You are on page 1of 110

ถาม-ตอบ

ขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1
โดย
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย
(ออสเตรเลียและนิวซีแลนด)
Dhammachai International Research
Institute of Autralia and New Zealand (DIRI)

พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558 2,000 เลม


พิมพครั้งที่ 2 พ.ศ. 2558 3,000 เลม

ISBN 978-0-9923869-5-5

พิมพที่ : สำนักพิมพเลีย่ งเชียง เพียรเพือ่ พุทธศาสน


โทร. 02-872-9897-8 โทรสาร 02-872-9891
2 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

โอวาท
สิ่ ง ที่ ต อ ง ค น ค ว า อี ก
ประการหนึ่ง ซึ่งเปนความหวัง
ของหลวงพอมายาวนานหลาย
สิบปทเี ดียว คือ คำวา ธรรมกาย
ที่ ยั ง มี ป รากฏอยู ต ามคั ม ภี ร
ตางๆ แลวถูกเก็บเอาไวตามภาษาตางๆ กระจัดกระจายกันไปทั่วโลก
อยูประเทศโนนบางประเทศนี้บาง บางประเทศก็นับถือพระพุทธศาสนา
บางประเทศก็ไมใช อยางเชนที่อังกฤษ เมื่อไปปกครองในอินเดีย ก็ได
รวบรวมคัมภีรอะไรตางๆ กลับประเทศอังกฤษ
เพราะฉะนั้น ยังมีสิ่งที่เกี่ยวของกับคำวา ธรรมกาย ซึ่งเปนคำสอน
ดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจาที่กระจัดกระจายไปตามภาษาตางๆ
ถู ก เก็ บ ไว เ ป น ภาษาบาลี ก็ ยั ง มี อี ก มาก เป น สิ่ ง ที่ ห ลวงพ อ อยากจะให
ผูที่จบเปรียญธรรม 9 ประโยคแลวนะ ไดไปศึกษาตอ คนควา จะใน
ภาคภาษาบาลีอยางที่ตัวไดศึกษามาก็ตาม หรือภาษาอื่น เพื่อที่จะไดไป
คนควา คำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจาที่เกี่ยวของกับคำวา
ธรรมกาย
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 3

เนื่องจากวา นักวิชาการเปน ผูที่มีพลังและอานุภาพมากสำหรับ


ชาวโลก ถานักวิชาการไดพูดอะไรออกไป มีหลักฐานอางอิงพอที่จะชวน
เชื่ อ ถื อ ได ชาวโลกซึ่ ง ไม มี เ วลาจะมาศึ ก ษาพระธรรมคำสอนของ
พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ก็ จ ะเชื่ อ ในสิ่ ง ที่ นั ก วิ ช าการทั้ ง หลายของโลก
ไดกลาวไวหรือพูดเอาไวตามที่ตางๆ
ถาหากวา เราสามารถมีหลักฐานอางอิงเกี่ยวกับคำสอนดั้งเดิม
ของพระพุ ท ธเจ า เนื่ อ งมากั บ วิ ช ชาธรรมกายด ว ยแล ว เราก็ จ ะได เ อา
หลักฐานนี้ไปแสดง ไปเปดเผยใหนักวิชาการทั้งหลายในโลกนี้ไดรูไดเห็น
ไดรับทราบ และก็ยอมรับในสิ่งที่เราไดคนควาออกมาอยางมีเอกสาร
อางอิง ซึ่งตรงจุดนี้แหละจะเปนประโยชนตอมวลมนุษยชาติ
เมือ่ เราไดนำหลักฐานอางอิงเกีย่ วกับเรือ่ งธรรมกายนีไ่ ปใหนกั วิชาการ
เขายอมรับได และเขาไดประกาศออกไป นั่นก็แสดงวา ชาวโลกก็พรอม
ที่จะไดรับคำสอนเกี่ยวกับเรื่องวิชชาธรรมกาย ซึ่งเปนวิชชาหลักสำคัญ
ของชีวิตมนุษย เปนหลักของโลก เพราะหลวงพอก็เชื่อเหมือนเดิมวา
สันติภาพของโลกนั้นเกิดขึ้นไดอยางแนนอน จากการที่ทุกคนไดเขาถึง
สันติสุขภายใน ซึ่งรวมประชุมอยูในธรรมกายในกลางกายของมนุษย
ทุ ก ๆ คน ความเชื่ อ อย า งนี้ ไ ม เ คยหลุ ด จากใจหลวงพ อ ไปเลย และ
หลวงพอก็เชื่อวา ในยุคเราสมัยเรานี่แหละ เรานี่แหละที่จะทำสิ่งนี้ใหมัน
ปรากฏเกิดขึ้นมา
มันเปนภารกิจอันยิ่งใหญที่ติดตัวเรามาขามชาติ จนกระทั่งชาติ
นี้แหละ ที่มาเกิดก็เพื่อการนี้ เพื่อที่จะบอกกับชาวโลกใหรูวา ในตัวเขา
มีสิ่งที่ดีงาม สิ่งที่เขาแสวงหาอยูคือธรรมกาย เรามาเพื่อการนี้ ถาหาก
เราไมทำสิ่งนี้ก็ไดชื่อวาเราไดทำผิดหนาที่ ไมไดปฏิบัติภารกิจของเรา
ใหบรรลุวัตถุประสงคของการมาเกิด
พระเทพญาณมหามุนี วิ. (ไชยบูลย ธมฺมชโย)
องคสถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI)
4 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

สาสน
ความไมรู คือ อวิชชา เปนอันตรายตอชีวิต เพราะทำใหเราดำเนิน
ชีวิตผิดพลาดได ในทำนองเดียวกัน การศึกษาเกี่ยวกับธรรมปฏิบัติวา
พระสั ม มาสั ม พุ ทธเจาทรงตรัสรูดวยวิธีการใด และจากนั ย ของคำว า
“ธรรมกาย” ที่ ท รงแสดงไว ใ นพระพุ ท ธดำรั ส ว า “ตถาคตสฺ ส เหตํ
(วาเสฏฐา) อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติป เราตถาคตคือธรรมกาย” และ
“โย โข (วกฺกลิ) ธมฺมํ ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นเรา
ตถาคต” ไดทำใหพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพอ
ธั ม มชโย) ตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของธรรมกายต อ การตรั ส รู ธ รรม
และปรารถนาใหผูคนไดเขาใจความหมายและที่มาของ “ธรรมกาย”
อยางถูกตอง เพื่อการดำเนินชีวิตอยางปลอดภัยและมีชัยชนะคือการ
หลุดพนจากวัฏฏสงสารในที่สุด ทานจึงมีดำริใหทีมงานนักวิจัยมารวมกัน
ศึกษาและทำความจริงใหปรากฎ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 5

คณะนักวิจัยสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ซึ่งไดรับมอบหมาย
จากพระเดชพระคุณหลวงพอฯ จึงไดทุมเทศึกษา ฝกฝนตนเอง และ
ทำงานสืบคนหลักฐาน รวมเปนระยะเวลากวา 13 ป ดังที่ไดรวบรวม
ผลงานวิจัยจัดพิมพเปนรูปเลมถวายแดพระสังฆาธิการกวา 30,000 วัด
ทั่วประเทศไปแลวในปที่ผานมา แตงานวิจัยก็มิไดสิ้นสุดเพียงเทานั้น
หากยังดำเนินตอไปและมีผลงานเพิ่มเติมออกมาอยางตอเนื่องเปนระยะ
ในโอกาสที่พระเดชพระคุณหลวงพอมีอายุวัฒนมงคลได 71 ป
ซึ่งตรงกับวันคุมครองโลก 22 เมษายน พ.ศ. 2558 และโดยที่การ
คุมครองโลกก็ตองอาศัยธรรมขององคพระสัมมาสัมพุทธเจาจึงจะทำให
โลกสงบรมเย็นได คณะนักวิจัยและคณะกรรมการจึงพรอมใจกันจัด
งานเสวนาทางวิชาการ “หลักฐานวิชชาธรรมกายในคัมภีรพุทธโบราณ
ครั้งที่ 2” นี้ขึ้น เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับธรรมกายตาม
ผลงานที่ไดวิจัยมา โดยอาศัยหลักฐานจากแหลงขอมูลปฐมภูมิที่คนพบ
ไม ว า จะเป น ศิ ล าจารึ ก เปลื อ กไม ใบลาน พั บ สา หรื อ โอวาทของ
พระมหาเถรานุ เ ถระในยุ ค ก อ นๆ ที่ ไ ด บั น ทึ ก เอาไว ใ ห อ นุ ช นรุ น หลั ง
ไดศึกษา
ขอความสุขสวัสดีจงมีแดทานผูสนับสนุนการจัดงานและผูเขารวม
การเสวนาทุกทาน ขอใหทุกทานจงมีสัมมาทิฐิ มีความเจริญทั้งทางโลก
และทางธรรม สมบูรณพรอมดวยอายุ วรรณะ สุ ข ะ พละ ปฏิ ภ าณ
ธนสาร บริวาร สมบัติ เทอญ
พระครูวิเทศสุธรรมญาณ วิ.
ประธานอำนวยการ
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย
6 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

สารบัญ

โอวาท 2
สาสน 4
ถาม & ตอบ ขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 7
“ธรรมกาย” กายแหงการตรัสรูธรรม 8
วิชชาธรรมกาย 22
ศูนยกลางกาย 44
เห็นธรรม - ติดนิมิต 46
การปฏิบัติธรรมแบบเห็นพระ 61
ปกิณกะ 66
การบูชาขาวพระ 66
ที่มาของพุทธศิลปวัดพระธรรมกาย 72
บรรณานุกรม 77
ประวัติ 81
โครงการสืบคน “หลักฐานธรรมกายในคัมภีรพุทธโบราณ” 95
คณะกรรมการที่ปรึกษาและอุปถัมภ
“โครงการวิจัยสืบคนคำสอนดั้งเดิมฯ”
ตั้งแตปพ.ศ.2547 จนถึงปจจุบัน 99
รายชื่อเจาภาพกองทุนกิตติมศักดิ์พิเศษ 100
ถาม
&
ตอบ
ขอสงสัยเรื่องธรรมกาย
8 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

“ธรรมกาย” กายแหงการตรัสรูธรรม
1. ถาม : ธรรมกายคืออะไร ?
1. ตอบ : คำวา ธรรมกาย มีหลายความหมายดวยกัน
1. ตามความในอัคคัญญสูตร แหงทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อาจ
หมายถึงพระเนมิตกนาม1 ของพระสัมมาสัมพุทธเจาที่เกิดขึ้นในเวลาที่
ทรงตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
2. ศัพทานุกรมพุทธศาสนาภาษาจีน2 ไดอธิบายคำวา ธรรมกาย
(พระธรรมกาย, กายธรรม, 法身) วาเปนกายแหงการตรัสรูธรรม คือ
กายที่สำเร็จ (ตรัสรู) พุทธธรรม3” เปนสภาวธรรมภายในที่มีมาแตดั้งเดิม
สถิตอยูภายในใจ4 ของมนุษยทุกคน ผูปฏิบัติสามารถเขาถึงได5 และเห็น
ได6 ดวยใจที่บริสุทธิ์พระโพธิสัตวผูเขาถึงธรรมกาย7 เปนผูเขาถึงสัจธรรม
อันสูงสุด ดำรงอยูในสภาวะที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมกาย จึงจัด
เปนพระโพธิสัตวที่อยูในภูมิธรรมขั้นสูงสุด

1
เนมิตกนาม คือชื่อที่เกิดขึ้นเองตามเหตุ ตามลักษณะ หรือคุณสมบัติ เชน พระสุคต คือ
ผูเสด็จดำเนินไปดีแลว พุทธะ คือ ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานแลว เปนตน
2
Wu Rujun 吳汝鈞, Fojiao sixiang da cidian 佛教思想大辭典 (Taiwan shangwu yin
shuguan 臺灣商務印書館, 1992), 313.
3
法身即事成就佛法的身體.
4
心中之佛. ibid.
5
證得法身. ibid.
6
見證 .
7
菩薩已證得法身, 法身菩薩 . ibid.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 9
ธรรมกายเป น ธรรมขั น ธ อั น ประกอบด ว ย ศี ล , สมาธิ ,
ปญญา, วิมุติ, และวิมุติญาณทัสนะ มีคุณสมบัติสี่อยางคือ ความเปน
นิจจัง สุขัง อัตตา และบริสุทธิ์8 มีลักษณะกายมหาบุรุษครบถวน ๓๒
ประการ9 มีความบริสุทธิ์ ใส สวาง ประดุจเพชร [หรือยิ่งกวา] ในคัมภีร
โบราณหลายแหงเรียก “ธรรมกาย” ในชื่อตางๆ เชน พุทธรัตนะ (寶佛)10
ธรรมกายแกว (琉璃法身)11 กายแกว (CRYSTAL BODY 琉璃身)
วัชรกาย (Daimond Body, 金剛身)12 สัจจกาย (Truth Body, 真身)13
นามกาย (名身)14 พุทธภาวะ (佛性)15 ตถาคตครรภะ (如來藏)16
8
Li Zhifu 李志夫, Mo he zhi guan zhi yan jiu 摩訶止觀之硏究 (Taipei : Dharma
Drum Publishing Corp, 2001), 230.
9
Jiu mo luo she 鳩摩羅什, trans., “Miaofa Lianhua Jing 妙法蓮華經 T9” (Tokyo),
T9.35b : 29, accessed May 9, 2015, http://21dzk.l.u-tokyo.ac.jp/SAT/ddb-bdk-
sat2.php?lang=en.
10
Wu Rujun 吳汝鈞, Fojiao sixiang da cidian 佛教思想大辭典, 313.
11
Hong Qisong 洪啓嵩, Mizong xiuxing yaozhi : Zong she mi fa de genben yaoyi
密宗修行要旨 : 總攝密法的根本要義 (Taipei : Buddhall Cultural / 全佛, 2007),
358.
12
Buddhistdoor 佛門網, “Jingang Shen 金剛身,” Buddhist Glossary 佛學辭彙,
accessed May 9, 2015, http://dictionary.buddhistdoor. com/en/word/30323/
%E9%87%91%E5%89%9B%E8%BA%AB.
13
Charles Muller, ed., “法身 | Dharma-Body,” Digital Dictionary of Buddhism
電子佛教辭典 (Tokyo: Charles Muller), accessed May 9, 2015, http://buddhism-
dict.net/cgi-bin/xpr-ddb.pl?q=%E6%B3%95%E8%BA%AB.
14
Ding Fubao 丁福保, “Fashen 法身,” Foxue Da Cidian 佛學大辭典, accessed May
9, 2015, http://buddhaspace.org/dict/dfb/data/%25E6%25B3%2595%25E8%
25BA%25AB.html.
15
Buddhistdoor 佛門網, ed., “Fo Xing 佛性,” Buddhist Glossary 佛學辭彙 (Hong
Kong : Buddhistdoor 佛門網 ), accessed May 9, 2015, http://dictionary.
buddhistdoor.com/search.
16
Buddhistdoor 佛門網, ed., “Rulai Cang 如來藏,” Buddhist Glossary 佛學辭彙
(Hong Kong : Buddhistdoor 佛門網), accessed May 9, 2015, http://dictionary.
10 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

พระมงคลเทพมุนีกลาววา การเห็นธรรมกายจะเกิดขึ้นไดตอเมื่อผู
ปฏิบัติฝกใจใหหยุดนิ่งถูกสวนตรงศูนยกลางกาย17 ใจที่หยุดนิ่งสนิทได
นั้น จะมีสภาวะที่วางเปลา เปนสุญตา (บ.สุฺญตา, ส.ศูนฺยตา) คือ
ปราศจากความคิดปรุงแตง และปราศจากนิวรณธรรมทั้งปวง18
2. ถาม : ธรรมกายที่กลาวถึงในวิชชาธรรมกายคืออะไร ตรงกัน
กับที่พระพุทธเจาตรัสไวหรือไม และเปนคำสอนของ
พระพุทธศาสนาหรือไม ?
2. ตอบ : ธรรมกาย ในวิชชาธรรมกาย หมายถึง กายแหงการตรัสรู
ธรรม คือกายของพุทธะ ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน ตรงกันกับที่พระสัมมา-
สัมพุทธเจาตรัสไวในอัคคัญญสูตรวา “ธรรมกายเปนชื่อของตถาคต”19
และในวักกลิสูตรวา “ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นเรา”20
ธรรมกายเป น คำสอนของพระพุ ท ธศาสนา และมี ก ล า วถึ ง ใน
พระพุทธศาสนาทุกนิกาย
3. ถาม : ทำไมจึงบอกวา ธรรมกายเปนกายแหงการตรัสรูธรรม
มีหลักฐานหรือไม ?
3. ตอบ : มีหลักฐานอยูในพระไตรปฎก อรรถกถา และฎีกาบาลี
รวมทั้งคัมภีรทองถิ่นตางๆ ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติสมาธิภาวนา และยังมี
หลักฐานอยูในคัมภีรเกาแกของพระพุทธศาสนาในภาษาอื่นๆ ดวย

17
“ทางมรรคผลนิพพาน” หนา 215–219.
18
มหาสุญญตสูตร. ม. อุ. 14/343-356/234-245.
19
ที. ปา. 11/55/91-2.
20
สํ. ข. 17/216/147.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 11

4. ถาม : ขอตัวอยาง ธรรมกายที่หมายถึงกายแหงการตรัสรูธรรม


ในพระไตรปฎกบาลีดวย ?
4. ตอบ : ในพระไตรปฎกบาลี พบคำวา ธรรมกาย 4 แหง เปน
พุทธพจน 1 แหง คือในอัคคัญญสูตรที่บอกวา ธรรมกายเปนพระนาม
หนึ่งของพระตถาคต และอีก 3 แหงพบในคัมภีรอปทานที่กลาวถึงความ
เปนมาของพระปจเจกพุทธเจา และภิกษุ-ภิกษุณีอรหันต
ในอัคคัญญสูตร ซึ่งเปนพุทธพจนโดยตรงนั้น พระพุทธองคตรัสกับ
สามเณร 2 รูปที่เคยเปนพราหมณแลวมาบวชวา พระสงฆสาวกแมจะมา
จากตางชาติตระกูลกัน แตเมื่อไดออกจากเรือน บวชเปนสมณะ ทั้งหมด
ก็ไดชื่อวาเปนศากยบุตรเหมือนกัน ทั้งนี้เพราะอริยสาวก21 ยอมไดชื่อวา
เปนบุตร เปนโอรสของพระผูมีพระภาคเจา ผูเกิดจากพระโอษฐ เกิดจาก
ธรรม เปนผูที่ธรรมเนรมิตขึ้น เปนทายาทแหงธรรม เพราะพระพุทธองค
ทรงพระนามวา “ผูมีธรรมเปนกาย” (ธรรมกาย) หรือจะเรียกวา “ผูมี
พรหมเปนกาย” (พรหมกาย) “ผูที่เปนธรรม” (ธรรมภูต) หรือ “ผูที่เปน
พรหม” (พรหมภูต) ก็ได
ใครก็ตามที่มีศรัทธาตั้งมั่นในพระตถาคต หยั่งรากลึก มั่นคง
โดยที่สมณะ พราหมณ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆ ในโลก
ไมอาจทำใหกลับกลายได ควรเรียกผูนั้นวา เปนบุตร เกิดแต
พระอุระ เกิดแตพระโอษฐของพระผูมีพระภาคเจา เปนผูเกิด

21
หมายถึงผูบรรลุธรรมตั้งแตชั้นโสดาบันขึ้นไป ไดรูแจงเห็นจริงในธรรมดวยตนเอง จึงหมด
ความสงสัยในธรรม และจึงมีศรัทธาที่มั่นคงในพระผูมีพระภาคเจา โดยไมมีสิ่งใดมาทำให
กลั บ กลายหรื อ คลอนแคลนได จึ ง นั บ ว า เป น ผู ส ามารถตั ด กิ เ ลสคื อ ความลั ง เลสงสั ย
(วิจิกิจฉา) ไดโดยสิ้นเชิงดวยอริยมรรค
12 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

