ พร้ อมกับการเติบโต ควร
พัฒนาบุคลากรให้ เข้ าสูม่ าตรฐานสากล และมีนโยบายที่สนับสนุนผู้ประกอบการเช่น การลดอัตราภาษี การก
ระตุ้นเศรษฐกิจ การเปี ดการค้ าชายแดน
การศึกษาปั จจัยทางด้ านโลจิสติกส์ที่มีผลต่อจำนวนนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ ทังปั
้ จจัยที่สง่ เสริ มและ
ไม่สง่ เสริ มให้ จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ ้น เพื่อนำผลการศึกษาที่ได้ มาช่วยในการวางแผนและการพัฒนาระบบ
โลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ให้ มีการขยายตัวต่อเนื่อง เพื่อให้ การท่องเที่ยวเป็ น
อุตสาหกรรมหลักที่นำรายได้ เข้ าสูจ่ งั หวัดเชียงใหม่ตอ่ ไปในอนาคต
1.2 วัตถุประสงค์
ศึกษาปั จจัยทางด้านโลจิสติกส์ที่มีผลต่อจำนวนนักท่องเที่ยวของจังหวัด
เชียงใหม่ เพื่อให้ทราบว่าปั จจัยที่จะเกิดขึน
้ จะก่อเกิดกระทบทิศทางใดโดยดู
ทัง้ ความสัมพันธ์ระหว่างกันและความเป็ นเหตุเป็ นผลของตัวแปรที่นำมา
วิเคราะห์
1.3 ขอบเขตการศึกษาวิจัย
ขอบเขตด้านประชากรศาสตร์
ประชากรกลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวไทยที่
ท่องเที่ยวที่จังหวัดเชียงใหม่ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ กลุ่มตัวอย่างจำนวน
400 ชุด 
ขอบเขตด้านเนื้อหา 
พฤติกรรมการท่องเที่ยว การเลือกใช้การขนส่งคมนาคมในการเดินทาง และ
การตัดสินใจมาท่องเที่ยวงานประเพณีสงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่
ขอบเขตด้านพื้นที่ 
ทำการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่สนใจไปงาน
ประเพณีสงกรานต์ ที่จังหวัดเชียงใหม่
1.4 คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา
การจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยวเป็ นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยจัดระบบการ
เดินทางจากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึง่ ได้ตามที่วางแผนไว้เริ่มตัง้ แต่การขนส่ง(การรับ–
ส่งจากสนามบิน) นักท่องเที่ยว สัมภาระ สิ่งของ การให้ข้อมูลข่าวสารซึ่ง
ถือว่าเป็ นการประสานงานระหว่างกิจกรรมต่างๆเพื่อทำให้การไหลของนัก
ท่องเที่ยวจากต้น ทางไปสู่ปลายทางที่ลดความข้อผิดพลาดให้น้อยที่สุดและ
ได้รับความพึงพอใจในระดับสูงสุด ลักษณะของการขนส่งนักท่องเที่ยวเป็ น
ลักษณะที่คล้ายการขนส่งสินค้า ที่เกิดขึน
้ ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น การเดินทาง
ด้วย การขนส่งทางเครื่องบิน รถไฟ เเละทางรถยนต์ มีการหยุดพักตามระยะ
ทางที่กำหนดไว้ การเคลื่อนย้ายแบบนีจ
้ ะ เป็ นการเคลื่อนย้ายที่ต้องอาศัย
การให้บริการในระหว่างทางเดินและการหยุดพักระหว่างที่รอการเดินทาง
การให้บริการต้องตอบสนองความสะดวกสบาย ข้อมูลข่าวสารที่มีความสา
คัญทุกช่วงของการเดินทาง
กรอบแนวคิดในการศึกษา

