You are on page 1of 4

การประเมิน Competency pain (Version.

Vajira Hospital)

FCc : การจัดการความปวด
คำจำกัดความ : พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถในการประเมินปั ญหา/ความต้องการ การวางแผนและให้การพยาบาลผู้ป่วยที่มีค
อย่างครอบคลุมแบบองค์รวม ได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการของผู้ป่วยแต่ละรายอย่างมีประสิทธิภาพ

ดับความสามารถคำอธิบายระดับขีดความสามารถ พฤติกรรมบ่งชี ้
1 มีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่ว £ มีความรู้เรื่องการบริหารจัดการความปวด > 60%
£ ปฏิบัติตามแนวทางการจัดการความปวดได้ถูกต้องภายใต้การนิเทศงานของพยา
Basic leve และบรรเทาความทุกข์ทรมานให้ผู้ป่วยได
0-1 ปี ถูกต้องเหมาะสมภายใต้การนิเทศงานของ
£ สามารถใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดได้ถ ูกต้องภายใต้การนิเทศงานของ
(ภายใต้การกำกับดูแล) £ สามารถบริหารยาแก้ปวดได้ถูกต้องตามแผนการรักษาภายใต้การนิเทศงานของพ
£ สามารถให้การพยาบาลเพื่อบบรเทาปวดโดยไม่ใช้ยาภายใต้การนิเทศงานของพยา
£ สามารถประเมินความปวดซ้ำและบันทึกผลลัพธ์หลังให้การพยาบาลได้ถ ูกต้องภา
ของพยาบาลพี่เลีย
้ ง
2 มีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่ว £ มีความรู้เรื่องการบริหารจัดการความปวด > 70%
£ ปฏิบัติตามแนวทางการจัดการความปวดได้ถูกต้องด้วยตนเอง
Doing level และบรรเทาความทุกข์ทรมานให้ผู้ป่วยได
>1-3 ปี ถูกต้องเหมาะสมด้วยตนเอง £ สามารถใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดได้ถ ูกต้องด้วยตนเอง
£ สามารถบริหารยาแก้ปวดได้ถูกต้องตามแผนการรักษาได้ด้วยตนเอง
£ สามารถให้การพยาบาลเพื่อบบรเทาปวดโดยไม่ใช้ยาได้ถ ูกต้องด้วยตนเอง
£ สามารถประเมินความปวดซ้ำและบันทึกผลลัพธ์หลังให้การพยาบาลได้ถ ูกต้องด้ว
ดับความสามารถคำอธิบายระดับขีดความสามารถ พฤติกรรมบ่งชี ้
3 มีขีดความสามารถในระดับที่ 2 และ £ มีความรู้เรื่องการบริหารจัดการความปวด > 80%
สามารถวางแผนในการบริหารจัดการคว£ สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตาม
eveloping level
>3-5 ปี เหมาะสมกับผู้ป่วยในแต่ละราย £ สามารถนำความรู้เรื่องการบรรเทาปวดโดยวิธีการใช้ยาและเลือกวิธีการบรรเทาป
มาใช้ในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4 มีขีดความสามารถในระดับที่ 3 และ £ สามารถสอน เป็ นพี่เลีย
้ ง / ที่ปรึกษาทีมในการบริหารจัดการความปวดได้ภายในห
Advanced level
เป็ นแบบอย่างที่ดีในด้านการบริหารจ £ สามารถนำความรู้ในการจัดการความปวดมาพัฒนาคุณภาพบริการ เช่น นวัตกรร
>5-10 ปี พัฒนาแนวทางการจัดการความปวด
£ เป็ นแบบอย่างด้านการบริหารจัดการความปวด
5 พัฒนาการบริหารจัดการความปวด สร้า£
ง สามารถใช้หลักฐานเชิงประจักษ์หรือนำมาปรับใช้ในการจัดการความปวดได้อย่าง
Expert level £ สามารถสร้างงานวิจัย / R2R
>10 ปี £ สามารถสอน / เป็ นที่ปรึกษาทีมในการบริหารจัดการความปวดได้ภายนอกหน่วย
£ สามารถสร้างเครือข่ายและเทียบเคียงคุณภาพการจัดการความปวดได้
ของพยาบาลพี่เลีย
้ ง
งานของพยาบาลพี่เลีย
้ ง
นของพยาบาลพี่เลีย
้ ง
ของพยาบาลพี่เลีย
้ ง
กต้องภายใต้การนิเทศงาน


กต้องด้วยตนเอง
ะสมตามกลุ่มผู้ป่วย
รรเทาปวดโดยไม่ใช้ยา

ด้ภายในหน่วยงาน
นวัตกรรม

ดได้อย่างเหมาะสมตามกลุ่มผู้ป่วย

อกหน่วยงานได้

You might also like