จากธรรม เปนผูท ธี่ รรมเนรมิตขึน้ เปนทายาทแหงธรรม ถามวา


ทำไม ? ก็เพราะคำวา ธรรมกาย พรหมกาย ธรรมภูต หรือ
พรหมภูต ก็ตาม ลวนเปนชื่อของตถาคต22
ในพุทธพจนนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงเรียกพระองคเองวาเปน
“ธรรม” โดยเปรียบเทียบกับ “พรหม” ในทัศนะของพราหมณที่เชื่อวา
พรหมเปนพระบิดาผูเนรมิตสรรพสิ่งใหเกิดขึ้น ดังนั้น “ธรรม” ในที่นี้
จึงมีหนาที่ “ใหกำเนิด” ซึ่งในพระพุทธศาสนาหมายถึงการทำใหเกิดใหม
ในอริยภูมิ เปลี่ยนจากปุถุชนเปนอริยบุคคลซึ่งก็คือธรรมที่ทำใหตรัสรู
ดังนัน้ สมญานาม ธรรมกาย ในพระสูตรนีจ้ งึ มีความหมายวา พระพุทธองค
ทรงมี “ธรรมทีท่ ำใหตรัสรู” เปนกายของพระองค ธรรมกาย ในอัคคัญญสูตร
จึงหมายถึง “กายแหงการตรัสรูธรรม”
สวนในคัมภีรอปทาน ที่พบคำวาธรรมกายนั้น มี 3 แหง
1. แห ง แรกกล า วถึ ง พระป จ เจกพุ ท ธเจ า ทั้ ง หลายว า เป น ผู มี
ธรรมกายมาก23 เนื้อหาบอกวาพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายมีคุณธรรม
และคุณวิเศษตางๆ ในแงของความบริสุทธิ์ ความเพียร ปญญา และ
คุณสมบัติที่เกี่ยวของกับการตรัสรูและการหลุดพน ซึ่งแสดงถึงความ
เปนเลิศของทานที่ทำใหตรัสรูดวยตนเองไดโดยไมตองมีครู พบขอความ
วา “มีธรรมใหญ มีธรรมกายมาก” อยูรวมกับคุณสมบัติเหลานั้นดวย
22
ที. ปา. 11/55/91-2.
23
“ปราชญเหลาใด มีศีลและปญญาบริสุทธิ์อยางยิ่ง มีจิตตั้งมั่น พากเพียร เห็นแจงธรรม
อันวิเศษ รูแจงธรรมอันประกอบดวยองคแหงมรรคและองคแหงการตรัสรู หมั่นเจริญวิโมกข
ทั้ ง สาม ไม เ ข า ถึ ง ความเป น สาวกในศาสนาของพระชิ น เจ า ย อ มตรั ส รู ด ว ยตนเองเป น
พระปจเจกชินเจา ทานเหลานั้นมีธรรมยิ่งใหญ มีธรรมกายมาก มีจิตเปนอิสระ ขามพน
หวงทุกขทั้งปวงได มีจิตแชมชื่นเบิกบาน มองเห็นประโยชนอันสูงสุด แกลวกลาดุจราชสีห
และเที่ยวไปลำพังดังนอแรด” ขุ. อป. 32/2/20.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 13

บ ง บอกว า “ธรรม” ในที่ นี้ ก็ เ ป น ธรรมที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การตรั ส รู ธ รรม
นั่นเอง ดังนั้น ธรรมกาย ในขอความนี้จึงหมายถึงกายแหงการตรัสรู
ธรรมอีกเชนกัน
2. อีกคัมภีรหนึ่งเปนถอยคำของพระมหาปชาบดีโคตมีเถรีผูเปน
พระมาตุจฉาของพระพุทธองคเมื่อครั้งทรงเปนเจาชายสิทธัตถะ ในวาระ
ที่ทานมากราบทูลลาพระพุทธองคเพื่อจะปรินิพพานไปกอน ทานได
กล า วสรรเสริ ญ พระพุทธองควา พระองคทรงเป น บิ ด าในทางธรรม
ผูประทานความสุขจากพระสัทธรรม ใหทานไดเกิดใหม ทั้งยังทรงบำรุง
เลี้ยง ธรรมกายของทานใหเติบโตขึ้น และยังเปรียบเทียบวา แมตัวทาน
ไดชื่อวาเปน มารดา ผูเลี้ยงดู รูปกาย ของพระพุทธองคใหเติบใหญ
ก็ ต าม น้ ำ นมที่ ท า นป อ นก็ ส ามารถดั บ ความกระหายได เ พี ย งชั่ ว ครู
แตพระพุทธองคไดทรงประทานน้ำนมคือธรรมอันสงบระงับอยางยิ่ง
แกทาน... ดวยเหตุนี้ พระพุทธองคจึงมิไดเปนหนี้ทานเลย มีขอความ
ที่เกี่ยวของดังนี้
ขาแตพระสุคต หมอมฉันเปนมารดาของพระองค ขาแตพระธีรเจา
พระองคทรงเปนบิดาของหมอมฉัน ขาแตพระโคดมผูเปนที่พึ่ง
ผูประทานความสุขอันเกิดจากพระสัทธรรม หมอมฉันเปน
ผูที่พระองคใหเกิดแลว ขาแตพระสุคต รูปกายของพระองคนี้
หมอมฉันไดเลี้ยงดูใหเติบโต สวนธรรมกายอันนารื่นรมยของ
หมอมฉันพระองคทรงทำใหเติบโตแลว หมอมฉันไดถวายกษีรธาร
แดพระองคเพียงระงับดับกระหายไดชั่วครู แตพระองคทรง
ประทานกษีรธารคือธรรมอันสงบระงับอยางยิ่งแกหมอมฉัน
(ขุ. อป. 33/157/284)
14 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ถอยคำที่ยกมานี้ระบุถึง ธรรมกายในลักษณะที่เปนชีวิตใหมของ
ทานผูเปนภิกษุณีอรหันต และเกี่ยวของกับ “การเกิดใหมในอริยภูมิ” ซึ่ง
เปนความหมายของกายแหงการตรัสรูธรรม
3. สวนคัมภีรสุดทายในพระไตรปฎกบาลีที่พบคำวา ธรรมกาย
กลาวถึงอดีตชาติของพระอัตถสันทัสสกเถระ เมือ่ ครัง้ ทีท่ า นเปนพราหมณ
ชื่อนารทะ ทานไดกลาวสรรเสริญคุณของพระปทุมุตตรพุทธเจา โดย
เรียกพระองควา พระผูมีธรรมเปนกาย (ธรรมกาย) หรือ ผูยังธรรมกาย
ใหสวางไสว24 ในทำนองเดียวกันกับในอัคคัญญสูตรที่กลาวถึงธรรมกาย
ในฐานะที่เปนสมญานามของพระสัมมาสัมพุทธเจา
5. ถาม : บางคนบอกว า “ธรรมกาย” ที่ เ ป น สมญานามของ
พระพุทธเจานั้น หมายความวาพระองคเปนแหลงที่รวม
แหงธรรมคือคำสอน ความจริงเปนอยางไร ?
5. ตอบ : กอนอืน่ ควรเขาใจวา “ธรรม” นัน้ มีความหมายหลากหลาย
แตความหมายที่สำคัญที่สุดและเกี่ยวของในที่นี้มี 2 นัย ไดแก
1. ธรรมแทที่เขาถึงได เปนสิ่งที่สะอาดบริสุทธิ์และใสสวาง มีอยู
ในตัวมนุษย แตมนุษยสวนใหญไมรู มีเพียงผูที่มีจิตบริสุทธิ์หรือผูที่สราง
บารมีมาถึงระดับหนึ่งแลวเทานั้นจึงจะเห็นหรือเขาถึงธรรมนี้ไดโดยการ
บรรลุอริยมรรค ซึ่งจะทำใหเขามีใจละเอียด สะอาด และสวางในระดับ
เดี ยวกั น กั บ ธรรมนี้ เมื่ อ เข า ถึ ง ได แ ล ว ธรรมนี้ จ ะทำหน า ที่ ก ำจั ด กิ เ ลส
กำจัดทุกข ทำใหถึงความสุขไดอยางแทจริง

24
ขุ. อป. 32/139/243-4.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 15

2. ธรรมคือคำสอน หมายถึงคำสอนของพระพุทธองคที่วาดวย
การกำจั ด ทุ ก ข โ ดยอาศั ย ธรรมแท ที่ พ ระองค ท รงเข า ถึ ง นั้ น ธรรมคื อ
คำสอนนี้เปนสิ่งที่พระอานนทไดทรงจำมาถายทอดตอใหกับผูที่มาใน
ภายหลัง
สวนการที่เขาใจวาพระพุทธองคไดชื่อวาเปนธรรมกายเพราะทรง
เป น แหล ง ที่ ร วมแห ง ธรรมคื อ คำสอนนั้ น เป น การตี ค วามตามนั ย ของ
อรรถกถาทีฆนิกายที่ขยายความในเชิงปริยัติ ก็ถูกตองในแงที่วาคำสอน
ทั้งหลายนั้นเกิดจากพระพุทธองค พระองคจึงเปนแหลงที่รวม (กาย)
และเปนที่หลั่งไหลออกมาของคำสอนทั้งหลาย (ธรรม) 25 แตในแงของ
การปฏิบัติ กอนที่จะมีคำสอนนั้นไดพระองคไดตรัสรูธรรม เขาถึงความ
เปนพุทธะกอนซึ่งก็คือธรรมกาย ทรงเปนอันหนึ่งอันเดียวกับ “ธรรม”
นั้น คือธรรมที่ทำใหตรัสรู จึงทรงเรียกพระองคในอีกพระนามหนึ่งวา
“ธรรมภูต” ซึง่ แปลวา “ผูเ ปนธรรม” ทีน่ ำมาใชเปนคำพองของ “ธรรมกาย”
ในอัคคัญญสูตร26
คำวา “ธรรมภูต” นี้ อรรถกถาทีฆนิกายฉบับเดียวกันขยายความวา
หมายถึ ง ทรงมี ธ รรมเป น สภาวะ 27 ซึ่ ง ก็ ชั ด เจนว า หมายถึ ง ธรรมแท ที่
ทรงเขาถึง ไมใชคำสอน สวนอรรถกถาอีกฉบับหนึ่งกลาวตรงกันและ
ยังอธิบายตอไปวา “ทีว่ า ทรงมีธรรมเปนสภาวะ ก็เพราะทรงมีธรรมเปนกาย
หมายความวา ทรงเกิด (ใหม) แลวดวยโลกุตรธรรม คือทรงบรรลุธรรม

25
ที. อ. 3/50.
26
ที. ปา. 11/55/91-2.
27
ที. อ. 3/50.
16 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

นั่นเอง”28 คำอธิบายทั้งหมดนี้ก็ชัดเจนวา “ธรรม” ในคำวา “ธรรมกาย”


และ “ธรรมภูต” หมายถึงธรรมแทที่ทรงเขาถึง
ภายหลังจากที่ทรงเขาถึงและเปนหนึ่งเดียวกับธรรมที่ทำใหตรัสรู
(ธรรม, ธรรมกาย) แลวตางหาก จึงทรงประกาศสิ่งที่ทรงคนพบนั้นอีกที
“ธรรมคือคำสั่งสอน” จึงเกิดขึ้นในภายหลัง ซึ่งตอมาอรรถกถาบางฉบับ
นำมาเรี ย กว า ธรรมกาย ในฐานะที่ เ ป น ตั ว แทนของพระพุ ท ธองค
ภายหลังจากที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน29
6. ถาม : บางคนบอกวา “ธรรมกาย” คือ “หมวดหมูแหงคำสอน”
เปนจริงหรือไม ?
6. ตอบ : การตีความธรรมกายวาเปนหมวดหมูแหงคำสอนนั้นมีจริง
แตเกิดขึ้นในภายหลัง สวนความหมายดั้งเดิมของ “ธรรมกาย” นั้นคือ
“กายแหงการตรัสรูธ รรม” ดังทีไ่ ดแสดงไวแลวในคำถาม-คำตอบที่ 4 และ 5
อรรถกถาและฎีกาบาลีสวนใหญที่เขียนขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่
10-12 ยังเขาใจความหมายของธรรมกายในฐานะที่เปนกายแหงการ
ตรัสรูธรรมที่ถึงพรอมดวยความบริสุทธิ์และพุทธคุณ30 หรือกายที่เปน
โลกุตรธรรม31 ที่ผูมีจิตบริสุทธิ์หรือผูที่สรางบารมีมาถึงระดับหนึ่งแลว
เทานั้นจึงจะเห็นหรือเขาถึงได32 ไมสามารถเห็นไดดวยตาเนื้อ แตจะเห็น

28
Thera 2/205.
29
DA.I.34.
30
Vism.I.204, 227; ThrA.I.115; VinA.I.124; KhpA.108.
31
SA.II.313, SnA.I.34, ThrA.II.205.
32
ItA.II.115,ThrA.I.37.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 17

ไดดวยปญญาจักษุหรือโลกุตรจักษุดวยการแทงตลอดอริยมรรค33 มีเพียง
สวนนอยที่ตีความธรรมกายในฐานะที่เปนคำสอนของพระพุทธองคที่
พระอานนททรงจำมา34
ตอมา ราวพุทธศตวรรษที่ 16 -18 ฎีกาบางฉบับตีความธรรมกาย
วาหมายถึงคำสอนหรือพระธรรมวินยั 35 ทีเ่ ปนตัวแทนของพระพุทธองค
ภายหลังจากพุทธปรินิพพาน36 แตบางฉบับยังกลาวถึงธรรมกายใน
ความหมายเดิม เชนระบุวา การตรัสรูธรรมของพระพุทธองคนั้นเปน
การเกิดดวยธรรมกาย37 อันเปนกายทีป่ ระกอบดวยพุทธคุณ38 ทีอ่ ริยสาวก
สามารถมองเห็นไดโดยการบรรลุธรรม39
7. ถาม : ธรรมกายไมเคยเปนที่รูจักของพุทธศาสนิกชาวไทยมา
กอนจริงหรือ ?
7. ตอบ : ไมจริง ความจริงคือธรรมกายเปนทีร่ จู กั ของพุทธศาสนิกชน
ชาวไทยมาชานานแลว ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีและวรรณกรรม
ทางพุทธศาสนามากมาย หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ ไดแก หลัก
ศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ 54 (จารึ ก พระธรรมกาย) พบที่ พ ระเจดี ย วั ด เสื อ
33
SnA.I.34, UdA.310, ThriA.28.
34
DA.I.34.
35
“พระธรรมวินัย” มาจากศัพทบาลี 2 ศัพทไดแก “ธรรม” และ “วินัย”
“ธรรม” ในที่นี้คือคำสั่งสอนของพระพุทธองคที่กลาวถึงการกำจัดทุกขดวยธรรมแทที่มีอยู
ในตัว สวน “วินัย” หมายถึง ระเบียบที่ควบคุมกาย วาจา ใจ เพื่อนำไปสูการเขาถึงธรรมแท
ภายในตัวนั้นและสามารถกำจัดกิเลส กำจัดทุกขไดในที่สุด
36
VjB.15, 19; SrD.I.126, II.166-7.
37
SrD.I.211.
38
SrD.I.310-1, 352.
39
SrD.III.299.
18 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

จังหวัดพิษณุโลก40 ระบุ พ.ศ. 2092 ในแผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ


แหงกรุงศรีอยุธยา ในหลักศิลาไดจารึกคาถาธรรมกายไว คาถาบาลีนี้
กลาวถึงญาณรูแจงและพระคุณตางๆ ของพระธรรมกาย
สวนวรรณกรรมทางพุทธศาสนาก็คือคาถาพระธรรมกายที่กลาว
มานั้น นอกจากจะปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 54 แลว ยังพบในจารึก
ลานเงิ น ประกั บ ทองคำที่ บ รรจุ อ ยู ใ นเจดี ย พ ระศรี ส รรเพชดาญาณ
วั ด พระเชตุ พ นฯ กรุ ง เทพฯ พบในคั ม ภี ร ใ บลานเรื่ อ ง “ธั ม มกายาทิ ”
ซึ่งเปนสวนหนึ่งในคัมภีรใบลานพระไตรปฎกฉบับรองทรงที่พระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงสราง และพบในคัมภีรใบลานเรื่อง
“ธัมมกายาทิ” เชนกันแตเปนสวนหนึ่งของคัมภีรใบลานพระไตรปฎก
ฉบับเทพชุมนุมที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงสราง อันเปน
เครื่ อ งแสดงถึ ง พระราชศรั ท ธาของพระมหากษั ต ริ ย ไ ทยที่ ท รงมี ต อ
พระธรรมกาย ใชแตเทานั้นคาถาพระธรรมกายยังปรากฏอยูในคัมภีร
อักษรขอม-ไทย คัมภีรอ กั ษรธรรมลานนา และคัมภีรอ กั ษรเขมรหลายฉบับ
ซึ่งจารลงในใบลานถายทอดสืบตอกันมา แสดงถึงความแพรหลายของ
พระธรรมกายในดินแดนที่ใชอักษรขอม-ไทย อักษรธรรมตลอดไปถึง
ประเทศกัมพูชา
8. ถาม : ธรรมกายหายไปจากสั ง คมพุ ท ธศาสนิ ก ชาวไทยใน
ปจจุบันไดอยางไร ?
8. ตอบ : หลักฐานชิน้ สุดทายทีแ่ สดงถึงการรูจ กั ธรรมกายของชาวไทย
คือคัมภีรใ บลาน “ธัมมกายาทิ” ฉบับเทพชุมนุม สรางโดยพระบาทสมเด็จ

40
ปจจุบันเก็บรักษาอยูที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร กรุงเทพฯ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 19

พระนัง่ เกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 3 ในชวง พ.ศ. 2367-2394 หลังจากนัน้


เปนชวงเวลาที่วิทยาการตะวันตกหลั่งไหลเขาสูประเทศไทย การจาร
คัมภีรใบลานไมสะดวกเทาการพิมพหนังสือ คัมภีรพุทธศาสนาฉบับ
สำคัญๆ เชน พระไตรปฎกและพระบาลีตางๆ ไดถูกจัดพิมพขึ้นกอน
ส ว นคั ม ภี ร อื่ น หลายฉบั บ ถู ก จั ด ความสำคั ญ ไว ต อนท า ยหรื อ ถู ก ลื ม
จนกระทั่งตนฉบับใบลานสูญหายไปตามกาลเวลา โดยไมไดรับการพิมพ
ใหแพรหลาย คัมภีรธัมมกายาทิและคาถาธรรมกายเปนหนึ่งในคัมภีรที่
ถูกละเลยดังกลาว จึงไมไดใชอางอิงหรือใชศึกษาอีกเลยในเวลาตอมา
สิง่ นีเ้ ปนสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำใหธรรมกายหายไปจากสังคมพุทธศาสนิกชาวไทย
9. ถาม : ธรรมกายเปนอสังขตธรรมใชไหม ? ธรรมกายเปนอัตตา
หรือไม ?
9. ตอบ : ใช ในมหาปริ นิ ร วาณมหาสู ต รของมหายาน กล า วถึ ง
ธรรมกายว า มี คุ ณ สมบั ติ 4 ประการ คื อ นิ จ จั ง สุ ขั ง อั ต ตา และ
ความบริสุทธิ์ พระพุทธเจาประกอบดวย 2 กาย คือ รูปกายซึ่งเปนเพียง
การแสดงออกของกายที่ เ กิ ด จากกุ ศ โลบายและเป น สั ง ขตธรรม กั บ
ธรรมกายซึ่งเปนกายที่แทจริงของพระพุทธองค เปนอสังขตธรรม เปน
นิจจัง สุขัง อัตตา และบริสุทธิ์
อนึ่ง ในคัมภีรปรมัตถทีปนี อรรถกถาของจริยาปฎก41 ในภาษาบาลี
ก็กลาวถึงธรรมกายวาเปนอัตตาดวยเชนเดียวกัน

41
CpA.332.
20 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

10. ถาม : ธรรมกายเปนอจินไตยใชไหม?