องค์ประกอบโลจิสติกส์การ
ท่องเที่ยว
-ด้านการไหลทางกายภาพ
-ด้านการไหลของสารสนเทศ ตัวแปรตาม Dependent
variable
-ด้านการให้บริการ
-ด้านสถานที่
-ด้านการส่งเสริมการตลาด
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทราบถึงพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัด
การโลจิสติกส์การท่องเที่ยวของประเพณีสงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่
2.ทราบถึงปั จจัยทางด้านโลจิสติกส์ด้านการขนส่ง การเดินทาง ว่ามี
อิทธิพลต่อจำนวนนักท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็ นแนวทางในการ
พัฒนาการท่องเที่ยวให้เกิดประสิทธิภาพ
1.6 นิยามศัพท์
ประเพณีปี๋ใหม่เมือง หมายถึง เป็ นประเพณีวันขึน
้ ปี ใหม่ของชาวล้าน
นาซึ่งจะตรงกับเดือนเมษายน ที่อยู่ในฤดูร้อนเป็ นช่วงเวลาที่มีอากาศร้อน
มาก และเป็ นช่วงเวลาว่างจากการทำไร่และเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว
เทศกาล(festival) หมายถึง วันเวลาที่กำหนดไว้เป็ นประเพณีเพื่อการ
ทำบุญ และการรื่นเริงในท้องถิ่น
วันสังขานต์ล่อง(Long Sangkhan Day)หมายถึง สงกรานต์ปี คือปี ใหม่
อย่างเดียว กล่าวคือสงกรานต์หมายถึง ได้ทงั ้ สงกรานต์เดือนและสงกรานต์ปี
วันมหาสงกรานต์(Songkran Day) หมายถึง สงกรานต์ปีอย่างเดียว
วันเนา แปลว่า "วันอยู่" คาว่า "เนา" แปลว่า "อยู่" หมายความว่าเป็ นวันถัด
จากวันมหาสงกรานต์มา ๑ วัน
วันปากเดือน(mouth of the month) หมายถึง เป็ นช่วงที่หยุดจากภาระ
หน้าที่การงาน สร้างความสมัครสมานสามัคคี เกิดความสุขอบอุ่นใน
ครอบครัว และสังคม
การจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว(Tourism Logistics Management
) หมายถึง การประยุกต์ใช้ศาสตร์ด้านการ จัดการเคลื่อนที่อย่างมีระบบ
แบบแผนอันประกอบด้วย การจัดการการเคลื่อนที่ทางกายภาพ การ
เคลื่อนที่ของสารสนเทศ และการเคลื่อนที่ทางการเงิน มาประยุกต์ใช้กับการ
จัดการท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยว(tourist) หมายถึง บุคคลที่เดินทางจากถิ่นพานักถาวรของ
ตนไปค้างคืนยังอีกสถานที่หนึ่ง อย่างน้อย 1 คืน แต่ไม่เกิน 90 วัน เพื่อ
กิจกรรมต่างๆ แต่ต้องไม่ก่อให้เกิดค่าจ้างค่าตอบแทน
สัมภาระ(baggage) หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ และเสบียงอาหารซึ่งจัด
เตรียมไว้เพื่อภาระต่าง ๆ
การขนส่ง(transportation) หมายถึง การจัดให้มีการเคลื่อนย้าย บุคคล
สัตว์สิ่งของ ด้วยเครื่องมือต่างๆและ อุปกรณ์ในการขนส่งจากที่หนึ่งไปยังอีก
ที่หนึ่ง ตามความประสงค์และเกิดอรรถประโยชน์ตามต้องการ
แบบสอบถามนักท่องเที่ยว
เรียน ท่านผู้ตอบแบบสอบถาม
กรุณาเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องว่าง หรือเติมข้อความ
ตามความเป็ นจริงเกี่ยวกับตัวท่าน ข้อมูลดังกล่าวจะใช้เพื่อประกอบการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เท่านัน
้ จึงหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าจะได้รับ
ความร่วมมือจากท่านเป็ นอย่างดี ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนีด
้ ้วย
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลส่วนบุคคล
1. เพศ ชาย หญิง
2. อายุ ต่ำกว่า 20 ปี 20-30 ปี 31-40 ปี
มากกว่า 40 ปี
3. อาชีพหลัก รับราชการ รัฐวิสาหกิจ ทำงานในภาค
เอกชน อื่นๆโปรดระบุ…..
4. การศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช.-ปวส.
ปริญญาตรี
ปริญญาโทหรือเอก
5. รายได้ต่อเดือน ต่ำกว่า 5,000 บาท 5,001-10,000 บาท
10,001-20,000 บาท 20,001-30,000 บาท
มากกว่า 30,000 บาท
6. ปั จุบันท่านทำงานหรือมีภูมิลำเนาอยู่ที่
จังหวัด……………………………………………
7. เหตุผลในการเดินทางครัง้ นี ้ พักผ่อน/ท่องเที่ยว ธุรกิจ
ปฏิบัติราชการ
ประชุม/สัมมนา ทัศนศึกษา อื่นๆ
โปรดระบุ………………
8. ลักษณะการเดินทาง มากับบริษัททัวร์ เดินทางมาเอง
อื่นๆ โปรดระบุ……………
9.
บทที่2 ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
การจัดทำงานวิจัยด้านการจัดการโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวเทศกาล
สงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่ผู้วิจัยได้ศึกษาถึงประวัติของเทศกาลสงกรานต์
ของจังหวัดเชียงใหม่ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีราย
ละเอียดดังนี ้
2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่
2.2 แนวคิดและทฤษฎี
2.2.1 โลจิสติกส์ (Logistics
2.2.2 การท่องเที่ยว (Tourism)
2.2.3 การศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
2.2.4 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ
2.2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ

2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทศกาลสงกรานต์ จังหวัดเชียงใหม่


เป็ นประเพณีที่ปรากฏในเดือนเมษายน หรือเดือน 7 เหนือ ประเพณี
ปี ใหม่เมืองเป็ นการเปลี่ยนศักราชใหม่ การเอาเดือนเมษายนเป็ นเดือนแรก
ของปี นัน
้ อยู่บนพื้นฐานของความเชื่อเรื่องการเปลี่ยนศักราชใหม่ และเป็ น
โอกาสให้สมาชิกในครอบครัวได้มาอยู่รวมกันเพื่อทำบุญตักบาตร สรงน้ำ
พระ ดำหัว เล่นน้ำ และขอพรจากผู้ใหญ่อีกด้วย สถานที่ท่องเที่ยวที่นักท่อง
เที่ยวชอบไปเที่ยว มีสถานที่สำคัญๆ ได้แก่
1 .ประตูท่าแพ
2. คูเมืองเชียงใหม่
3. วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร
4. ถนนนิมมานเหมินทร์
5. กาดสวนแก้ว
6. วัดพระธาตุดอยสุเทพ
บรรณานุกรม
ประวัติประเพณีสงกรานต์
http://event.sanook.com/day/songkran/
แผนที่จังหวัดเชียงใหม่
https://www.thai-tour.com/map/chiangmai?
province=เชียงใหม่
ประวัติจังหวัดเชียงใหม่ https://th.m.wikipedia.org/wiki/จังหวัด
เชียงใหม่
ปั ญหาในจังหวัดเชียงใหม่
http://thaifranchisedownload.com/dl/group37_6354_20131
227164611.pdf
นิยามคำศัพท์ https://dict.longdo.com/mobile/

You might also like