You are on page 1of 33

จรรยาบรรณของผู้ประกอบการ

การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัย
การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรอย่างปลอดภัย
เกี่ยวข้องต่อใครบ้าง?
1. ผู้ผลิต / ผู้จาหน่าย
2. เกษตรกรผู้ใช้
3. ผู้บริโภค ผ่านผลผลิตทางการเกษตร
4. สิ่งแวดล้อม
จรรยาบรรณของผู้ประกอบการ คืออะไร?

จรรยาบรรณ คือความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการ
งานแต่ละอย่างกาหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ
ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิกอาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
หรือไม่ก็ได้
จรรยาบรรณที่ถูกกาหนดโดย FAO

สารป้องกันกาจัดศัตรูพืช มีบทบาทสาคัญในการลดความสูญเสียของพืชที่
เกิดจากศัตรูพืช หากการใช้สารฯ ที่ไม่ถูกต้อง หรือผิดวิธี อาจมีผลกระทบร้ายแรง
ต่อสุขภาพของมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม การเพิ่มผลผลิตอาหารจึงมีความจาเป็นต้อง
เปลี่ยนไปสู่แนวทางที่มีความยั่งยืนมากขึ้น โดยยังต้องคงผลผลิตให้สูงขึ้น ใน
ขณะเดียวกันก็ช่วยปกป้องเกษตรกร ผู้บริโภค และระบบนิเวศน์ จากผลกระทบที่จะ
เกิดการใช้สารป้องกันกาจัดศัตรูพืช มาตรการลดความเสี่ยงจึงเป็นสิ่งจาเป็น
(องค์การอาหารและเกษตรและแห่งประชาชาติ 2559)
การปฏิบัติอย่างรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์
เพื่อให้มั่นใจว่า การจัดการอย่างมีความรับผิดชอบและมีจริยธรรมต่อผลิตภัณฑ์สารป้องกันกาจัดศัตรูพืช
(วัตถุอันตรายทางการเกษตร) ตั้งแต่การค้นพบไปจนถึงการใช้และหลังจากนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและลดอันตราย
จากการใช้ให้เหลือน้อยที่สุด

ความมั่นคงอาหาร

สุขภาพของ
เศรษฐกิจของประเทศ
ประชาชน

ความปลอดภัย
การค้าระหว่างประเทศ สังคม
ของอาหาร

ผู้ประกอบการ รัฐบาล
จรรยาบรรณของผู้ประกอบการ
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย

1.ผู้จาหน่ายสารวัตถุอันตรายทางการเกษตรต้องผ่านการอบรมและมีใบอนุญาตจากภาครัฐ
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย
2. การจัดวางวัตถุอันตรายทางการเกษตร ต้องแยกออกจากสินค้าอุปโภค บริโภค อื่นๆ อย่างชัดเจน
เพื่อป้องกันการปนเปื้อนโดยอุบัติเหตุ หรือ การหยิบผิด

จัดภายในร้านให้มีระบบถ่ายเท
อากาศที่ดี
จัดวางให้เป็นระเบียบ
ไม่ขวางทางเดิน
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย : การจัดร้าน
ติดตั้งเครื่องหมาย คาเตือน
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย : การจัดร้าน
จัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิง และ ซักซ้อม
จัดเตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย : การจัดร้าน
จัดเตรียมอุปกรณ์
เก็บกวาด ดูดซับ
ในกรณีที่เกิดการหก
แตก รั่วไหล

จัดหา สบู่ น้า ผ้า


สาหรับชาระล้าง
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย : การจัดร้าน
คลังสินค้าหรือโกดัง
• เลือกทาเลให้เหมาะสม
ห่างจากแหล่งน้า ที่สูง น้าไม่ท่วม
ห่างชุมชน เข้าและออกสะดวก
• เลือกวัสดุก่อสร้างให้เหมาะสม
• ออกแบบการก่อสร้างให้เหมาะสม
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย : การขนส่ง
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย
3. จาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้อง
และอยู่ในภาชนะบรรจุเดิม (ไม่มีการแบ่งบรรจุ)
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย
4. ต้องหาซื้อวัตถุอันตรายทางการเกษตรจากบริษัท
หรือผู้แทนจาหน่ายที่ได้รับอนุญาตและน่าเชื่อถือ

Cr.กรุ งเทพธุรกิจ
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย
5. มีข้อมูลเกี่ยวความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายทางการเกษตร
และการรักษาพยาบาลที่เหมาะสม (MSDS)