10. ตอบ : ใช ในมหาปรินิวารณมหาสูตร กลาวถึงธรรมกายของ
พระพุ ท ธเจ า ว า เปนอจินไตย คือไมพึงคิด หรื อ ไม อ าจหยั่ ง ถึ ง ได ด ว ย
การใชความคิด คาดคะเน หรือการใหเหตุผลดวยตรรกะใดๆ ดังนี้
ธรรมกายของพระพุทธเจาทั้งหลายและกุศโลบายตางๆ เปน
อจินไตย42
ธรรมกายในที่นี้หมายถึงพระพุทธคุณ ซึ่งเปนหลักการที่สอดคลอง
กันกับที่กลาวไวในพระไตรปฎกบาลี ดังที่มีกลาวไวในพระไตรปฎกถึง
อจิ น ไตย คื อ สิ่ ง ที่ ไ ม พึ ง คิ ด 4 ประการ ได แ ก พุ ท ธวิ สั ย ฌานวิ สั ย
กรรมวิบาก และความคิดเรื่องโลก ทั้งสี่เรื่องนี้ไมควรคิด ผูที่คิดจะพึงมี
สวนแหงความเปนบา เดือดรอน43
11. ถาม : มีบางไหมหลักฐานในคัมภีรพุทธที่กลาวถึงธรรมกายวา
เปนกายแกว ใสสวาง อยางทีก่ ลาวถึงในวิชชาธรรมกาย ?
11. ตอบ : มี ตัวอยางหนึ่งคือมหาปรินิวารณมหาสูตร44 ที่กลาวถึง
กายของพระพุทธเจา วาประกอบดวย 2 กาย คือ
• รูปกาย ซึ่งเปนเพียงการแสดงออกของกายที่เกิดจากครรภ
มารดา
• ธรรมกาย ซึ่งเปนกายที่แทจริงของพระพุทธองค

42
T374 12:382b29.
43
องฺ.จตุกฺก. 21/77/104.
44
มหาปรินิวารณมหาสูตรเปนคัมภีรฝายมหายานบันทึกดวยภาษาสันสกฤตในราว พ.ศ. 600-
700 แปลเปนภาษาจีนโดยทานธรรมเกษมในราวป พ.ศ. 964-973 (ค.ศ 421-430)
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 21

รู ป กายนั้ น อยู ภ ายใต ก ฎไตรลั ก ษณ คื อ เป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง และ


อนัตตา สวนธรรมกายนั้นมีความเที่ยงแท และสะอาดบริสุทธิ์นอกจากนี้
ในพระสูตรยังกลาวอีกวา กายของพระพุทธองคนั้นเปนกายแกว คือ
ธรรมกาย
ดูกอน กุลบุตร บัดนี้ทานควรทราบวา กายของตถาคตนั้น
เปนกายแกว จากนี้ไป ทานควรจะคิดถึงความหมายนี้เสมอวา
กายนี้ ไ ม ไ ด ถู ก หล อ เลี้ ย งด ว ยอาหาร และอธิ บ ายให เ หล า
มวลมนุษยทั้งหลายทราบวากายของตถาคตคือธรรมกาย45
นอกจากนี้ ใ นพระสู ต รเดี ย วกั น ยั ง กล า วถึ ง ธรรมกายที่ ใ สสว า ง
ดวย46 ซึ่งสอดคลองกับที่ปรากฏในวิชชาธรรมกาย
12. ถาม : ธรรมกายเปนมหายานใชหรือไม?
12. ตอบ : ไมใช แมวา “ธรรมกาย” จะมีกลาวถึงมากในพระสูตร
มหายาน แตธรรมกายก็มิไดเปนของมหายานเทานั้นในพระไตรปฎก
อรรถกถา และฎีกาบาลีของเถรวาท รวมทั้งในหลักฐานทางโบราณคดี
และคัมภีรทองถิ่นสายเถรวาทในประเทศไทยก็มีกลาวถึงธรรมกายไว
มากมายเชนกันดังที่แสดงไวแลวขางตน (ดูคำถาม-คำตอบที่4-8)

45
T374 12:383b14.
46
T374 12:464c26.
22 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

วิชชาธรรมกาย
13. ถาม : วิชชาธรรมกายคืออะไร ?
13. ตอบ : คำวา วิชชาธรรมกาย ที่ใชกันอยู มีกลาวถึงเปนสองนัย
คือ
1. ในความหมายดั้งเดิม คำวา “วิชชาธรรมกาย” เปนคำสมาส
ของศัพท 2 ศัพทคือ “วิชชา” (ความรูแจง) กับ “ธรรมกาย” รวมความได
วา “ความรูแจงที่เกิดจากการเห็นแจงดวยญาณทัสนะของธรรมกาย”
ความรูแจงเหลานี้เชนวิชชา 3, วิชชา 8, อภิญญา 6, ปฏิสัมภิทาญาณ 4,
และวิ โ มกข 8 เป น ต น อั น ส ง ผลให ผู ป ฏิ บั ติ ส ามารถบรรลุ มรรค ผล
นิพพาน ไดในที่สุด
2. อี ก ความหมายหนึ่ ง ที่ ใ ช กั น อยู เป น การกล า วถึ ง “วิ ธี ก าร
ปฏิ บั ติ ธ รรมเพื่ อ ให เ ข า ถึ ง พระธรรมกาย” ที่ ภ าษาอั ง กฤษใช ค ำว า
“Dhammakaya Meditation”
14. ถาม : การปฏิบัติธรรมวิชชาธรรมกายมีบันทึกไวบางหรือไมใน
อดีตของสังคมพุทธศาสนิกชนชาวไทย ?
14. ตอบ : มีรองรอยของการปฏิบัติที่คลายคลึงกันอยูบาง แตไมพบ
การบันทึกการปฏิบัติธรรมวิชชาธรรมกายที่ครบถวนสมบูรณในเอกสาร
โบราณแตอยางใด
แมวา สิง่ ทีพ่ บในคัมภีรด า นการปฏิบตั สิ มาธิภาวนาอักษรธรรมลานนา
อักษรธรรมอีสาน และอักษรธรรมลานชางหลายฉบับมีรายละเอียดการ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 23

ปฏิบัติธรรมที่เหมือนหรือคลายคลึงกับวิชชาธรรมกาย แตปรากฏเปน
ทอนๆไมติดตอเปนเรื่องเดียวกันไมเรียงลำดับตอเนื่องกัน และอาจใช
ศัพทเฉพาะไมเหมือนกัน เชน ในคัมภีรพุทธนรกัน คัมภีรพระญาณกสิณ
คัมภีรบัวระพันธะ คัมภีรพระธัมสามไต กลาววาศูนยกลางกายบริเวณ
สะดือเปนที่ตั้งของใจที่สำคัญในการปฏิบัติธรรม เปนจุดที่โลกุตรธรรม
จะเริ่มเกิดขึ้น
ผลของการปฏิบัติสมาธิภาวนาคือความสวาง คัมภีรอักษรธรรม
กลาวถึงความสวางที่ศูนยกลางกายหลายระดับ เชน ความสวางขนาด
แสงหิ่งหอย แสงดาว แสงจันทรวันเพ็ญ และแสงอาทิตยยามเที่ยงวัน
การหยุดใจ หรือ “ความนิ่ง” เปนปจจัยสำคัญที่จะนำไปสูความ
สำเร็จในการปฏิบัติธรรม คัมภีรอักษรธรรมจะเปรียบเทียบความนิ่งกับ
สิ่งคุนเคยรอบตัว ผูปฏิบัติธรรม เพื่อใหเกิดความเขาใจในความนิ่งนั้น
เชน เปรียบเทียบความนิ่งกับผาสังฆาฏิที่พับไวเปนปกติ เทียบกับซากศพ
ที่นิ่งไมมีลมหายใจ ซึ่งคลายกับวิชชาธรรมกายที่กลาววาในบางขณะ
ผูปฏิบัติธรรมจะมีความรูสึกคลายไมไดหายใจ
15. ถาม : การฝกสมาธิภาวนาวิชชาธรรมกายนั้นถูกตองตามหลัก
สมถะและวิปสสนาในพระไตรปฎกเถรวาทหรือไม ?
15. ตอบ : ถูกตองตามหลักสมถะและวิปส สนาในพระไตรปฎกเถรวาท
แน น อน ทั้ ง นี้ พระมงคลเทพมุ นี ไ ด ส อนการฝ ก สมถะและวิ ป ส สนา
โดยยึดหลักธรรม หรือพุทธพจนในพระไตรปฎกเปนหลักในการสอน
กอนทุกครั้ง แลวจึงลงรายละเอียดการสอนในระดับปฏิบัติอยางเปน
ลำดับขั้นตอน จากการคนควาพบวาการสอนสมถะและวิปสสนาของ
24 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ท า นสอดคล อ งตรงตามพระไตรป ฎ กในประเด็ น ต า งๆ เช น ในเรื่ อ ง


ความหมายของ “สมถะ” และ “วิปสสนา” ดังนี้
พระอภิธรรมปฎก ธรรมสังคณี ไดใหความหมายของสมถะไววา
หมายถึ ง ความสงบแห ง จิ ต สมาธิ น ทรี ย สมาธิ พ ละ สั ม มาสมาธิ 47
และความตั้ ง มั่ น แห ง จิ ต 48 และแสดงความหมายของวิ ป ส สนาว า
หมายถึง ปญญาเครื่องทำลายกิเลส ปญญาเครื่องนำทาง ความเห็นแจง
ความรูชัด... ความสวางคือปญญา เปนตน49
พระมงคลเทพมุ นี ไ ด ก ล า วถึ ง ความหมายของสมถภาวนาไว ใ น
ทำนองเดียวกันวาสมถะ เปนวิชชาเบื้องตน50 แปลวาสงบ แปลวาระงับ
แปลวาหยุด แปลวานิง่ คือ การทำใจใหหยุด ใหสงบและแสดงความหมาย
ของวิปสสนาวา “...วิปสสนาคำนี้ แปลตามศัพทวา เห็นแจง เห็นวิเศษ
หรือนัยหนึ่งวาเห็นตางๆ เห็นอะไร ? เห็นนามรูป, แจงอยางไร ? แจง
โดยสามัญลักษณะวาเปนของไมเที่ยง เต็มไปดวยทุกขและเปนอนัตตา
ใชตัวตน สัตว บุคคล เราเขา51

47
อภิ.สงฺ. (แปล)34/69/37.
48
อภิ.สงฺ. (แปล) 34/867/301.
49
อภิ.สงฺ (แปล) 34/70/37.
50
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 907.
51
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 23.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 25

16. ถาม : นอกจากเรื่องความหมายของสมถะและวิปสสนาแลว


พระมงคลเทพมุ นี ท า นได ก ล า วถึ ง จุ ด มุ ง หมาย หรื อ
ผลของสมถะทีต่ รงกันกับในพระไตรปฎกไวหรือหรือไม ?
16. ตอบ : ท านกลาวไวเชนเดียวกัน โดยได ชี้ ว า จุ ด มุ ง หมายของ
สมถภาวนา คือการได ฌาน หรือ สมาบัติ ตรงกันกับขอมูลที่กลาวเอา
ไวหลายแหงในพระไตรปฎก อาทิ ในพุทธพจนเรื่ององคฌาน 5 และ
ฌานสมาบัติ 8 ในฌานาภิญญาสูตร52 ดังนี้
...ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราหวังสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
แลวเขาถึงปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปติและสุข อันเกิดแต
วิเวกอยู...เราหวังเขาถึงทุติยฌาน...เขาถึงตติยฌาน...เขาถึง
จตุตถฌาน...เขาถึงอากาสานัญจายตนะ...วิญญาณัญจายตนะ...
อากิญจัญญายตนะ...เขาถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ...เขาถึง
สัญญาเวทยิตนิโรธ...ดูกรภิกษุทงั้ หลาย เราทำใหแจงซึง่ เจโตวิมตุ ิ
ปญญาวิมตุ ิ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะสิน้ ไป ดวยปญญา
อันยิ่งเองในทิฏฐธรรมเขาถึงอยู...
สวนผลของสมถภาวนา มีกลาวไวในพระไตรปฎก 3 ประการ คือ
1. การเขาถึงสมาธิในระดับสูง (อัปปนาสมาธิ หรือ สมาธิระดับ
ฌาน53) ดังในจุดมุงหมายของสมถภาวนาขางตน
52
สํ.นิ. (แปล) 8/ 16/ 207-208.
53
1. ขณิกสมาธิ สมาธิชั่วขณะ (monentary concentration) เปนสมาธิขั้นตน
2. อุปจารสมาธิ สมาธิเฉียดๆ หรือ สมาธิจวนจะแนวแน (access concentration) เปน
สมาธิขนั้ ระงับนิวรณได กอนทีจ่ ะเขาสูภ าวะแหงฌาน หรือสมาธิในบุพภาคแหงอัปปนาสมาธิ
3. อัปปนาสมาธิ สมาธิแนวแน หรือสมาธิที่แนบสนิท (attainment concentration) เปน
สมาธิระดับสูงสุด ซึ่งมีในฌานทั้งหลาย
26 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

2. การละนิวรณ 5
3. การขจัดอาสวกิเลส
ในสวนของพระมงคลเทพมุนี ทานไดกลาวถึงผลของสมถะไววา
...นี่ภูมิของสมถะ เมื่อเขารูปฌานตองอาศัยมนุษย กายมนุษย
ละเอียดกายทิพย กายทิพยละเอียด กายรูปพรหมเขารูปฌาน
กายอรูปพรหมเขาอรูปฌาน นี่หลักฐาน ฌานเหลานี้ยืนยันวา
ตั้งแตตลอดรูปพรหมอรูปพรหม นี่แหละเปนภูมิสมถะทั้งนั้น
ไมใชภูมิวิปสสนา54...
17. ถาม : ในเรื่องผลของวิปสสนาที่สอดคลองกับในพระไตรปฎก
นั้น ทาน (พระมงคลเทพมุนี สด จนฺทสโร) ไดกลาวไว
อยางไรบาง ?
17. ตอบ : กลาวไวเชนเดียวกัน...โดยชี้วาจุดมุงหมายของวิปสสนา
คือ ญาณ (ความรู)55 ในการกำจัดกิเลสใหหมดไปเปนขั้นๆ จนกระทั่ง
สามารถกำจัดตนตอของกิเลสคือ อวิชชา (ความไมรู) ได และบรรลุเปน
พระอรหันต ซึง่ ตรงกันกับทีป่ รากฏอยูใ นพระไตรปฎกทีร่ ะบุถงึ จุดมุง หมาย
ของวิปสสนาเอาไววา
เรานัน้ เมือ่ จิตเปนสมาธิ บริสทุ ธิ์ ผองแผว ไมมกี เิ ลสปราศจาก
อุปกิเลส ออนโยน ควรแกการงาน ตั้งมั่น ไมหวั่นไหวอยางนี้
โน ม น อ มจิ ต ไปเพื่ อ อาสวั ก ขยญาณ ย อ มรู ชั ด ตามความ
เปนจริงวา นี้ทุกข นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินี
54
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 324.
55
อภิ.สงฺ.อ. (แปล) 76/ 547/ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 27

ปฏิปทา นี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธ-


คามินีปฏิปทา เมื่อเรานั้นรูเห็นอยางนี้ จิตก็หลุดพน...หลุดพน
แลวรูชัดวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทำ
ทำเสร็จแลวกิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้มิไดมี พราหมณ วิชชา
ที่ 3 นี้แลเราบรรลุแลวในปจฉิมยามแหงราตรี กำจัดอวิชชา
เสียไดแลว...56
ทางดานของพระมงคลเทพมุนีก็ไดกลาวเอาไวถึงผลที่ไดจากการ
ปฏิบัติวิปสสนาวาขจัดอวิชชาได ดังนี้
ปฏิจจสมุปบาทธรรม ธรรมอาศัยซึ่งกันและกันเปนแดนเกิดขึ้น
อวิชชา...โดยยอก็ความยึดถือมั่นในปญจขันธทั้ง 5 เปนทุกข
นี่เกิดจากอวิชชาทั้งนั้น ไมใชอื่น ถาวาเมื่อถึงพระอรหัตแลว
อวิชชาหลุดหมด นี่เปนตัววิปสสนาชัดๆ อยางนี้นะ พึงรูจัก
นีแ่ หละตามปริยตั ชิ ดั ๆ ทีเดียว เมือ่ รูจ กั ละก็ใหจำไวเปนขอวัตร
ปฏิบตั ิ จะไดพาตนหลีกลัดลุลว งพนจากวัฏฏะสงสาร มีนพิ พาน
เปนที่ไปในเบื้องหนา57
18. ถาม : พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ไดกลาวถึงเรื่องของ
การละสั ง โยชน แ ละเรื่ อ งการเป น พระอริ ย บุ ค คลไว
อยางไร ? ตรงกับที่ปรากฏในพระไตรปฎกหรือไม ?
18. ตอบ : สอนเชนเดียวกัน...โดยในพระไตรปฎกอธิบายวา สังโยชน
หมายถึงเครื่องผูก คือ กิเลสที่ผูกใจสัตวไวกับทุกขในสังสารวัฏผลจาก
56
วิ.มหา. (แปล) 1/ 3/ 6, ม.มู. (แปล) 17/ 50/ 272.
57
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 324-326.
28 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

การละสังโยชน58 ยอมทำใหผูนั้นเปลี่ยนจากปุถุชนเปนอริยบุคคล คือ


ทานผูประเสริฐ ผูไกลจากขาศึกคือกิเลส ในลำดับตางๆ59 ดังนี้
1. โสดาปตติมรรคบุคคล คือ บุคคลในขณะที่มรรคจิตเกิดขึ้นเปน
ครั้งแรก (ทำลายสังโยชน 3 คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส
รวมทั้งโลภะ โทสะ โมหะ ในขั้นหยาบอื่นๆ
2. โสดาปตติผลบุคคล หรือที่เรียกกันทั่วไปวาพระโสดาบัน
3. สกทาคามิมรรคบุคคล คือ บุคคลที่เจริญวิปสสนาตอไปอีก
กระทั่ ง มรรคจิ ต เกิ ด ขึ้ น ครั้ ง ที่ 2 ทำลายกิ เ ลสได เ ด็ ด ขาดเพิ่ ม ขึ้ น อี ก
2 อยาง คือ กามฉันทะ และปฏิฆะ
4. สกทาคามิผลบุคคล คือ ผูที่ผานสกทาคามีมรรคมาแลว
5. อนาคามิ ม รรคบุ ค คล คื อ บุ ค คลที่ เ จริ ญ วิ ป ส สนาต อ ไปอี ก
กระทั่งมรรคจิตเกิดขึ้นเปนครั้งที่ 3 ทำลายกิเลสไดเด็ดขาดเพิ่มขึ้นอีก
2 อยาง คือ กามฉันทะ และปฏิฆะ
6. อนาคามิผลบุคคล คือ ผูที่ผานอนาคามิมรรคมาแลว
7. อรหั ต มรรคบุ ค คล คื อ บุ ค คลที่ เ จริ ญ วิ ป ส สนาต อ ไปอี ก
จนกระทั่งมรรคจิตเกิดขึ้นเปนครั้งที่ 4 ทำลายกิเลส ไดแก รูปราคะ อรูป
ราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา
8. อรหัตผลบุคคล หรือที่เรียกกันทั่วไปวา พระอรหันต
ในเรื่ อ งนี้ พระมงคลเทพมุ นี (สด จนฺ ท สโร) ได ก ล า วเอาไว
เชนเดียวกันวา60
58
ที.ม. (แปล) 10/ 89/ 81-82, ที.ปา. (แปล) 11/ 85/ 83, สํ.ม. (แปล) 19/ 353-354/
93, ขุ.ป. (แปล) 31/ 535/ 248.
59
ที.ปา.(แปล) 11/ 342/ 227, องฺ.อฎฐก.(แปล) 23/ 149/ 301, อภิ.ปุ. (แปล) 36/ 150/
233.
60
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 41-43.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 29

...อริยสาวก แปลวา สาวกผูประเสริฐ คือสาวกที่ไดบรรลุธรรม


วิเศษแลว พนจากฐานะปุถุชนแลว เรียกตามโวหารในทาง
ศาสนาวา เปนชั้นอริยะ สาวกชั้นอริยะ หรือที่เรียกวาอริย
สาวกนั้น ทานจัดเปน 4 คู คือโสดาปตติมรรค โสดาปตติผลคู
1 สกทาคามิมรรค สกทาคามิผลคู 1 อนาคามิมรรค อนาคามิ
ผลคู 1 อรหัตมรรค อรหัตผลคู 1...ชั้นพระสกทาคา นอกจาก
กิเลส 3 อยาง ดั่งที่พระโสดาละได แลวนั้น ยังละกามราคะ
พยาบาท อยางหยาบไดอีก 2 อยาง กามราคะ ไดแก ความ
กำหนัดยินดีในวัตถุกาม และกิเลสกาม พยาบาท คือ การผูก
ใจโกรธ พระอนาคา ละกามราคะ พยาบาท ขั้นละเอียดได
พระอรหัต ละกิเลสทั้ง 5 ดังกลาวมาแลวนั้นไดโดยสิ้นเชิง
แลวยังละสังโยชนเบื้องบนไดอีก 5
19. ถาม : แนวทางการปฏิบัติสมถะ และวิปสสนาของพระมงคล
เทพมุนี (สด จนฺทสโร) นัน้ สอดคลองกับในพระไตรปฎก
หรือไม ?
19. ตอบ : สอดคลองกันโดยตรงดังที่พระอานนทพุทธอุปฏฐากได
กลาวถึงการเกิดขึ้นของมรรค (ทางแหงความดับทุกข) ไว 4 รูปแบบ61
ดังนี้
1. เจริญวิปสสนาโดยมีสมถะนำหนา
2. เจริญสมถะโดยมีวิปสสนานำหนา
3. เจริญสมถะและวิปสสนาไปควบคูกัน
4. เมื่อใจไมฟุงซานในธรรม หยุดนิ่ง ตั้งมั่นเปนหนึ่งอยูภายใน
61
ขุ.ป.(แปล) 31/ 534/ 246.
30 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ในการเกิดขึ้นของมรรคทั้ง 4 รูปแบบ แสดงถึงความสัมพันธของ


สมถะและวิปสสนาในการปฏิบัติเพื่อความหลุดพนจากวัฏสงสาร ดังนี้
1) สมถะเป น บาทฐานในการปฏิ บั ติ วิ ป ส สนา ซึ่ ง หนั ง สื อ
พุทธธรรมระบุวา เปนรูปแบบการปฏิบัติแบบสูงสุด62 สามารถแบงยอย
ออกเปน 2 ลักษณะ
แบบที่ 1 : ฌาน 4 ตอดวยวิชชา 3 คือปฏิบัติจนกระทั่งได
ฌาน 4 แลวจึงนอมจิตไปเพื่อบรรลุวิชชา 3
แบบที่ 2 : สมาบัติ 8 พรอมนิโรธสมาบัติ ตอดวยวิชชา 3
2) สมถะและวิปสสนาเปนคูที่มีสวนเสมอกัน การที่จะละกิเลส
เปนพระอรหันตไดนั้นจำเปนตองอาศัยทั้งสมถะและวิปสสนาควบคูกัน
ไปตลอดทาง ซึ่งเปนการปฏิบัติในขณะแหงโลกุตรมรรค
...ยังสมถะใหประชุมลงดวยความไมฟุงซาน ยังวิปสสนาให
ประชุมลงดวยความพิจารณาเห็น ยังสมถะและวิปสสนาให
ประชุมลงดวยความมีกิจเปนอันเดียวกัน ยังธรรมเปนคูกันให
ประชุมลงดวยความไมลวงเกินกัน…
...สมถะเปนมรรคเพราะอรรถวาไมฟุงซาน วิปสสนาเปนมรรค
เพราะอรรถวาพิจารณาเห็น สมถะและวิปสสนาเปนมรรค
เพราะอรรถวามีกิจเปนอันเดียวกัน ธรรมที่เปนคูกันเปนมรรค
เพราะอรรถวาไมลวงเกินกัน…63

62
“พุทธธรรม” หนา 333-335.
63
ขุ.ป. (แปล) 31/528/238.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 31

แนวทางการปฏิบัติของพระมงคลเทพมุนี ใชสมถะเปนบาทแลว
จึงตอยอดดวยวิปสสนา และเมื่อปฏิบัติถึงระดับโลกุตรธรรมแลว สมถะ
และวิปสสนาจะใชควบคูกันเสมอ
วิปสสนาก็ตองอาศัยทางสมถะเปนรากฐานกอนจึงจะกาวขึ้นสู
ชั้นวิปสสนาได การบำเพ็ญสมถะนั้น สงจิตเพงดวงปฐมมรรค
ตรงศูนย คือกึ่งกลางกายภายในตรงกลางพอดี....64
สมถะและวิปสสนายังเปนสวนที่ตองปฏิบัติควบคูกันไปอยูเสมอ
ทานใชคำวา “เขาฌาน” เปน “สมถะ” คูกับการ “เห็น หรือพิจารณา”
เปน “วิปสสนา” ดังนี้
....ในระหวางเขาฌานนั้น ตั้งแต 1 ถึง 8 นั้น ตาธรรมกาย
ดู ทุ ก ขสั จ เห็ น ชั ด แล ว ดู ส มุ ทั ย สั จ เห็ น ชั ด แล ว ดู นิ โ รธสั จ
เห็นชัดแลวดูมรรคสัจ เมื่อถูกสวนเขาธรรมกายตกศูนยเปน
ดวงใส….65
ดังนั้นสมถะวิปสสนาตามที่พระมงคลเทพมุนีสอนจึงเปนรูปแบบ
มาตรฐานที่มีในพระไตรปฎกนั่นเอง
20. ถาม : เรื่อง “18 กาย” ของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
มีความสัมพันธกับลำดับการปฏิบัติธรรมในพระไตรปฎก
อยางไร ?
20. ตอบ : เรื่องของ 18 กายนั้น มีความเกี่ยวของกับสภาวธรรมและ
ระดับของผลการปฏิบัติธรรมที่สอดคลองกับในพระไตรปฎก ดังแสดงได
ตามตารางดานลางนี้
64
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 23-24.
65
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 42-43.
32 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ตารางแสดงความสัมพันธของลำดับกายภายใน
และลำดับผลการปฏิบัติธรรม
สภาวธรรม /
ลำดับกายภายใน ระดับพระอริย ระดับการปฏิบัติ
บุคคล
1) กายมนุษย
ฌาน 1
2) กายมนุษยละเอียด
3) กายทิพย
ฌาน 2
4) กายทิพยละเอียด
ขั้นสมถะ
5) กายรูปพรหมหยาบ
ฌาน 3 (โลกียฌาน)
6) กายรูปพรหมละเอียด
7) กายอรูปพรหมหยาบ
8) กายอรูปพรหม ฌาน 4, ฌาน 5-8
ละเอียด
โคตรภูบุคคล
9) กายธรรมโคตรภูหยาบ (มีธรรมจักษุ)
10) กายธรรมโคตรภู มั่นคงในฌาน 8
ละเอียด เพื่อปฏิบัติวิปสสนา
11) กายธรรมพระโสดาบัน
พระโสดาปตติมรรค
หยาบ ขั้นวิปสสนา
12) กายธรรมพระโสดาบัน (โลกุตตรฌาน)
พระโสดาปตติผล
ละเอียด
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 33

สภาวธรรม /
ลำดับกายภายใน ระดับพระอริย ระดับการปฏิบัติ
บุคคล
13) กายธรรมพระสกิทาคามี
พระสกิทาคามีมรรค
หยาบ
14) กายธรรมพระสกิทาคามี
พระสกิทาคามีผล
ละเอียด
ขั้นวิปสสนา
15) กายธรรมพระอนาคามี
พระอนาคามีมรรค (โลกุตตรฌาน)
หยาบ
16) กายธรรมพระอนาคามี
พระสกทาคามีผล
ละเอียด
17) กายธรรมพระอรหัต
พระอรหัตมรรค
หยาบ
18) กายธรรมพระอรหัต
พระอรหัตผล
ละเอียด
หมายเหตุ : ฌาน 5-8 ไดแก อากาสานัญจายตนฌาน, วิญญา-
ณัญจายตนฌาน, อากิญจัญญายตนฌาน, เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
21. ถาม : เกี่ยวกับเรื่องรอบ 3 อาการ 12 ที่พระมงคลเทพมุนี
(สด จนฺทสโร) ไดสอนไวนั้นถูกตองตรงตามที่ปรากฏใน
พระไตรปฎกหรือไม ? อยางไร ?
21. ตอบ : ถูกตองตรงตามที่กลาวไวในพระไตรปฎก ดังพุทธดำรัสใน
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรวา
34 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

...ก็เมื่อใดญาณทัสสนะ (ความรูความเห็น) ตามความเปนจริง


มี ว นรอบ 3 อย า งนี้ มี อ าการ 12 ในอริ ย สั จ 4 เหล า นี้
ของเราบริสุทธิ์ดีแลว เมื่อนั้นเราจึงปฏิญาณตนวาเปน ผูตรัสรู
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในโลก พรอมทั้งเทวโลก มารโลก
พรหมโลก ในหมู สั ต ว พร อ มทั้ ง สมณะ พราหมณ เทวดา
และมนุษย ก็ญาณทัสสนะไดบังเกิดขึ้นแกเราวาวิมุติของเรา
ไมกำเริบ ชาตินี้เปนชาติที่สุดบัดนี้ภพใหมไมมี…66
การพิจารณาอริยสัจ 4 โดย รอบ 3 อาการ 12 นี้ทำใหญาณ
ทัสนะของพระองคบริสุทธิ์สมบูรณดี จึงทรงตรัสรูแลวในธรรมทั้งปวง
พระอรรถกถาจารยไดขยายความ “วนรอบ 3 อาการ 12 ในอริยสัจ 4”
ไวดังนี้
คำวา มีวนรอบ 3 คือวน 3 รอบ ดวยอำนาจวนรอบ 3 กลาวคือ
สัจญาณ กิจญาณ และกตญาณ. ก็ในวนรอบ 3 นี้ ญาณตาม
ความเป น จริ ง ในสั จ จะ 4 อย า งนี้ คื อ นี้ ทุ ก ขอริ ย สั จ นี้
ทุ ก ขสมุ ทั ย ชื่ อว า สั จ ญาณ ญาณที่ เ ป น เครื่ อ งรู กิ จ ที่ ค วรทำ
อยางนี้วา ควรกำหนดรู ควรละในสัจจะเหลานั้นเที่ยว ชื่อวา
กิจญาณ. ญาณเปนเครื่องรูภาวะเเหงกิจนั้นที่ทำแลวอยางนี้วา
กำหนดรูแลว ละไดแลว ดังนี้ ชื่อวา กตญาณ. คำวา มีอาการ
12 ความวามีอาการ 12 ดวยอำนาจอาการสัจจะละ 3 นั้น
คำวา ญาณทัสสนะ คือ การเห็น กลาวคือ ญาณที่เกิดขึ้น
แลวดวยอำนาจวนรอบ 3 อยาง อาการ 12 อยางเหลานี้…67

66
สํ.ม. (แปล) 19/1670/424; ขุ.ป. (แปล) 31/600-602/289-291; วิ.ม. (แปล) 4/16/18.
67
สํ.ส.อ. (แปล) 31/426 ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 35

ทางดาน พระมงคลเทพมุนี ทานไดอธิบายเรื่องมรรค 8 ไตรสิกขา


และ รอบ 3 อาการ 12 เอาไวดังนี68้
. .ขอ ปฏิบตั เิ ปนกลางเปนไฉน ? เห็นชอบ ดำริชอบ กลาววาจาชอบ
การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจไวชอบ ประกอบ
ดวยอวัยวะ 8 ประการ จัดลงเปน 3 คือ ศีล สมาธิ ปญญา
ใหมั่นอยูในศีล สมาธิ ปญญา พระปญจวัคคียรูจักศีลแลว
รูจักสมาธิแลว แตวาปญญายังไมรูจัก เมื่อยังไมรูจักปญญา
พระองคทรงแนะนำพระปญจวัคคียใหรูจักทางแสดงสัจธรรม
ทัง้ 4 อริยสัจธรรมทัง้ 4 ใหฟง ...ทุกขเปนของจริง ควรกำหนดรู
และไดกำหนดรูไ วแลว เหตุเกิดทุกขเปนของจริง ควรละ ไดละแลว
ความดับทุกขเปนของจริง ควรกระทำใหแจง ก็ไดทำใหแจงแลว
ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกขที่เปนของจริงนั้นควรเจริญ ก็ได
เจริญแลวทรงแสดงสัจธรรมทั้ง 4 โดย สัจญาณ กิจญาณ
กตญาณ เชนนี้ พระปญจวัคคียรู เขาใจฟงออกทีเดียว..
22. ถาม : เรื่อง “กิจ 16” ของพระมงคลเทพมุนีถูกตองตรงตามใน
พระไตรปฎกหรือไม ?
22. ตอบ : ถูกตองตรงตามที่กลาวไวในพระไตรปฎก
ประเด็นของ “กิจ 16” นั้นเกี่ยวของกับการพิจารณาอริยสัจ 4
เพื่ อ ขจั ด อาสวกิ เ ลส บรรลุ ธ รรมเป น พระอรหั น ต ดั ง ที่ มี ก ล า วไว ใ น
พระไตรปฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค69 วาครัง้ หนึง่ พระมหาโกฏฐิตะ

68
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 726.
69
สํ.ข. (แปล) 17/310-314/160-162.
36 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ไดเขาไปสอบถามปญหาธรรมกับพระสารีบุตรวา พระภิกษุควรกระทำ
ธรรมเหล า ใดไว ใ นใจโดยแยบคาย พระสารี บุ ต รตอบว า ควรกระทำ
อุปาทานขันธ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ไวในใจ
โดยแยบคาย คือพิจารณาความไมงาม ความไมเที่ยง เปนทุกข และไมใช
ตัวตนของอุปาทานขันธ 5 เหลานั้น ซึ่งจะทำใหบรรลุมรรคผลขั้นสูงขึ้น
ไปตามลำดับดังนี้
1. พระภิกษุผูมีศีล พิจารณาอุปาทานขันธ 5 โดยแยบคายแลว
ยอมบรรลุโสดาปตติผลได
2. พระโสดาบั น พิ จ ารณาอุ ป าทานขั น ธ 5 โดยแยบคายแล ว
ยอมบรรลุสกทาคามิผลได
3. พระสกทาคามี พิจารณาอุปาทานขันธ 5 โดยแยบคายแลว
ยอมบรรลุอนาคามิผลได
4. พระอนาคามี พิ จ ารณาอุ ป าทานขั น ธ 5 โดยแยบคายแล ว
ยอมบรรลุอรหัตผลได
5. พระอรหั น ต แม ไ ม มี กิ จ ที่ จ ะต อ งทำต อ ไป แต เ มื่ อ พิ จ ารณา
อุปาทานขันธ 5 โดยแยบคายเชนนั้นแลว ยอมอยูเปนสุขในปจจุบัน
จะเห็นไดวา กระบวนการสำคัญของการบรรลุธรรม คือการทำ
อุปาทานขันธ 5 ไวในใจโดยแยบคาย โดยมีวิธีการคือ ใหพิจารณา
อริยสัจ 4 ในอุปาทานขันธ 5 เหลานั้น70
...ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เมื่ อ ใดแล เรารู ยิ่ ง ซึ่ ง อุ ป าทานขั น ธ 5
เหลานี้ โดยเวียนรอบ 4 ตามความเปนจริง เมื่อนั้นเราจึง

70
ที.ม. (แปล) 10/ 41/ 30.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 37

ปฏิ ญ าณว า เป น ผู ต รั ส รู ช อบยิ่ ง ซึ่ ง สั ม มาสั ม โพธิ ญ าณอย า ง
ยอดเยี่ยมในโลก...เวียนรอบ 4 อยางไร ? คือ เรารูยิ่งซึ่งรูป
ความเกิดแหงรูป ความดับแหงรูป ปฏิปทาอันใหถึงความดับ
แหงรูป รูย งิ่ ซึง่ เวทนา ฯลฯ รูย งิ่ ซึง่ สัญญา ฯลฯ รูย งิ่ ซึง่ สังขาร ฯลฯ
รูย งิ่ ซึง่ วิญญาณ ความเกิดแหงวิญญาณ ความดับแหงวิญญาณ
ปฏิปทาอันใหถึงความดับแหงวิญญาณ...71
สวนตัวแปรสำคัญของความแตกตางในการพิจารณาขันธ 5 ของ
“พระภิกษุผูมีศีล” กับพระอริยบุคคลทั้ง 4 ระดับ คือ กิเลสที่ลดลงไป
เปนลำดับ ทำใหสามารถพิจารณาธรรมไดสมบูรณยิ่งขึ้นไปตามลำดับ
จนกระทั่งบรรลุธรรมเปนพระอรหันตจึงสามารถพิจารณาธรรมไดอยาง
สมบูรณ ดังที่พระสารีบุตรไดอธิบายใหพระอนุรุทธะฟงดังนี้
ดูกรทานอนุรุทธะ ที่เรียกวา พระเสขะ72 พระเสขะ ดังนี้ ดวย
เหตุเพียงเทาไรหนอบุคคลจึงจะชื่อวาเปนพระเสขะ ? ...เพราะ
เจริญสติปฏฐาน 4 ไดเปนสวนๆ สติปฏฐาน 4 เปนไฉน ?...
บุ ค คลที่ จ ะชื่ อว า เป น พระเสขะ เพราะเจริ ญ สติ ป ฏ ฐาน 4
เหลานี้แล ไดเปนสวนๆ...
...ดูกรทานอนุรุทธะ ที่เรียกวา พระอเสขะ73 พระอเสขะ ดังนี้
ดวยเหตุเพียงเทาไรหนอ บุคคลจึงจะชื่อวาเปนพระอเสขะ ?...

71
สํ.ข. (แปล) 17/ 112/ 58.
72
พระเสขะ คือ ผูยังตองศึกษา ไดแก พระอริยบุคคลที่ยังไมบรรลุอรหัตผล คือ พระโสดาบัน
พระสกทาคามี พระอนาคามี
73
พระอเสขะ คือ ผูไมตองศึกษา เพราะศึกษาเสร็จสิ้นแลว ไดแก บุคคลผูตั้งอยูในอรหัตตผล
คือ พระอรหันต (โดยพระธรรมปฎก)
38 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

เพราะเจริญสติปฏ ฐาน 4 ไดบริบรู ณ สติปฏ ฐาน 4 เปนไฉน ?...