สามารถขอได้จาก บริษัทผู้ผลิต /ผู้จาหน่าย


จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย
6. ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลและจัดหาเพื่อ
แจกจ่ายหรือจาหน่ายในราคาที่เหมาะสม
จรรยาบรรณของผู้จาหน่าย
7. ควรมีจุดบริการในการเก็บและกาจัดซากบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้ว
เกษตรกรปลอดภัย
เกษตรกรปลอดภัย : การเลือกซื้อวัตถุอันตรายของเกษตรกร
 ซื้อสินค้าที่ขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตร
(ไม่ซื้อสินค้าที่อ้างว่าเป็นสูตรพิเศษ หรือราคาถูกจนน่าสงสัย)
 มีเลขทะเบียนวัตถุอันตรายถูกต้อง
(ตรวจสอบได้จากแอพพลิเคชั่น DoA Agri Factor)
 ซื้อจากร้านที่น่าเชื่อถือ มีใบอนุญาตถูกต้อง
(หรือร้าน Q-Shop ไม่ซื้อจากรถเร่หรือพ่อค้าเร่ที่ขายตรงลดแลกแจกแถม
 อ่านฉลาก ศึกษาคุณสมบัติ
(ดูซื่อสามัญ ประโยชน์และวิธีใช้ให้ถูกต้องก่อนตัดสินใจซื้อ)
 ซื้อในปริมาณที่พอเหมาะกับการใช้
 ดูวันที่ผลิต ไม่ควรเกิน 2 ปี
 สภาพภาชนะสมบูรณ์
 สารเคมีไม่เสื่อมคุณภาพ
 ไม่ซื้อสารที่แบ่งขายหรือถ่ายลงภาชนะอื่น
 ไม่เป็นสารที่ห้ามนาเข้า ผลิต หรือห้ามจาหน่าย
(เช่น พาราควอต คลอร์ไพรีฟอส โมโนโครโตฟอส เมทามิโดฟอส เอนโดซัลแฟน พาราไธออน เป็นต้น)
เกษตรกรปลอดภัย : อ่านและทาความเข้าใจฉลากวัตถุอันตราย
เกษตรกรปลอดภัย : การใช้อย่างไม่ถูกต้องและไม่ปลอดภัย
เกษตรกรปลอดภัย : การใช้วัตถุอันตายทางการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัย
เกษตรกรปลอดภัย : การใช้วัตถุอันตายทางการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัย

อุปกรณ์ป้องกันสารวัตถุอันตรายทางการเกษตร
ผลผลิตปลอดภัย
ผลผลิตปลอดภัย : การเว้นระยะก่อนเก็บเกี่ยว

การเว้นระยะก่อนเก็บเกี่ยว Pre-harvest interval ; PHI คือ ระยะเวลาตั้งแต่


ฉีดพ่นสารป้องกันกาจัดศัตรูพืชครั้งสุดท้ายจนถึงวันเก็บเกี่ยว หรือระยะหยุดพ่นสาร
ป้องกันกาจัดศัตรูพืชก่อนเก็บเกี่ยว เนื่องจากสารเคมีบางชนิดมีคุณสมบัติความคงทนสูง
มีการตกค้างอยู่ในพืชได้นานหลังจากการฉีดพ่นสารเคมี ถ้ามีปริมาณสารเคมีตกค้าง
เกินค่าความปลอดภัย อาจทาให้เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้
ดังนั้นเกษตรกรไม่ควรฉีดพ่นสารเคมีในระยะเวลาที่ใกล้เก็บเกี่ยว
เก็บเกีย่ ว
ระยะหยุดพ่ นสาร
ก่ อนเก็บเกีย่ ว (PHI)
สิ่งแวดล้อมปลอดภัย
สิ่งแวดล้อมปลอดภัย : การล้าง 3 ครั้ง
สิ4.่งแวดล้
สิ่งแวดล้
อมปลอดภั
อม : การจั
ย :ดการล้
การซากบรรจุ
าง 3 ครั้งภัณฑ์
สิ4.่งแวดล้
สิ่งแวดล้
อมปลอดภั
อม : การจั
ย :ดการเก็
การซากบรรจุ
บรักษาวัภตัณถุอฑ์ันตราย

ที่เก็บรวบรวม ภาชนะบรรจุสารป้องกันกาจัดศัตรูพืช ที่ใช้หมดแล้ว และผ่าน


การล้าง 3 ครั้ง ก่อนนาไปกาจัดด้วยกระบวนการที่เหมาะสม ต่อไป
ขอบคุณครับ / ค่ะ

You might also like