บุคคลที่จะชื่อวาเปนพระอเสขะ เพราะเจริญสติปฏฐาน 4
เหลานี้แล ไดบริบูรณ.74
สำหรับการเห็นและพิจารณาขันธ 5 โดยแยบคาย เพื่อที่จะบรรลุ
เป น พระอริ ย บุ ค คลในแต ล ะระดั บ ดั ง พุ ท ธพจน ที่ น ำเสนอไว ข า งต น
สามารถแสดงเปนแผนภาพไดดังนี้
พระอรหันต
พระอรหันต พิจารณาขันธ 5 โดยแยบคายเสมอ
พิจารณาขันธ 5 โดยแยบคาย
พระอนาคามี (พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)
พิจารณาขันธ 5โดยแยบคาย
พระสกทาคามี (พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)
พิจารณาขันธ 5โดยแยบคาย
พระโสดาบัน (พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)
พิจารณาขันธ 5 โดยแยบคาย
ภิกษุผูมีศีล
(พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)

สำหรั บ คำสอนของพระมงคลเทพมุ นี ที่ เ กี่ ย วกั บ การบรรลุ เ ป น


พระอริยบุคคลนัน้ สามารถสรุปกระบวนการบรรลุธรรมเปนพระอริยบุคคล
หรือ “โสฬสกิจ (กิจ16)” แสดงเปนแผนภาพไดดังนี้

74
สํ.ม. (แปล) 19/ 782-784/ 196-197.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 39

พระอรหันต เขาฌาน 8+ ตากายธรรมพระอนาคา


เห็นอริยสัจ 4 ในกายอรูปพรหม
พระอรหันต (พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)
เขาฌาน8+ ตากายธรรมพระสกทาคา
พระอนาคามี เห็นอริยสัจ 4ของกายพรหม
(พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)
พระสกทาคามี เขาฌาน 8+ ตากายธรรมพระโสดา
เห็นอริยสัจ 4 ของกายทิพย
(พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)
พระโสดาบัน
เขาฌาน 8+ ตากายธรรมโคตรภู
ภิกษุผูมีศีล เห็นอริยสัจ 4 ของกายมนุษย
(พิจารณา อริยสัจ 4 รอบ 3 อาการ 12)

จากแผนภาพ จะเห็นวาพระมงคลเทพมุนีอธิบายการเปนพระ-
อริยบุคคลในระดับตางๆ กระทั่งเปนพระอรหันตดังนี75้
1. ใชตาธรรมกาย (ธรรมจักษุ) พิจารณาเห็นอริยสัจ 4 ในกายมนุษย
(หยาบและละเอียด) ถูกสวนเขาตกศูนยก็เปนพระโสดาบัน
2. ธรรมกายพระโสดาบันเขาฌาน 8 หยุดนิง่ สงบมัน่ คงในฌานนัน้
แลวจึงใชตาธรรมกายพระโสดาบันพิจารณาอริยสัจ 4 ในกายทิพย (หยาบ
และละเอียด) ถูกสวนเขาก็เปนพระสกทาคามี
3. ธรรมกายพระสกทาคามีเขาฌาน 8 หยุดนิ่งสงบมั่นคงในฌาน
นั้น แลวจึงใชตาธรรมกายพระสกทาคามีพิจารณาอริยสัจ 4 ในกายรูป
พรหม (หยาบและละเอียด) ถูกสวนเขาก็เปนพระอนาคามี

75
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 41-43.
40 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

4. ธรรมกายพระอนาคามี เ ข า ฌาน 8 หยุ ด นิ่ ง สงบมั่ น คงใน


ฌานนั้ น แล ว จึ ง ใชตาธรรมกายพระอนาคามี พิ จ ารณาอริ ย สั จ 4 ใน
กายอรู ป พรหม (หยาบและละเอี ย ด) ถู ก ส ว นเข า ก็ เ ป นพระอรหั น ต
ในที่สุด
ซึ่งพระมงคลเทพมุนีทานไดกลาวเอาไวอยางชัดเจนวา กายตางๆ
นี้ คือ อุปาทานขันธ 5 ที่ผูปฏิบัติจะตองละความยึดมั่นถือมั่น โดยการ
พิจารณาอยางแยบคายดวยอริยสัจ 4 จึงจะสามารถบรรลุความเปน
พระอริยบุคคลขจัดกิเลสจนกระทั่งเขาพระนิพพานได ดังนี้
...ขันธ 5 เหลานี้ ที่กลาวในตอนตนวาเปนภาระสำคัญ...สลัด
ขั น ธ ข องมนุ ษ ย อ อกไปติ ด ขั น ธ 5 ของทิ พ ย … ขั น ธ 5 ของ
รูปพรหม…ขันธ 5 ของอรูปพรหม...ตอเมื่อใดถึงกายธรรมจึง
หลุดได หลุดไมมีระแคะระคาย เปนโสดา สกทาคา อนาคา
อรหัต แตกกายทำลายขันธ ก็ไปนิพพาน ทิ้งขันธ 5 คือ รูป
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ของมนุษย ทิพย รูปพรหม
อรูปพรหม...76
ในที่นี้พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ทานยังไดกลาวเพิ่มเติมไว
อี ก ด ว ยว า กระบวนการพิ จ ารณาอริ ย สั จ ดั ง กล า วนี้ มี ทั้ ง สิ้ น 4 รอบ
ในแตละรอบตองเห็นแจงในอริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค
รวมขั้ น ตอนทั้ ง สิ้ น ได 16 ขั้ น ตอน เช น เดี ย วกั น โดยท า นได ก ล า วถึ ง
เรื่องของกิจ 16 นี้ เอาไวดังนี77้

76
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 796.
77
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 200.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 41

ถาหลักฐานเรียกวา โสฬสกิจ เรียกวาแคนี้สำเร็จโสฬสกิจแลว


โสฬสกิจแปลวากระไร กิจ16 ในเพลงที่เขาวางไวเปนหลักวา
เสร็จกิจ16 ไมตกกันดาร เรียกวานิพพานก็ได นี่แหละเสร็จ
กิจ 16 ละทุกขสัจ สมุทยั สัจ นิโรธสัจ มรรคสัจ ในกายมนุษย 4
ทุกขสัจ สมุทัยสัจ นิโรธสัจ มรรคสัจ ในกายทิพย 4 เปน 8
ทุกขสัจ สมุทยั สัจ นิโรธสัจ มรรคสัจ ในกายรูปพรหม 4 เปน 12
ทุกขสัจ สมุทัยสัจ นิโรธสัจ มรรคสัจ ในกายอรูปพรหม
อีก 4 มันก็เปน 16 นี้เสร็จกิจทางพุทธศาสนาทางพระอรหัต
แคนี้ นี้ทางปฏิบัติเทศนาดังนี้เปนทางปฏิบัติไมใชทางปริยัตินี่
ทางปฏิบัติอันนี้แหละพระพุทธศาสนาในทางปริยัติดังแสดง
แลวในตอนตนพุทธศาสนาในทางปฏิบัติดังแสดงแลวในบัดนี้…
จากคำกลาวเบื้องตนทานไดเนนย้ำวา “กิจ 16” นี้เปนทางปฏิบัติ
ในพระพุทธศาสนา เปนการบรรลุธรรมของพระอริยบุคคลในแตละระดับ
ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณาหลั ก การในพระไตรป ฎ ก และแนวคำสอนของ
พระมงคลเทพมุนี จึงมีความสอดคลองกันไดดังนี้
มีการพิจารณา 4 ระดับ : ทัง้ ในพระไตรปฎก และพระมงคลเทพมุนี
ไดอธิบายถึงกระบวนการบรรลุธรรมวาเปนการพิจารณาอริยสัจ 4 เพื่อ
เปนพระอริยบุคคล 16 ขั้นตอน เขาถึงการเปนพระอริยบุคคลระดับ
ตางๆ คือ
รอบที่ 1 เห็นแจงในอริยสัจ 4 รอบเพื่อบรรลุเปนพระโสดาบัน
รอบที่ 2 เห็นแจงในอริยสัจ 4 รอบเพื่อบรรลุเปนพระสกทาคามี
รอบที่ 3 เห็นแจงในอริยสัจ 4 รอบเพื่อบรรลุเปนพระอนาคามี
รอบที่ 4 เห็นแจงในอริยสัจ 4 เพื่อบรรลุเปนพระอรหันต
42 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ใชหลักอริยสัจ 4 เพื่อพิจารณา : ในพระไตรปฎก จากที่ไดศึกษา


มาแลววาบุคคลแตละระดับ พิจารณาขันธ 5 โดยแยบคายนั้นหมายถึง
การพิจารณา 4 รอบ ดวยอริยสัจ 4 ดานพระมงคลเทพมุนี ก็ไดอธิบาย
ไวเชนเดียวกัน “กิจ 16” ที่พระมงคลเทพมุนีไดกลาวสอนไว จึงถูกตอง
ตรงตามในพระไตรปฎก
23. ถาม : แทจริงแลวการปฏิบัติตามแนวทางของพระมงคลเทพมุนี
เป น ทั้ ง สมถะและวิ ป ส สนา แล ว ทำไมจึ ง มี ผู ค นมั ก
กลาววาการฝกสมาธิเพื่อการเขาถึงพระธรรมกายเปน
เพียงสมถะเทานั้น ?
23. ตอบ : ถูกตองทีว่ า การปฏิบตั ติ ามแนวทางของพระมงคลเทพมุนี
เป น ทั้ ง สมถะและวิ ป ส สนา ดั ง จะเห็ น ได จ ากการสอนที่ เ ป น รู ป แบบ
มาตรฐานตรงตามในพระไตรปฎก คือเริ่มปฏิบัติสมาธิใหไดในระดับ
เบื้องสูง (ระดับฌาน) แลวจึงตอดวยรูปฌาน และอรูปฌาน รวมเรียกวา
ฌานสมาบั ติ 8 จากนั้ น จึ ง ใช ส มถะเป น บาทในการเจริ ญ วิ ป ส สนา
จนกระทั่งบรรลุธรรมเปนพระอริยบุคคลตอไป จึงกลาวไดวาพระมงคล-
เทพมุนีไดสอนตามหลักการในพระไตรปฎก และวิชชาธรรมกายเปน
ทั้งสมถะและวิปสสนา
แตสาเหตุที่มีผูเขาใจวาการฝกสมาธิเพื่อการเขาถึงพระธรรมกาย
เปนเพียงสมถะ เนื่องจากการสอนสมาธิของทานนั้น จำเปนตองแบง
ลูกศิษยออกเปน 2 กลุมใหญๆ คือ
1) กลุมที่เพิ่งเริ่มปฏิบัติ หรือ ยังมีผลการปฏิบัติระดับเบื้องตนใน
ขั้นสมถภาวนา
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 43

2) กลุมที่มีผลการปฏิบัติธรรมระดับสูง ในขั้นของวิปสสนาภาวนา
โดยกลุ ม ที่ เ พิ่ ง เริ่ ม ปฏิ บั ติ นั้ น ท า นสอนคราวละจำนวนมาก
ในศาลาปฏิบัติธรรม หรือ ศาลาการเปรียญในทุกวันพฤหัสบดี เปดให
สาธุชนทั่วไปจำนวนมากมารวมปฏิบัติธรรม ณ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ78
สวนการสอนวิปสสนาภาวนาขั้นสูงนั้น ทานสงวนไวเฉพาะ
กลุมบุคคลที่มีผลการปฏิบัติธรรมดีเยี่ยม ใหผลัดกันเขาศึกษาวิปสสนา
ภาวนาตลอด 24 ชั่วโมง โดยแบงกลุมผูปฏิบัติออกเปน 2 กลุม สลับกัน
เขานั่งปฏิบัติธรรมคราวละ 6 ชั่วโมง อยางตอเนื่อง ทานเรียกสถานที่
ปฏิบัติธรรมแหงนั้นวา “โรงงานทำวิชชา”79 และเรียกการปฏิบัติวิปสสนา
ภาวนาอยางเขมขนดวยภาษาของทานวา “ทำวิชชา”
ดังนั้นคำสอนของทานจึงประกอบดวยความรูทั้งภาคปริยัติและ
ปฏิบัติโดยการปฏิบัตินั้นทานไดสอนทั้งในระดับสมถะและวิปสสนาซึ่ง
ทานไดแบงกลุมผูเรียนเอาไวดังกลาว เพื่อใหผูปฏิบัติสามารถฝกฝน และ
ปฏิบัติธรรมไดเหมาะสมกับระดับพื้นฐานของแตละกลุมบุคคล
แตเนื่องจากคนสวนนอยเทานั้นที่จะสามารถปฏิบัติไดจนถึง
ขั้นวิปสสนา การสอนโดยทั่วไปจึงสอนในระดับสมถะกับสาธุชนหมูมาก
จึ ง ทำให ค นบางกลุ ม ที่ เ ข า มาศึ ก ษาเพี ย งผิ ว เผิ น อาจเข า ใจผิ ด และ
ดวนสรุปไปวาวิชชาธรรมกายเปนสมาธิภาวนาในขั้นสมถะเทานั้น ทั้งที่
ในความเปนจริงแลวเปนการปฏิบัติทั้งสมถภาวนาและวิปสสนาภาวนา

78
“บุคคลยุคตนวิชชา เลม 3” หนา 53.
79
“บุคคลยุคตนวิชชา เลม 3” หนา 5.
44 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ศูนยกลางกาย
24. ถาม : คำสอนของพระมงคลเทพมุ นี (สด จนฺ ท สโร) เรื่ อ ง
การปฏิบัติสมาธิดวยการหยุดใจไวในกลางตัว ถูกตอง
ตามพระไตรปฎกหรือไม ?
24. ตอบ : การฝกสมาธิเพื่อการเขาถึงพระธรรมกาย ตามแนวทาง
ของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) นั้น ทานไดแนะนำการวางใจไว
ภายในกายที่ศูนยกลางกายฐานที่ 7 ซึ่งในพระไตรปฎกก็ไดกลาวเอาไว
ชัดเจนเรื่องการวางใจไวในตัวตรงกันดังตัวอยางดานลาง
1. ในโรหิตัสสสูตร พระพุทธองคทรงระบุวา พระองคทรงบัญญัติ
โลก เหตุเกิดแหงโลก ความดับของโลก และทางดำเนินถึงความดับ
ของโลก ไวในอัตภาพนี้ คือ รางกาย ที่ยาววา หนาคืบ กวางศอกนี้80
ซึ่ ง อรรถกถาอธิ บ ายว า หมายถึ ง ทรงบั ญ ญั ติ อ ริ ย สั จ 4 ไว ใ นกายที่
ประกอบดวยมหาภูตรูป 4 นี้เทานั้น81 แสดงวา การดำเนินจิตเขาสู
ภายในกายนั้น เปนทางพนทุกข สวนการสงจิตออกภายนอกไมสามารถ
นำไปสูความพนทุกขได
2. พุทธดำรัสหลายแหงในพระไตรปฎก ชี้ชัดวา พระพุทธองค
ทรงสอนใหวางใจไวภายในตัว และทรงแนะนำใหวางใจไวภายในสมาธิ
นิมิตเดิมที่เกิดขึ้นที่ในตัวเรื่อยไป ซึ่งตรงกันกับการดำเนินจิตเขาไปใน
กลางของกลางตามคำสอนของพระมงคลเทพมุนี เชน

80
สํ. ส. 15/298/89.
81
Samฺ-a. 1.117.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 45

- เมื่อขมจิตไวภายในผัสสายตนะ 6 จิตยอมหยุดนิ่งอยูภายใน
และมีธรรมหนึ่งผุดขึ้น82
- การทำจิตหยุดนิ่งไวภายใน ใหธรรมหนึ่งผุดขึ้น เปนทางให
บรรลุสุญตสมาบัต83ิ
- ทรงสอนใหเจริญสติปฏฐาน 4 โดยหยุดใจไวภายในตัว ไมให
ซัดสายออกไปนอกตัว และมีสติรูตัววากำลังตามเห็นกายในกาย เปนตน
ดวยความเพียร มีสติสัมปชัญญะ และมีความสุข84
- พระพุ ท ธองค เ องทรงประคองจิ ต ให ห ยุ ด นิ่ ง เป น สมาธิ ไ ว
ภายในตัว และภายในสมาธินิมิตเดิมที่เกิดขึ้น ทรงดำรงจิตไวอยางนี้
ตลอดเวลา แมในเวลาที่ทรงแสดงธรรมตั้งแตตนจนจบก็ทรงหยุดใจนิ่งไว
ภายในสมาธินิมิตเดิมที่เกิดขึ้นไปเรื่อยๆ85
- ทรงสอนวา เมื่อมีสมาธินิมิตเกิดขึ้นแลว ใหทำใจหยุดนิ่งไว
ภายในสมาธินิมิตเดิมนั้น ภายในตัว86
ตัวอยางเหลานี้แสดงวา พระพุทธองคทรงสอนใหทำสมาธิ โดย
หยุดใจไวภายในตัว จึงจะประคองจิตใหสงบตั้งมั่น เกิดดวงธรรมหรือ
สภาวธรรมอื่น ผุดขึ้นภายใน ทั้งยังทรงสอนใหหยุดใจตอไปในสมาธินิมิต
ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายในตั ว ไปเรื่ อ ยๆ ซึ่ ง สอดคล อ งกั น กั บ การหยุ ด ใจไว ใ น
ศูนยกลางกายและหยุดในหยุด ในกลางของกลางไปเรื่อยๆ ดังที่กลาวไว
ในวิชชาธรรมกาย
82
สํ.สฬ. 18/344/244.
83
ม.อุ. 14/346/236.
84
สํ.ม. 19/717-722/226-7.
85
ม.อุ. 12/431/458-9.
86
ม.อุ. 14/347/237.
46 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

25. ถาม : ยังมีหลักฐานเรื่องศูนยกลางกายในคัมภีรทางพระพุทธ


ศาสนาอื่นๆ อีกหรือไม ?
25. ตอบ : มี ในพระไตรปฏกของจีนนั้นก็มีบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับ
การปฏิบัติธรรมที่เนื่องดวยศูนยกลางกายไวในหลายคัมภีร ซึ่งเปนคัมภีร
ทีแ่ ปลในชวงทีพ่ ระพุทธศาสนาเขามาในประเทศจีนใหมๆ (ยุคฮัน่ ตอนปลาย)
ยกตัวอยางเชน “คัมภีรตาอันปนโสวอี้จิง” (佛說大安般守意經, T602)
และคัมภีรอินฉือรูจิงจูซึ่งเปนคัมภีรของนิกายสรรวาสติวาทไดกลาวถึง
วิธีการฝกสมาธิแบบอานาปานสติโดยแนะนำใหผูปฏิบัติวางใจไวภายใน
กลางทองหรือกลางมหาภูตรูป 4

เห็นธรรม - ติดนิมิต
26. ถาม : บางคนบอกวา การเห็นธรรมกายหรือเห็นสิ่งตางๆ เชน
ดวงใส ความสวาง องคพระ ในแบบของวิชชาธรรมกาย
ไมมีในพระพุทธศาสนาดั้งเดิม แตเปนนิมิตคือภาพที่
จิตปรุงแตงขึ้นในเวลาฝกสมาธิ ความจริงเปนอยางไร ?
26. ตอบ : การเห็นในสมาธินั้นมีหลายระดับ ที่เปนนิมิตเลื่อนลอย
ที่จิตปรุงแตงขึ้นเอง ทำใหยึดติด และเปนอุปสรรคตอมรรคผลก็มี และ
ที่เปนการเห็นแจงตามความเปนจริงดวยญาณทัสนะและเอื้อประโยชน
ต อ การบรรลุ มรรคผลก็ มี ส ว นที่ ก ล า วถึ ง ในวิ ช ชาธรรมกายว า “ทั้ ง รู
ทั้งเห็นดวยธรรมกาย” นั้น เปนการเห็นแจงและรูแจงตามความเปนจริง
ดวยญาณทัสนะและเอื้อตอการบรรลุมรรคผล เปนสิ่งที่พระพุทธองคทรง
แนะนำ ดังที่บันทึกไวในพระไตรปฎกบาลีและคัมภีรพุทธโบราณ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 47

27. ถาม : ที่บอกวา “การเห็น” เปนประโยชนตอการบรรลุมรรคผล


ไดนั้น มีหลักฐานในคัมภีรทางพระพุทธศาสนาหรือไม ?
27. ตอบ : มีอยูหลายแหง จะขอยกมาเปนตัวอยางเพียงบางสวน
ตั ว อย า งแรก ในอุ ป กิ เ ลสสู ต ร มั ช ฌิ ม นิ ก าย อุ ป ริ ป ณ ณาสก87
กลาวถึงพระภิกษุ 3 รูป คือ พระอนุรทุ ธะ พระนันทิยะ และพระกิมพิละ
ที่เขาไปบำเพ็ญจิตตภาวนาอยูในปาดวยกัน พระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จ
มาเยี่ยม และถามถึงความกาวหนาในการฝกสมาธิภาวนาของพวกทาน
ก็ไดคำตอบวา เห็นรูปและแสงสวาง แตอยูไดไมนานก็หายไป พระพุทธ
องคจึงตรัสเลาถึงประสบการณในการเจริญสมาธิภาวนาของพระองคเอง
กอนตรัสรูวา เมื่อกอนพระองคก็ทรงเปนแบบนี้เหมือนกัน แตเมื่อทรง
สังเกตพบวาเปนเพราะอุปกิเลส 11 ประการ88 ที่เปนอุปสรรคตอสมาธิ
จึงทรงละอุปกิเลสเหลานั้นไปทีละอยางจนหมดสิ้น ทำใหมีสมาธิมั่นคง
และทำให “มีจักษุมาก” จึง “เห็นรูปและแสงสวางไดมาก” เมื่อใสใจที่จะ
เห็น89 พระองคจึงทรงเจริญฌานที่ 1-4 สลับกันไป ทำใหในที่สุดไดตรัสรู
ธรรมเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา

87
ม.อุ. 14/451-466/301-310.
88
อุปกิเลส 11 ประการที่เปนอุปสรรคตอสมาธิ ไดแก ความลังเลสงสัย (วิจิกิจฉา) ความไมมี
ใจจดจอ (อมนสิการ) ความงวงเหงาหาวนอน (ถีนมิทธะ) ความหวาดเสียว (ฉัมภิตัตตะ)
ความตื่นเตน (อุพพิละ) ความชั่วหยาบ (ทุฏุลละ) ความเพียรจัดเกินไป (อัจจารัทธวิริยะ)
ความเพียรยอหยอนเกินไป (อติลีนวิริยะ) ความอยาก-ความคาดหวัง (อภิชัปปา) ความ
สำคัญสิ่งตางๆ วาตางกัน (นานัตตสัญญา) และความเพงรูปเกินไป (อภินิชฌายิตัตตะ)
89
คือ ถาใสใจที่จะเห็นรูปก็เห็นรูปได ถาใสใจที่จะเห็นแสงสวางก็เห็นแสงสวางได ถาใสใจที่จะ
เห็นทั้งสองอยางก็เห็นไดทั้งสองอยาง เปนตน
48 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

เนื้อหาของพระสูตรนี้แสดงไวชัดเจนวา การทำสมาธิใหมั่นคง โดย


แกไขอุปสรรคของสมาธิทั้ง 11 ประการ และทำใหเห็นรูปและแสงสวาง
ไดมากนั้นเปนสิ่งที่ดี และเอื้อประโยชนตอการตรัสรู
ตัวอยางที่สอง ในอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต พระสัมมาสัมพุทธเจา
ก็ทรงสอนพระภิกษุสงฆวา การฝกจิตจนสามารถเห็นจิตหรือรับรูจิตได
อยางชัดเจนนั้นมีความจำเปน เพราะตราบใดที่ยังไมฝกฝนใหดีจนเห็น
จิตไดชัดเจน จิตนั้นยอมนำความเสียหายมาใหไดมากมาย แตถาฝกฝนดี
จนจิตปรากฏชัดเจนแลว จิตดวงนี้ยอมนำประโยชนที่ยิ่งใหญมาใหได
เหมือนกัน90 พระสูตรนี้จึงเปนหลักฐานอีกชิ้นหนึ่งที่บงบอกถึงความ
สำคัญของการเห็นดวยสมาธิ
ตัวอยางที่สาม ในอังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต91 พระพุทธองคตรัส
เลาถึงการปฏิบัติสมาธิภาวนาของพระองคเองวา ตั้งแตกอนที่จะตรัสรู
ก็ทรงเห็นและรูเรื่องของเทวดาดวยญาณทัสนะที่บริสุทธิ์ยิ่งขึ้นไปตาม
ลำดับ จากเดิมที่ญาณทัสนะยังไมบริสุทธิ์มาก ก็ยังมีความเห็นและความ
รูไมมาก เมื่อไมประมาทและปรารภความเพียรยิ่งขึ้นจนมีญาณทัสนะ
บริสุทธิ์ขึ้น ก็ทรงเห็นแจงและรูแจงไดมากขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดก็ตรัสรู
เปนพระสัมมาสัมพุทธเจาได ดังนี้
1. ตอนแรก เห็นแตแสงสวาง ยังไมเห็นรูป
2. ตอมา เห็นทั้งรูปและแสงสวาง
3. สามารถเจรจาไตถามกับเทวดาไดดวย
4. หยั่งรูไดดวยวาเทวดาเหลานั้นเปนเทพจำพวกใด
90
องฺ. เอก. 20/26-27/6.
91
องฺ. อฏฐก. 23/161/311.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 49

5. หยั่งรูดวยวา ดวยวิบากของกรรมใดทำใหพวกเขาจุติจากโลก
มนุษยแลวไปเกิดเปนเทวดาที่นั่นได
6. รูแจมแจงขึ้นอีกวา เทวดาเหลานั้นมีอาหารแบบใด เสวยทุกข
สุขอยางใร
7. รูแจมแจงเพิ่มขึ้นวา พวกเขามีอายุยืนแคไหน จะอยูเปนเทวดา
ที่นั่นถึงเมื่อไร
8. ทรงรูแจมแจงขึ้นอีกวา พระองคเคยอยูรวมกับเทวดาเหลานี้
หรือไม
แลวทรงสรุปวา ตราบใดที่ญาณทัสนะ 8 ระดับนี้ยังไมบริสุทธิ์ดี
ก็จะไมทรงยืนยันวาพระองคเองทรงตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
(แตบัดนี้ทรงยืนยันแลววาตรัสรูเพราะทรงมีญาณทัสนะทั้ง 8 นี้บริสุทธิ์
แจมแจงดีแลว) และญาณทัสนะไดบังเกิดขึ้นแกพระองคดวยวา จิตของ
พระองคหลุดพนแลว ชาตินี้เปนพระชาติสุดทาย ภพใหมจะไมมีอีกตอไป
หลักฐานเหลานี้ยืนยันวา “การเห็น” ดวยญาณทัสนะอันบริสุทธิ์นั้น
เปนเงื่อนไขสำคัญในการตรัสรูธรรม เปนสิ่งที่จะตองฝกฝนใหเกิดมีขึ้น
เพื่อประโยชนแกการบรรลุมรรคผล
28. ถาม : ขอคำอธิบายเพิ่มเติมวา “การเห็น” จะเปนประโยชนตอ
การบรรลุ ม รรคผลได อ ย า งไร ทำไมต อ งฝ ก สมาธิ จ น
สามารถ “เห็น” ไดชัดเจนแจมแจงอยางนั้น ?
28. ตอบ : พระพุทธองคทรงสอนใหฝกสมาธิใหมั่นคง จนมีจักษุ คือ
ดวงตา หรือการเห็นที่แจมแจง และญาณทัสนะ คือความรูที่ชัดเจน
แจมแจง เพื่อเปนเครื่องมือสำคัญในการเห็นแจงและรูแจงความเปนจริง
50 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ของขันธ 5 ดังพุทธพจนที่วา
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงฝกสมาธิเถิด ภิกษุที่มีจิตตั้งมั่นแลว
ยอมรูเห็นตามความเปนจริง รูเห็นอะไรตามความเปนจริง ?
(ยอมรูเห็น) การเกิดและการดับของรูป... เวทนา... สัญญา...
สังขาร... วิญญาณ (ตามความเปนจริง)92
29. ถาม : แลวการรูแจงและเห็นแจงในความเปนจริงของขันธ 5
จำเปนอยางไร ? ทำไมจึงตองรูเห็น ?
29. ตอบ : เพราะการรู แ จ ง และเห็ น แจ ง ความเป น จริ ง ของขั น ธ 5
จะนำไปสูการดับกิเลสอาสวะ และบรรลุมรรคผลนิพพาน ดังที่มีพุทธ-
ดำรัสในสัง ยุตตนิกาย นิทานวรรควา ผูที่ทั้งรูทั้งเห็นขันธ 5 รวมทั้ง
การเกิดและการดับของขันธ 5 เทานั้นจึงจะหมดกิเลสอาสวะได
ภิกษุทั้งหลาย เรากลาวถึงความสิ้นอาสวะทั้งหลายสำหรับ
ผูที่รูอยู ผูที่เห็นอยู ไมใชสำหรับผูที่ไมรู ไมใชสำหรับผูที่ไมเห็น
เรากลา วถึ ง ความสิ้นอาสวะทั้งหลายสำหรั บผู ที่ รู เ ห็ น อยู ว า
นี้คือรูป นี้คือเหตุเกิดแหงรูป นี้คือความดับไปแหงรูป นี้คือ
เวทนา... นี้คือสัญญา... นี้คือสังขาร... นี้คือวิญญาณ นี้คือเหตุ
เกิดแหงวิญญาณ นี้คือความดับไปแหงวิญญาณ อยางนี้แล
เรากลาวถึงความสิ้นอาสวะทั้งหลายสำหรับผูที่รูอยู ผูที่เห็น
อยู (เทานั้น)93

92
สํ. ข. 17/27/18.
93
สํ.นิ. 16/68/35.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 51

ขอความเดียวกันนี้ พบในคัมภีรพ ทุ ธโบราณภาษาคานธารี อายุราว


พ.ศ. 68394 และพบในพระไตรปฎกภาษาจีนดวย95 บงบอกวา พระพุทธ-
ศาสนาดั้งเดิมที่เผยแผไปในดินแดนตางๆ ที่หางไกลกัน ยังคงรักษา
หลักการเดียวกันไววา การที่จะกำจัดกิเลสอาสวะไดนั้นตองทั้งรูแจงและ
เห็นแจงความเปนจริงของขันธ 5
30. ถาม : แลวการรูแจง-เห็นแจงความเปนจริงของขันธ 5 ที่ทำให
บรรลุมรรคผลนิพพาน อยางที่กลาวไวในพระไตรปฎก
และคัมภีรพุทธโบราณนี้ ตรงกันกับการเห็นในวิชชา
ธรรมกายหรือไม ?
30. ตอบ : ตรงกั น เพราะในการบรรลุ มรรคผลนิ พ พานที่ ก ล า วถึ ง
ในวิชชาธรรมกายนั้น พระมงคลเทพมุนีอธิบายไววา อาศัยจักษุและ
ญาณทัสนะของธรรมกาย พิจารณาอริยสัจสี่ (ทุกข เหตุเกิดแหงทุกข
การดั บ ทุ ก ข และทางให ถึ ง การดั บ ทุ ก ข ) ให เ ห็ น แจ ง และรู แ จ ง ความ
เปนจริงของขันธ 5 แตละชั้นที่ละเอียดเขาไปตามลำดับจากหยาบสุด
ภายนอกไปถึ ง สวนละเอียดที่อยูภายใน จนหลุ ด พ น จากความยึ ด มั่ น
ถือมั่นในขันธ 5 ทุกระดับ เขาถึงกายธรรมอรหัต เปนพระอรหันต
ธรรมกาย เข า ชั้ น โคตรภู จิ ต เรี ย กว า โคตรภู บุ ค คล โคตรภู
บุ ค คลนี้ เ ดิ น สมาบั ติ เพ ง อริ ย สั จ สี่ เ ป น อนุ โ ลม ปฏิ โ ลม จน
หลุดพนจากกิเลสพวกสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส
แลวตกศูนยวบั กลับเปนพระโสดาบัน ฯลฯ แลวกายพระอนาคามี
เดินสมาบัติเพงอริยสัจ 4 ทำนองเดียวกันนั้นตอไป ถึงขีดสุด
94
Glass and Allon 2007: 140.
95
T 24 no. 1448: 31b22–32a17.
52 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ละกิเลสไดอีก 5 คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ


อวิ ช ชา จึ ง เลื่ อ นขึ้ น จากพระอนาคามี เป น พระอรหั น ต
จิตของพระองคบริสุทธิ์ผุดผอง ปราศจากกิเลสทั้งมวล จึงได
พระเนมิตกนามวา อรหํ96
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เรียกวา เบญจขันธ คือ
ขั น ธ 5 ...การพิ จ ารณาโดยสามั ญ ลั ก ษณะ พิ จ ารณาไปๆ
ละเอียดเขา ซึง้ เขาทุกที จนเห็นชัดวานีม่ ใิ ชตวั ตน เรา เขาอะไร
สักแตวาธาตุประชุมตั้งขึ้นแลวก็ดับไป ตาธรรมกายนั้นเห็น
ชัดเจน เห็นเกิด เห็นดับติดกันไปทีเดียว คือ เห็นเกิดดับๆ ๆ ๆ
คูกันไปทีเดียว... นี่แหละเห็นเกิดดับๆ ตาธรรมกายเห็นอยางนี้
เห็นเชนนี้จึงปลอยอุปาทานได
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณอีก 4 กองนัน้ ก็ทำนองเดียวกัน
เห็นเกิดดับๆ ยิบไป เชนเดียวกับเห็นในรูป...97

96
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 42.
97
“รวมพระธรรมเทศนา พระมงคลเทพมุนี” หนา 25.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 53

31. ถาม : การรูเห็นการเกิดดับของขันธ 5 ดวยตาและญาณของ


ธรรมกายเปนประโยชนตอการบรรลุมรรคผลก็จริง แตที่
มีการพูดถึงธรรมกายเขาสมาธิไปดู หรือไปรูเ ห็นเรือ่ งอืน่ ๆ
เชน เรื่องเทวดา เปนตนนั้น เปนเรื่องที่ไมเปนประโยชน
ตอการบรรลุมรรคผล ยอมทำใหเสียเวลาและเนิ่นชาจาก
การบรรลุมรรคผลมิใชหรือ ?
31. ตอบ : การอาศัยตาและญาณของธรรมกายไปรูเห็นเรื่องราวอื่นๆ
เชนเรื่องของเทวดา เปนวิธีการหนึ่งในการฝก ฝนญาณทัสนะ ซึ่งเปน
ประโยชนตอการบรรลุมรรคผลไดเชนเดียวกัน ดังพระพุทธองคเองเมื่อ
ยังทรงเปนพระโพธิสัตวอยู ก็ทรงฝกฝนจิตตภาวนา จนรูเห็นเรื่องของ
เทวดาไดละเอียดชัดเจนยิ่งขึ้นดวยญาณทัสนะที่บริสุทธิ์ขึ้นเชนเดียวกัน
ซึ่งพระองคตรัสไวเองวา เมื่อญาณทัสนะเหลานั้นบริสุทธิ์ดีแลว จึงทรง
ปฏิญาณตนวาเปนสัมมาสัมพุทธะ เพราะทรงเห็นแจงและรูแจงชัดเจนวา
ภพชาตินี้เปนชาติสุดทายของพระองค วัฏสงสารของพระองคสิ้นสุดแลว
ดังตัวอยางที่ 3 ในคำตอบที่ 27 เรื่องการเห็นเปนประโยชนตอการบรรลุ
มรรคผล ขางตน
32. ถาม : การที่ ใ นวิ ช ชาธรรมกายกล า วถึ ง การเห็ น ดวงบุ ญ -
ดวงบาปที่เปนดวงใสสวาง หรือดวงสีดำ เปนตนเปน
คำสอนในพระพุ ท ธศาสนาหรื อ ไม ? มี ห ลั ก ฐานใน
คัมภีรพุทธหรือไม ?
32. ตอบ : การเห็ น บุ ญ -บาป ธรรมขาว-ธรรมดำ เป น คำสอนของ
พระพุ ท ธศาสนา และมี ห ลั ก ฐานในพระไตรป ฎ กบาลี ดั ง เช น ใน
อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต มีเรื่องบันทึกวา พระภิกษุรูปหนึ่งเขามา
54 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

เรียนถามพระอานนทวา การที่พระพุทธองคทรงพยากรณพระเทวทัตวา
จะตองตกนรกอยูตลอดกัปนั้น พระองคทรงรูเห็นจริงหรือไม หรือวาตรัส
ตามหลักการ พระอานนทไดนำเรื่องนี้กราบทูลพระสัมมาสัมพุทธเจา
พระองคจึงตรัสตอบวา เปนเพราะพระองคทรงเห็นแลว วาในใจของพระ
เทวทัตไมเหลือธรรมขาวอยูเลยแมเพียงนิดเดียว จึงไดทรงพยากรณ
อยางนั้น
อานนท ...หากเราได เ ห็ น ธรรมขาวของเทวทั ต แม เ พี ย งเท า
หยดน้ำที่สลัดออกจากปลายขนทรายอยูตราบใด ตราบนั้นเรา
ก็ ยั ง ไม พ ยากรณ ว า เทวทั ต จะต อ งเกิ ด ในอบาย ตกนรกอยู
ตลอดกัป เยียวยาไมไดแตเพราะเราไมไดเห็นธรรมขาวของ
เทวทัตเลยแมเพียงเทาหยาดน้ำที่สลัดออกจากปลายขนทราย
เราจึงไดพยากรณวาเทวทัตจะตองเกิดในอบาย ตกนรก ดำรง
อยูตลอดกัป เยียวยาไมได...98
คำวา “(หากวา) เราไดเห็นแลว” ในขอความขางบนนี้ ใชศัพทบาลี
วา “อทฺทสํ” ซึ่งเปนศัพทที่ใชกับการเห็นแบบทั่วๆ ไป จึงสื่อถึงการเห็น
แบบชัดแจงเหมือนเห็นดวยตา และแสดงชัดเจนวา การเห็นแจงกับการรู
แจงนั้นมาคูกัน และการเห็นบุญ-บาป หรือ ธรรมขาว-ธรรมดำ ที่กลาวถึง
ในวิชชาธรรมกายนั้นเปนคำสอนที่ถูกตองในพระพุทธศาสนา

98
องฺ. ปฺจก. 22/333/451.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 55

33. ถาม : แลวการเห็น “พระพุทธเจา” แบบที่ในวิชชาธรรมกาย


เรียกวาเห็น “ธรรมกาย” นั้น เปนคำสอนของพระพุทธ
ศาสนาหรือไม ? มีหลักฐานในคัมภีรพุทธไหม ?
33. ตอบ : เปนคำสอนในพระพุทธศาสนา และมีกลาวไวในคัมภีร
พุ ท ธต า งๆ ด ว ย เช น พระไตรป ฎ กบาลี บ างตอนระบุ ถึ ง การเห็ น
พระพุทธเจาดวยใจไดชัดเจนเหมือนเห็นดวยตา ดังที่พระปงคิยเถระเลา
ใหพราหมณพาวรีฟงวา ทานมีใจอยูกับพระพุทธองคและเห็นพระพุทธ
องคไดชัดเจนทั้งวันและคืนเสมือนเห็นดวยตา
ทานพราหมณ อาตมายอมเห็นพระพุทธเจาพระองคนั้นดวย
ใจเหมือนเห็นดวยตา อาตมาเปนผูไ มประมาทตลอดคืนและวัน
นมั ส การอยู ต ลอดคื น และวั น อาตมาย อ มสำคั ญ การไม อ ยู
ปราศจากพระพุทธเจานั่นแล99
ในอรรถกถาบาลีมีคำอธิบาย “การเห็นพระพุทธเจาดวยใจ” ของ
พระอริ ย สาวกว า เป น ”การเห็ น ธรรมกาย” และมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ
การบรรลุมรรคผล
เพราะพระผู มี พ ระภาคเจ า พระองค นั้ น เป น ธรรมกาย เป น
พระสัมมาสัมพุทธะ อันขาพเจาเห็นแลวดวยการเห็นอริยธรรม
ที่ตนไดบรรลุ ฉะนั้นรางกายนี้จึงเปนที่สุด ดวยวาพระผูมี-
พระภาคพุทธเจาและพระอริยะอื่นๆ ยอมไดชื่อวาขาพเจาได
เห็นแลวดวยการเห็นอริยธรรม ไมใชดวยเพียงเห็นรูปกาย100

99
ขุ.จูฬ. 30/624/301.
100
เถรี.อ. 35.
56 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ข อ ความว า “พระผู มี พ ระภาคพระองค นั้ น อั น เราเห็ น แล ว ”


หมายความวา เราไดเห็นพระผูม พี ระภาคเจาผูต รัสรูเ องโดยชอบ
พระองคนั้นโดยประจักษดวยดวงตาคือญาณ โดยการเห็ น
โลกุตรธรรมที่ไดเห็นแลวดวยตนเอง101
การที่ ผู บ รรลุ ธ รรมสามารถมองเห็ น พระพุ ท ธเจ า ด ว ยใจอย า ง
ชัดเจนเสมือนเห็นดวยตา ซึ่งเปนการเห็นพระธรรมกาย จึงเปนเหตุแหง
การสิน้ สุดวัฏสงสารนี้ เปนหลักการเดียวกันกับทีก่ ลาวไวในวิชชาธรรมกาย
34. ถาม : บางคนบอกวา แมจะเปนการเห็นดวยญาณทัสนะก็ตาม
ก็ ท ำให ยึ ด ติ ด และเป น อุ ป สรรคต อ มรรคผลได เ ช น กั น
แลวการเห็นที่กลาวไวในวิชชาธรรมกายนั้นเปนการติด
นิมิต จริงหรือไม ?
34. ตอบ : ที่บอกวา แมจะเปนการเห็นดวยญาณทัสนะก็อาจทำให
ยึดติดและเปนอุปสรรคตอมรรคผลไดนั้น เปนสิ่งที่เปนไปได แตกระนั้นก็
ไมไดหมายความวา การเห็นที่กลาวไวในวิชชาธรรมกายเปนการติดนิมิต
เพราะการเห็นกับการยึดติดเปนคนละเรื่องกัน
นอกจากนี้ ในการสอนธรรมปฏิบัติเพื่อการเขาถึงพระธรรมกาย
ครูผูสอนยังแนะนำใหทำตัวเปนเพียง “ผูดู” โดยไมปรุงแตง จึงจะทำให
ธรรมปฏิบัติมีความกาวหนาไปตามลำดับและยังสอนวา “หยุด เปน
ตั ว สำเร็ จ ตั้ ง แต เ บื้ อ งต น จนเป น พระอรหั น ต ” ซึ่ ง หมายถึ ง ให รั บ รู
ประสบการณตางๆ ที่เกิดขึ้นดวยจิตที่เปนกลาง ไมมีการปรุงแตง ซึ่งจะ
ทำใหเกิดความรูแจงเห็นแจงทุกสิ่งตามความเปนจริง
101
Therī-a. 143.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 57

...เมื่อเห็นแสงสวางอะไรปรากฏขึ้นตรงนั้น ก็ใหทำใจนิ่งเฉยไว
ตรงนัน้ และถาเห็นวัตถุอะไรจะเปนดอกไม ใบไม หรือกอนเมฆ
อะไรโผลขึ้นตรงนั้น ก็ใหดูสิ่งนั้นเรื่อยไป อยาเลือก เห็นอะไร
ก็เฝาดูสิ่งนั้นเรื่อยไป อยานึกถึงสิ่งอื่น แลวสิ่งที่เราเห็นนั้นจะ
เปลี่ยนแปลงไปเอง อยารีบเรง อยากใหเห็นนั่นเห็นนี่ ทำถูก
ตามวิธีแลวจะเห็นเอง เมื่อยังไมเห็นวัตถุอะไรก็อยาเสียใจ
จะตองเห็นจนได เห็นแนนอน ไมตองสงสัย เห็นแลวอยาดีใจ
เฉยๆ ไว ดู เ รื่ อ ยไปตามปกติ อย า ตื่ น เต น วางใจเฉยไว
อยาอยากเห็น อยาดีใจ อยาเสียใจ102
...ทั้งหมดที่กลาวมาแลวเปนสัญญาณวาเรากาวหนาในการทำ
สมาธิสิ่งที่เราจะตองทำตอไปคือ เฉยๆรูแลวไมชี้เหมือนกับผูที่
เจนโลกผานโลกมามากเมื่อมีลาภเสื่อมลาภมียศเสื่อมยศมีคน
สรรเสริญนินทามีสขุ มีทกุ ขใจก็เปนปกติ ก็ตอ งทำอยางนัน้ แหละ
เพราะฉะนั้นไมวาอะไรจะเกิดขึ้นเราก็เฉยๆ...
...ภาพนิมิตที่เราสมมติเปนดวงใสหรือองคพระพอถึงเวลาใจ
หยุดนิ่งแลวก็ทิ้งไปแตนิมิตที่เราไมไดติดเมื่อเวลาเรานิ่งสนิท
นิมิตก็มาติดเราเปนของจริงอยูภายในนั้นมันอีกแบบหนึ่งซึ่งจะ
แตกตางกันโดยสิ้นเชิงเพราะฉะนั้นมีอะไรใหดูเราก็ดูไปเรื่อยๆ
อยางสบายๆโดยไมตองคิดอะไรทั้งสิ้นหยุดนิ่งๆ ใหใจใสๆ
ไปเรื่อยๆ...103

102
“ธรรมกาย” หนา 144.
103
“งายแตลึก” หนา 150-1.
58 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

คำแนะนำขางตน แสดงชัดเจนวา ในการปฏิบัติสมาธิภาวนาแบบ


ธรรมกายนั้น ทานสอนใหหยุดใจนิ่ง ไมปรุงแตง ไมวาจะมีอะไรปรากฏ
ขึ้นก็ใหเปนเพียงผูดู คือรับรูไปเรื่อยๆ ซึ่งเปนเหตุแหงการเห็นแจงและ
รูแจงตามความเปนจริง ซึ่งจะทำใหปลอยวาง หลุดพนจากอุปาทาน
ในที่สุด
35. ถาม : ที่วา สอนใหเห็นโดยไมยึดติด-ไมปรุงแตงนั้น เปนไปได
จริงหรือ ? มีตัวอยางหลักฐานในคัมภีรพุทธหรือไม ?
35. ตอบ : มีหลักฐานอยูม าก เชน ในพระไตรปฎกบาลี อังคุตตรนิกาย
ทสกนิบาต บันทึกไววา พระพุทธองคทรงสอนพระภิกษุใหเจริญสมาธิ
ภาวนาทำใจหยุ ด นิ่ ง โดยไม ยึ ด ติ ด ไม เ กาะเกี่ ยวเหนี่ ยวรั้ ง ในสิ่ ง ที่ เ ห็ น
หรือรับรู ซึ่งพระองคตรัสเรียกวาเปนการเจริญสมาธิภาวนาแบบ “บุรุษ
อาชาไนย”104
พระสูตรเดียวกันนี้มีปรากฏในคัมภีรลายมือเขียนที่จารึกเปนอักษร
โบราณ ภาษาคานธารี มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 8-9105 ดวย บงบอกวา
พระพุทธศาสนาดั้งเดิมที่เผยแผไปในตางดินแดนยังคงรักษาหลักการ
เดียวกันไววา การทำสมาธิ หยุดนิ่งโดยที่ใจไมยึดติด ไมเกาะเกี่ยวกับ
สิ่งที่ปรากฏในประสบการณภายในนั้นเปนไปไดและเปนสิ่งที่ควรทำ
ในคัมภีรพ ทุ ธมหายานเกีย่ วกับการเจริญสมาธิภาวนาหลายพระสูตร
ก็ มี ค ำแนะนำในทำนองเดี ย วกั น คื อ ให เ ห็ น โดยไม ยึ ด ติ ด ระลึ ก ถึ ง
พระพุทธองคเสมือนระลึกถึงความวางเปลา ตามเห็นกาย เวทนา จิต
104
ดูตัวอยาง สันธสูตร อง.ทสก. 24/216/348-352.
105
Jantrasrisalai et al, forthcoming.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 59

ธรรม “โดยไมใชความคิดพิจารณา” แตในที่สุดจะนำไปสู “การเห็นพระ”


และมีอานิสงสนานัปการ
36. ถาม : ที่วามีพระสูตรมหายานแนะนำให “เห็นโดยไมยึดติด”
แต ใ นที่ สุ ด ก็ น ำไปสู “การเห็ น พระ” ได นั้ น ช ว ยยก
ตัวอยางดวยไดหรือไม ?
36. ตอบ : ได ในที่นี้จะยกตัวอยางสัก 2 พระสูตรคือ ปรัตยุตปนน
สมาธิสูตร และสมาธิราชสูตร
ในปรั ต ยุ ต ป น นสมาธิ สู ต ร (บางที เ รี ย กว า ปรั ต ยุ ต ป น นพุ ท ธ-
สัมมุขาวัสถิตสมาธิสูตร หรือ ภัทรปาลสูตร) ที่นักวิชาการเชื่อวาเปน
พระสู ต รมหายานเกี่ ยวกั บ สมาธิ ภ าวนาที่ เ ก า แก ที่ สุ ด มี ค ำแนะนำให
ระลึกถึงพระพุทธเจาเหมือนระลึกถึงอากาศที่วางเปลา
พระโพธิสัตว จะเปนบรรพชิตหรือคฤหัสถก็ตาม (ชำระศีลให
บริ สุ ท ธิ์ แ ล ว ให อ ยู ใ นที่ ส งั ด ) น อ มระลึ ก ถึ ง พระพุ ท ธเจ า
พระองคหนึ่ง เหมือนระลึกถึงสิ่งนาปลื้มใจที่เห็นในฝน ดวย
ใจที่แนวแน ไมวอกแวก เขาไมพึงทำความรูสึกเหมือนกำลังรับ
รูสิ่งที่มีตัวตน แตใหทำความรูสึกเสมือนกำลังรับรูอากาศที่
วางเปลา เมื่อใจตั้งมั่นในการรับรูอากาศที่วางเปลาแลว มีใจ
จดจออยูกับพระพุทธองค ก็จะเห็นพระองคเสมือนมาปรากฏ
อยูเฉพาะหนา งดงาม ดังพุทธปฏิมาที่เปนแกวใสแจม107

106
พบชิ้นสวนคัมภีรพระสูตรนี้ในภาษาคานธารี อายุคัมภีรราวกลางพุทธศตวรรษที่ 5-8 และ
ชิ้นสวนคัมภีรในภาษาสันสกฤตจากเอเชียกลาง อายุคัมภีรราวกลางพุทธศตวรรษที่ 11-14
107
Harrison 1990 : 31-2, 39-40. (ภาษาจีนบางฉบับวา เห็นพระพุทธเจานับพระองคไมถว น)
60 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

นอกจากนี้ ในการพัฒนาสมาธิใหกาวหนา พระสูตรนี้ยังสอนให


ปฏิบัติสติปฏฐาน 4 โดยไมใชความคิดพิจารณา กลาวคือ “ตามเห็นกาย
ในกายโดยไมมีจิตคิดไปในแงมุมตางๆ เกี่ยวกับกาย” “ตามเห็นเวทนาใน
เวทนา โดยไมมีจิตคิดไปในแงมุมตางๆ เกี่ยวกับเวทนา ฯลฯ”108 และ
“แมจะพึงมีใจจดจอกับพระพุทธเจาทัง้ หลาย พึงเห็นพระตถาคตทัง้ หลาย
และพึงไดสดับธรรม (ในสมาธิ) ก็ไมพึงยึดติดกับสิ่งเหลานั้น”109
สวนสมาธิราชสูตร110 ซึ่งจัดเปนพระสูตรมหายานที่เกาแกเชนกัน
สอนใหระลึกถึงรูปกายของพระพุทธองคเปนบริกรรมนิมิต แลวแนะนำ
ใหมองเห็นทุกสิ่งวางเปลา ไมยึดติด เมื่อถูกสวน บริกรรมนิมิตที่เปน
พระรูปกายของพระพุทธองคจะหายไป ใจของผูปฏิบัติจะแนบแนนกับ
พระพุทธองคมากขึ้นและ “เห็นพระพุทธเจา” ตลอดทั้งวันทั้งคืน แมใน
ยามปวยไข ใจก็ยังแนบแนนอยูกับพระพุทธองคไมจางหาย จึงไมถูก
ครอบงำดวยทุกขเวทนา
และในพระสูตรเดียวกันนี้เอง มีขอความกลาวถึงพระพุทธองควา
เปนธรรมกาย หรือใหเห็นพระองคโดยธรรมกาย ไมใชโดยรูปกาย

108
15J; Harrison 1990 : 125.
109
15K; Harrison 1990 : 125-6.
110
Skilton 2002 : 106-7; Gómez and Silk 1989 : 75-8. เปนพระสูตรมหายานที่
สันนิษฐานวาเขียนขึ้นราวกลางพุทธศตวรรษที่ 7-8 (คริสตศตวรรษที่ 2) หรือเกาแกกวานั้น
พบตัวคัมภีรใบลาน 2 แหงในแควนคันธาระ จารึกเปนภาษาสันสกฤต ซึ่งประเมินวาคัดลอก
มาราวกลางพุทธศตวรรษที่ 11-13
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 61

ผูใ ด ยอมดำรงมัน่ อยูใ นพระธรรมกาย เขายอมรูถ งึ ภาวะทัง้ ปวง


วาเปนอภาวะ ดวยความแจมแจงแหงสัญญาวาเปนอภาวะ
เขายอมไมเห็นพระชินเจาโดยรูปกาย111
เขายอมไมเห็นเหลาพระทศพลโดยรูป (แตยอมเห็น) พวก
พระองคผูเปนสีหะในหมูนรชนวาทรงเปนธรรมกาย112
หลักฐานจากคัมภีรพุทธเหลานี้ แสดงใหเห็นวาการเห็นโดยไมยึด
ติดนั้นเปนไปได และในที่สุดจะนำไปสูการเห็นพระ ตรงกันกับคำสอนใน
วิชชาธรรมกาย

การปฏิบัติธรรมแบบเห็นพระ
37. ถาม : นอกจากตัวอยางของคัมภีรภาษาคานธารีและสันสกฤต
ที่แสดงไวขางตนแลว ยังมีหลักฐานของการปฏิบัติธรรม
แบบเห็นองคพระในคัมภีรพุทธโบราณอื่นๆ หรือไม ?
37. ตอบ : มี คัมภีรพุทธโบราณในทุกทองที่ที่นักวิจัยของเราเขาไป
ศึกษาตางมีหลักฐานกลาวถึงการปฏิบัติธรรมแบบเห็นพระอยู บันทึกไว
ในหลายภาษานอกจากสองภาษาที่กลาวไวขางบนแลว ยังมีในคัมภีร
ภาษาจีน คัมภีรอักษรธรรมลานนา และคัมภีรสมาธิภาวนาในภาษาเขมร
เปนตนสำหรับคัมภีรภาษาจีนนั้นสามารถสืบยอนกลับไปในพระคัมภีรที่
ถูกแปลเปนจีนในยุคโฮวฮัน่ (ราวพุทธศตวรรตทีห่ กถึงเจ็ด) และยุคโฮวฉิน
(ราวพุทธศตวรรตที่เกา)
111
Vaidya 1961b, 21.
112
Vaidya 1961 : 77.
62 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

38. ถาม : ขอตั ว อย า งหลั ก ฐานการปฏิ บั ติ ธ รรมแบบเห็ น พระใน


คัมภีรจีน ที่วาสืบไปไดถึงยุคโฮวฮั่นและยุคโฮวฉินดวย
38. ตอบ : ยุคโฮวฮั่นเปนยุคที่พระพุทธศาสนาเริ่มเผยเผเขาสูประเทศ
จีนอยางเปนทางการซึ่งไดรับการอุปถัมภจากราชสำนักและชนชั้นสูงโดย
มีคัมภีรที่ไดรับการแปลเขาสูภาษาจีนหลายคัมภีรทั้งในสวนของนิกาย
หลักและมหายาน
ในสวนของพระสูตรมหายานนั้นมีคัมภีรที่มีชื่อเสียงอันเกี่ยวเนื่อง
กับการทำสมาธิแบบพุทธานุสติคมั ภีรท วี่ า นีม้ ชี อื่ วา ปรัตยุตปนนสมาธิสตู ร113
ระบุถึงการทำสมาธิแบบกำหนดนิมิตเปนองคพระสัมมาสัมพุทธเจาไว
ในใจและเมื่อผูปฏิบัติใจหยุดนิ่งจะสามารถเขาถึงประสบการณที่สามารถ
เห็นพระพุทธเจาจำนวนมากมายดุจทะเลองคพระได
นอกจากหลักฐานในภาษาจีนแลว นักวิชาการบางทานยังระบุวา
คั ม ภี ร ที่ เ กี่ ยวเนื่ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ธ รรมที่ แ พร ห ลายในเอเชี ย กลางราว
พุทธศตวรรษที่10-16 นั้นสามารถสืบยอนตนกำเนิดไปไดคราวๆ ราว
พุทธศตวรรษที่ 6-12 คัมภีรเหลานั้นบางฉบับมีเนื้อหาที่เกี่ยวเนื่องกับ
การปฏิบัติธรรมโดยเฉพาะ เชน คัมภีร Book of Zambasta และ the
Yogalehrbuch ซึง่ มีรอ งรอยบงชีถ้ งึ เทคนิคการปฏิบตั ธิ รรมแบบพุทธานุสติ
ที่เคยแพรหลายในเอเชียกลางราวพุทธศตวรรษที่ 6-11 แตตอมาได
สูญหายไป

113
Foshuo banzhou sanmei jing 佛說般舟三昧經 “The Samādhi of Being in the
presence of all the Buddhas”
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 63

นอกจากนี้ คัมภีรสมาธิของมองโกเลีย (Mongolian meditation


manual) ก็มีเนื้อหาบางสวนที่แนะนำเทคนิคการนึกนิมิตองคพระดวย
39. ถาม : อยากทราบวาการทำสมาธิแบบพุ ท ธานุ ส ติ ที่ ว างใจไว
กลางทองมีอยูในคัมภีรจีนบางหรือไม ?
39. ตอบ : มี จากเนื้อหาในสวนของพุทธานุสติในคัมภีร “สาระของ
คูมือปฏิบัติธรรมอันประกอบดวยประตูใหญ 5 ประตู”114 ที่แปลโดยทาน
ธรรมมิตร มีขอความแนะนำเทคนิคการทำสมาธิวา รวมใจใหแนแนว
เฝ า ดู ที่ บ ริ เ วณสะดื อ 115 การทำสมาธิ แ บบนี้ จ ะส ง ผลให ผู ป ฏิ บั ติ มี
ประสบการณในการมองเห็นดวงธรรมและองคพระได
40. ถาม : การทำสมาธิ แ บบพุ ท ธานุ ส ติ ใ นคั ม ภี ร จี น ยุ ค พุ ท ธ
ศตวรรษที่ 10-11 มีวิธีการอยางไร ?
40. ตอบ : วิธีการปฏิบัติธรรมที่แพรหลายในจีนยุคนี้มีคำแนะนำให
ผูปฏิบัตินึกนิมิตองคพระธรรมกายดวยซึ่งพระกวอฮั่วไดกลาวไวในงาน
วิจัยที่ทำการสำรวจการปฏิบัติสมาธิแบบพุทธานุสติวาพระกุมารชีวะ
ไดสรุปรูปแบบการปฏิบัติสมาธิไวในคัมภีร “สาระสำคัญ” (Abridged
Essentials 思惟畧要法) ทั้งหมดสี่ประเภทดังนี้
1. นึกนิมติ พระพุทธรูปทีม่ ลี กั ษณะมหาบุรษุ ครบถวน 32 ประการ
และอนุพยัญชนะอีก 80
2. นึกนิมิตพระรูปกายที่ประกอบดวยขันธ 5 (เบญจขันธ) ของ
พระพุทธองค
114
อูเหมินฉานจิงหยาวยงฝา (五門禪經要用法 T619.)
115
一心觀齊.
64 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

3. นึกนิมิตพระธรรมกายที่ประกอบดวยธรรมขันธ 5 อยาง คือ


สีลขันธ สมาธิขันธ ปญญาขันธ วิมุตติขันธ วิมุตติญาณทัสสนขันธ และ
ทศพลญาณ 10 ประการ
4. นึกนิมิตพระพุทธเจาทั้งหมดในทิศทั้ง 10 ในรูปแบบเดียวกัน
กับที่ปรากฏในคัมภีรปรัตยุตปนนสมาธิสูตร ซึ่งสอดคลองกับขอมูลใน
คัมภีรทศภูมิวิภาษาศาสตร คัมภีรนี้ไดสรุปการทำสมาธิแบบพุทธานุสติ
วา มี 4 ขั้นตอนโดยในเบื้องตนผูปฏิบัตินึกถึงพระพุทธรูปเปนนิมิตเมื่อใจ
สงบระงั บ ต อ มาให นึ ก ถึ ง พระรู ป กายของพระพุ ท ธองค ห ลั ง จากนั้ น ก็
นึกถึงพระธรรมกายที่อยูภายในพระรูปกายซึ่งในที่สุดจะทำใหเกิดญาณ
ทัสนะ สามารถเห็นและสอบถามปญหากับพระพุทธเจาจำนวนมากใน
ทิศทั้ง 10 ได
41. ถาม : พระอริยสาวกก็เขาถึงพระธรรมกายไดใชไหม ?
41. ตอบ : ใช ในพระไตรปฎกบาลีมีกลาวถึงพระมหาปชาบดีโคตมี
เถรีที่ทานกลาวถึงธรรมกายของทานเอง ดังที่ยกตัวอยางมาแลวขางตน
(ในคำตอบที่ 4 ในหัวขอ “ธรรมกาย กายแหงการตรัสรูธรรม”)
สวนในคัมภีรจีน ก็มีกลาวไวใน ทีรฆาคมะ116 วา พระอริยสงฆ
สาวก 4 คู 8 บุคคล ของพระพุทธองค เปนผูที่ถึงพรอมดวยธรรมกาย
ดูกอ น อานนท ‘บุคคลซึง่ ประกอบดวยแวนธรรม’ คืออริยสาวก
ผูซ งึ่ มีศรัทธามัน่ คง ไมหวัน่ ไหวเปลีย่ นแปลง --- เปนผูป ระกอบ
ดวยความเลื่อมใส ไมหวั่นไหวในพระสงฆ พระสงฆสาวกเปน
ผูป ฏิบตั ดิ ี เปนผูม คี วามเปนอยูอ ยางสงบสุขปราศจากคำเยินยอ
116
ทีรฆาคมะ เทียบไดกับทีฆนิกายในพระไตรปฏกบาลีแปลเปนภาษาจีนโดยทานพุทธยศและ
ทานจูฝ อเหนียนในราว พ.ศ. 956 เชือ่ กันวาแปลมาจากภาษาคานธารีไมใชจากภาษาสันสกฤต
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 65

ไดบรรลุผลของการปฏิบัติสูการหลุดพน และถึงพรอมดวย
ธรรมกาย เป น ที่ นั บ ถื อ ทั้ ง พระเถระและพระนวกะ คื อ
โสดาปตติมรรค โสดาปตติผล สกิทาคามิมรรค สกิทาคามิผล
อนาคามิมรรค อนาคามิผล เปนบุรุษสี่คู แปดบุคคล เปน
พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา เปน ผูควรคำนับ เปน
ผู ค วรทั ก ษิ ณ าทาน เป น เนื้ อ นาบุ ญ ของโลกไม มี น าบุ ญ อื่ น
ยิ่งกวา117
จะเห็นไดวา ขอความที่บรรยายคุณของพระอริยสงฆสาวกในคัมภีร
ทีรฆาคมะภาษาจีน (เทียบไดกับพระสูตรบาลี หมวดทีฆนิกาย) กลาวถึง
พระอริยสงฆทั้ง 8 ระดับ ตั้งแตผูที่เขาถึงโสดาปตติมรรค ขึ้นไปจนถึงผูที่
เขาถึงอรหัตผลวา “(เปน ผู) ไดบรรลุผลของการปฏิบัติสูความหลุดพน
และถึ ง พร อ มด ว ยธรรมกาย” บ ง บอกว า พระอริ ย สาวกเข า ถึ ง พระ
ธรรมกายได

117
T001 1 : 13b2-10.
66 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ปกิณกะ
การบูชาขาวพระ
42. ถาม : การบูชาขาวพระคืออะไร ?
42. ตอบ : การบู ช าข า วพระ เกี่ ยวข อ งกั บ คำ 3 คำ ได แ ก คำว า
การบูชา + ขาว + พระ
การบู ช า หมายถึ ง การถวายสั ก การะอั น ประณี ต ของบุ ค คล
ผูระลึกถึงคุณของบุคคลผูควรบูชามีพระพุทธเจาเปนตน แลวถวาย
ในทานเหลานั้น โดยไมคำนึงถึงวาทานจะยังดำรงชีวิตอยูหรือไม ทานได
บริโภคใชสอยหรือไม
กลาวโดยรวมก็คอื การบูชาขาวพระนัน้ หมายถึง การถวายทานวัตถุ
เชน ขาวน้ำเปนตนอันประณีตแดพระภิกษุสงฆโดยมีพระพุทธเจาเปน
ประธาน
เปนทั้งการถวายทานเพื่อผลแหงทานอันไพบูลยดวย และเพื่อบูชา
พระคุณอันไมมีประมาณทั้งของพระพุทธเจาและเหลาพระภิกษุสงฆดวย
ถึงในปจจุบันนี้ แมวาพระสัมมาสัมพุทธเจาจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน
นานแลวก็ตาม แตดวยความมุงหมายที่จะรักษาประเพณีอันดีและเพื่อให
เกิดบุญกุศลอันยิ่งใหญตอผูที่ไดกระทำ บัณฑิตผูมีปญญาทั้งหลายจึงได
นำสืบกันมาจนถึงปจจุบัน
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 67

43. ถาม : ก็ ใ นเมื่ อ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ทรงปริ นิ พ พานแล ว


การถวายทานก็ไมเกิดประโยชน ผูที่จัดเตรียมทานอัน
ประณี ต ไปบู ช าพระจะได บุ ญ ได อ ย า งไร ? ไม ถื อ เป น
ความงมงายหรือ ?
43. ตอบ : ในเรื่องนี้ ควรดูที่สาระสำคัญของการบูชา กลาวคือ ใน
การบูชาขาวพระนั้น แมพระสัมมาสัมพุทธเจาจะปรินิพพานไปนานแลว
และไมไดทรงเสวยภัตตาหารก็ตาม หรือทานที่ทายกทายิกาจัดอยาง
ประณีตถวายเหมือนตอนที่ยังทรงพระชนมอยูก็ตาม แตผลบุญที่ไดก็ยัง
เทากัน เพราะเปนการถวายเพื่อบูชาคุณของพระองค จิตของผูทำจึง
ประณีตกวาการถวายทานในวาระปกติ เพราะทำดวยปญญาอันเกิดจาก
ใจที่ผองใส จึงไมจำเปนวาผูรับทานจะตองไดบริโภคใชสอยหรือไม
ผลก็ยังเทากัน ดังพุทธดำรัสวา “ติฏฐนฺเต นิพฺพุเต วาป สเม จิตฺเต สมํ
ผลํ” หมายความวา ไมวา พระพุทธองคจะดำรงพระชนมอยู หรือปรินพิ พาน
แลวก็ตามหากบุคคลทีถ่ วายทานมีจติ เสมอกัน ผลบุญทีไ่ ดรบั ก็ยอ มเทากัน
44. ถาม : การถวายทานแด พ ระภิ ก ษุ ส งฆ ที่ มี พ ระพุ ท ธเจ า เป น
ประธาน มีที่มาอยางไร ?
44. ตอบ : ที่มาของเรื่องนี้มีกลาวไวในอรรถกถาทักขิณาวิภังคสูตรวา
เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระพุ ท ธองค เ สด็ จ ไปโปรดพระประยู ร ญาติ เ ป น ครั้ ง แรก
พระมหาปชาบดี โ คตมี ผู เ ป น พระมาตุ จ ฉาทรงมี พ ระประสงค อ ย า ง
แรงกล า ที่ จ ะถวายทานอั น ประณี ต แด พ ระพุ ท ธองค จึ ง ทรงถั ก ทอผ า
คู ห นึ่ ง อย า งประณี ต ด ว ยมื อ พระองค เ อง แล ว น อ มนำไปถวายแด
พระสัมมาสัมพุทธเจา แตพระพุทธองคไมทรงรับ กลับทรงแนะนำให
พระนางถวายแดสงฆ ดังพุทธดำรัสวา
68 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

โคตมี พระนางจงถวายสงฆเถิด เมื่อถวายสงฆแลว ก็นับวา


พระนางไดบูชาอาตมภาพและไดบูชาสงฆดวย
อรรถกถาอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า สงฆ ใ นที่ นี้ ห มายถึ ง สงฆ 2 ฝ า ย
ที่ มี พ ระพุ ท ธเจ า เป น ประมุ ข คื อ ทั้ ง ภิ ก ษุ ส งฆ แ ละภิ ก ษุ ณี ส งฆ โดยมี
พระบรมศาสดาประทับนั่ง ณ ทามกลางการถวายทานแดคณะสงฆ
ที่ครบองคประกอบดังกลาวยอมมีอานิสงสไมมีประมาณ
45. ถาม : ก็ ใ นเมื่ อ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ปริ นิ พ พานแล ว การ
ถวายทานแดพระสงฆ 2 ฝายโดยมีพระพุทธองคเปน
ประธานนั้นจะทำไดหรือ ?
45. ตอบ : ยั ง ทำได โ ดยทำตามวิ ธี ก ารที่ แ นะนำไว ใ นอรรถกถา
ทักขิณาวิภงั คสูตรวา ใหตงั้ พระพุทธรูปทีม่ พี ระธาตุบรรจุอยู ไวบนอาสนะ
ในฐานะประมุขของสงฆ 2 ฝาย แลววางตั่ง ถวายทานแดพระพุทธองค
กอน แลวจึงถวายแดพระสงฆ 2 ฝายในภายหลัง
46. ถาม : แล ว ทานที่ ถ วายแด พ ระพุ ท ธเจ า ซึ่ ง มี พ ระพุ ท ธรู ป เป น
องคแทน ควรทำอยางไรตอไป ?
46. ตอบ : อรรถกถาแนะนำวา อาจนำไปถวายพระภิกษุผูมีขอวัตร
ปฏิบัติที่สมบูรณตอ หรือถวายแดภิกษุสงฆก็ได หรือในกรณีที่ผูถวายระบุ
ความประสงคไว ก็อาจนำของบูชาเหลานั้นไปบูชาพระเจดีย หรือนำไป
ถวายพระภิกษุสงฆตอตามความประสงคของผูถวายก็ได
สำหรั บ สิ่ ง ของอื่ น ๆ เช น มาลั ย ดอกไม และของหอม เป น ต น
อาจนำไปบูชาพระเจดียผาที่ถวายก็อาจนำมาใชทำธงแผนผา น้ำมันก็ใช
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 69

จุดประทีปอาหารและเภสัช เชน น้ำผึ้งและน้ำออย อาจนำไปถวายหรือ


มอบใหกับเจาหนาที่ที่รักษาพระเจดีย ซึ่งอาจเปนบรรพชิตหรือคฤหัสถ
ก็ได แตถาพระเจดียไมมีเจาหนาที่ดูแลรักษาเปนประจำ ก็อาจตั้งไว
เหมือนเปนภัตตาหารที่ตนเองไปบิณฑบาตมา ทำวัตรแลวฉันเองก็ได
47. ถาม : ถ า อย า งนั้ น การบู ช าพระพุ ท ธเจ า ก็ อ าจใช สิ่ ง ของอื่ น
แทนได ไมจำเปนตองเปนภัตตาหารใชไหม ?
47. ตอบ : ใช จากตัวอยางขางตนจะเห็นไดวาพระสูตรระบุไวอยาง
ชัดเจนวา การบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจา แมวาจะทรงปรินิพพานไปนาน
แลวก็ตาม ก็สามารถใชพระพุทธปฏิมากรหรือพระเจดียที่บรรจุพระบรม
สารีริกธาตุเปนองคแทนพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ไดสวนของที่นำมาบูชา
นั้น ก็ไมไดจำกัดเฉพาะอาหารเทานั้น แตยังสามารถคัดเลือกสิ่งของที่อยู
ในหมวดของทานวัตถุทั้งสิบอยางไดทุกประเภท เพียงแตผูบูชาจะตองทำ
ดวยจิตที่ประณีตจึงจะจัดวาเปนการบูชาพระรัตนตรัยที่ใหผลยิ่งใหญได
นับเปนสัมมาทิฏฐิในขั้นที่สามซึ่งเปนการแสดงถึงภูมิปญญาทางธรรม
ของผูถวายไปดวยในตัว แตอยางไรก็ตามการบูชาในลักษณะนี้ก็ยังจัดวา
เปนการบูชาตามประเพณี หรือการบูชาแบบขอถึงพระรัตนตรัยอยู
อนึ่ ง โดยทั่ ว ไปแล ว มั ก จะมี ค วามเข า ใจกั นว า การถวายทานที่
ถูกตองนั้น ผูที่ตนใหทานตองบริโภคใชสอยอาหารหรือสิ่งของที่นำมา
ถวายนั้นตนจึงจะไดบุญ โดยไมไดคำนึงถึงคุณธรรมของผูรับวามีมาก
นอยเพียงใด การถวายทานแบบนี้เรียกวาเปน “การใหทานโดยทั่วไป”
แต แ ท จริ ง แล ว ยั ง มี ก ารให ท านในระดั บ ที่ สู ง กว า นั้ น ขึ้ น ไปอี ก คื อ การ
ถวายทานโดยคำนึงถึงคุณธรรมของผูรับเปนสำคัญ ซึ่งถือเปนการให
เพื่อบูชาคุณของบุคคลที่ควรบูชา วัตถุทานที่นำมาถวายจึงมักจัดอยาง
70 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ประณีตไปดวย เรียกวาเปนการสักการะซึ่งไมวาผูรับนั้นจะยังมีชีวิตอยู
หรื อ ไม ก็ ต าม จะได บ ริ โ ภคใช ส อยสิ่ ง ของเหล า นั้ น หรื อ ไม ก็ ต าม แต
วัตถุทานสวนหยาบที่เหลือก็ยังเปนประโยชนแกบุคคลอื่นตอไปได และ
บุญที่เกิดจากการใหเพื่อบูชานี้ยอมมีผลมากกวาการถวายทานทั่วไป
อยางไมมีประมาณ ดังที่อรรถกถากลาวไววา
แมผูมีอานุภาพอันยิ่งใหญ ยังไมอาจคำนวณบุญที่เกิดจากการบูชา
ทานผูควรแกการบูชาเหลานั้น ดวยสักการะมีระเบียบดอกไม ดอกปทุม
ผา เครื่องอาภรณ และปจจัย 4 เปนตน ดวยทรัพยตั้งแสนเปนตนเลย
และมิใชเพียงบูชาพระพุทธเจาผูยังทรงพระชนมอยูเทานั้น แมการบูชา
พระเจดีย พระพุทธปฏิมา และตนโพธิ์ ซึ่งถือเปนตัวแทนของพระผูมี
พระภาคเจ า ผู ป ริ นิ พ พานไปแล ว ก็ มี ผ ลบุ ญ ที่ นั บ ประมาณไม ไ ด
เหมือนกัน.118
ดังนั้น ในบางคราวแมไมมีพระพุทธเจาหรือพระพุทธปฏิมาอยู
เฉพาะหนา แตหากผูถวายทานนึกนอมเอาพระพุทธปฏิมามาตั้งไวใน
กายตนเปนนิมิตกสิณและระลึกถึงพุทธคุณใหเปนพุทธานุสสติจนใจเปน
สมาธิยังจิตใหผองใสจนเห็นองคพระปฏิมากรไดชัดเจนมากขึ้นเทาใดก็
ตามการนึกนอมวัตถุทานที่จะถวายก็จะยิ่งชัดเจนเทานั้น ผลแหงบุญที่
เกิ ด ขึ้ น ก็ จ ะยิ่ ง มี ม ากขึ้ น ตามลำดั บ ถื อ เป น การถวายทานเพื่ อ บู ช าที่
ประกอบในองคมรรค การปฏิบัติดังนี้เรียกวา “การบูชาแบบเขาถึงเปน
ชั้นๆ ไป” ตามกำลังของสมาธิของผูถวาย จนเขาสูสภาวธรรมที่แทจริง
ซึ่งสูงกวาการถวายทานเพื่อบูชาแบบขอถึงตามปกติธรรมดา เพราะจิต
ผองใสและประณีตกวามาก และเปนการเขาถึงองคพระรัตนตรัยอยาง
แทจริง

118
ขุ.อป.อ. (ไทย) 71/301.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 71

48. ถาม : มีหลักฐานเกี่ยวกับการบูชาขาวพระในคัมภีรทองถิ่นของ


ไทยบางไหม ?
48. ตอบ : มีในคัมภีรอักษรธรรมลานนา เชน คัมภีรมูลลกัมมฐานก็มี
เนื้อหากลาวถึงการบูชาขาวพระเชนกัน แตคัมภีรเรียกวา “การบูชาขาว
ชีวิต” ซึ่งเปนทั้งการบูชาขาวพระและการเจริญพุทธานุสติไปดวยในตัว
โดยแนะนำใหเอาขาวมาแบงเปน 4 สวนเพื่อบูชาพระพุทธเจา พระบรม
สารี ริ ก ธาตุ โลกุ ต รธรรม และพระอริ ย สงฆ จ ากนั้ น ให ถื อ ศี ล หรื อ
ปลงอาบัติตามเพศภาวะของตน แลวเอาขาวสวนที่บูชาพระธาตุมาเปน
สวนผสมในการสรางพระพุทธรูปที่เรียกวา “พระเจาชีวิตเกสรดอกไม”
และแนะนำให “วางอารมณไปยังพระพุทธรูป” ก็จะไดเห็น “พระเจา
ชีวิต” นั้นมาปรากฏตอหนาเพื่อพาไปสูที่ที่ดีนอกจากนี้คัมภีรยังบอกถึง
อานิสงสวา ดวยผลของการบูชานี้ แมปรารถนาเปนพระพุทธเจาก็จะ
สมปรารถนา
72 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ที่มาของพุทธศิลปวัดพระธรรมกาย
49. ถาม : พระพุทธรูปวัดพระธรรมกายมิไดสอดคลองกับพุทธศิลป
ใดเลยแตสรางขึ้นมาจากจินตนาการของทานเจาอาวาส
ใชหรือไม ?
49. ตอบ : พระพุทธรูปวัดพระธรรมกายมีความสอดคลองกับศิลปะ
คันธาระ (Gandhāra) ศิลปะอมราวตี (Amarāvatī) และศิลปะสมัย
นาคารชุนโกณฑะ(Nāgārjunakonฺdฺa)
เมื่ อ พิ จ ารณาพระพุ ท ธรู ป ที่ ส ร า งขึ้ น โดยวั ด พระธรรมกายทั้ ง ใน
ส ว นของงานประติ ม ากรรมและภาพนิ่ ง นั้ น จะเห็ นว า ล ว นแล ว แต เ ป น
พระพุทธรูปปางสมาธิซึ่งสามารถจำแนกออกไดเปนสองหมวดหมูคือ
พระพุทธรูปที่มีขมวดพระเกศาและเกตุดอกบัวตูมกับพระพุทธรูปที่มี
ขมวดพระเกศาแตไมมีเกตุดอกบัวตูม
จากการใหสัมภาษณของพระครูสังฆรักษรังสฤษฏ อิทฺธิจินฺตโก
ผูชวยเจาอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานโครงการสรางพระธรรมกาย
1,000,000 องค เพือ่ ประดิษฐาน ณ มหาธรรมกายเจดีย ทำใหทราบวา
โดยหลักทางประติมานวิทยาแลวพระพุทธรูปที่มีขมวดพระเกศาและเกตุ
ดอกบัวตูมนั้นสื่อถึง “องคพระธรรมกาย” ที่เขาถึงไดจากประสบการณ
ภายในของการปฏิบัติสมาธิ119 เรียกพระพุทธรูปประเภทนี้วา “พระธรรม
กาย” สวนพระพุทธรูปมีขมวดพระเกศาแตไมปรากฏเกตุดอกบัวตูมนั้น

119
บทสัมภาษณพระครูสังฆรักษรังสฤษฏ อิทฺธิจินฺตโก วัดพระธรรมกาย ปทุมธานี พ.ศ. 2553.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 73

สื่อถึงพระพุทธเจาในรูปของกายมนุษยที่ประกอบดวยลักษณะมหาบุรุษ
32 ประการ เรียกพระพุทธรูปดังกลาวนี้วา “พระพุทธเจา”
ลักษณะที่โดดเดนและเหมือนกันของพระพุทธรูปทั้งสองแบบคือ
พระเกศาขมวดวนไปทางขวาคลายรูปกนหอย รูปรางกลมกลึง แขนขา
เรียวยาว นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซาย (Halflotus position) มือขวาทับ
มื อ ซ า ยนิ้ ว ชี้ ข องมื อ ข า งขวาจรดนิ้ ว หั ว แม มื อ ข า งซ า ย นุ ง ห ม จี ว รบาง
แนบรางเพื่อเนนสรีระของมหาบุรุษ120 ใหเห็นเดนชัด เมื่อเปรียบเทียบ
พระพุ ท ธรู ป ของวั ด พระธรรมกายกั บ รู ป เคารพของพระพุ ท ธเจ า
ในพุทธศาสนายุคตนอยางศิลปะคันธาระก็พบวาลักษณะการวางมือ
ความกลมกลึงและเต็มตึงของรางกายของพระพุทธรูปของพระธรรมกาย
ไปสอดคล อ งต อ งกั น กั บ การวางมื อ ของพระพุ ท ธรู ป ปางสมาธิ ศิ ล ปะ
คันธาระองคหนึ่งจากที่ราบเปชวาร ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมภาคตะวันออก

120
1. พื้นเทาเรียบสนิทและเปนลายตาขายสวยงาม 2. พื้นเทาทั้งสองมีรูปพระธรรมจักรปรากฏ
อยู 3. นิ้วมือนิ้วเทาเรียวยาวเสมอกัน 4. ฝามือฝาเทามีความออนนุม 5. ขอเทากลมกลึงไมมี
ปุมเหมือนคนทั่วไป 6. หนาแขงเรียวสวยกลมกลึง 7. เมื่อยืนตรงมือทั้งสองยาวไปถึงหัวเขา
8. อวัยวะเพศชายซอนอยูในฝก 9. สีผิวเปลงปลั่งประดุจทองคำ 10. ผิวหนังละเอียดลออ
ฝุนไมสามารถเกาะจับได 11. มีขนขึ้นเพียงหนึ่งเสนในหนึ่งรูขุมขน 12. ขนบนรางกาย
มีปลายชอนขึ้นขางบน 13. เสนขนเปนสีดำน้ำเงินเขม 14. เสนขนขดเปนกนหอยเวียน
ไปทางขวา 15. มี ล ำตั ว ตรงเหมื อ นกายพรหม 16. กายทุ ก สั ด ส ว นเต็ ม ตึ ง ไม เ ว า แหว ง
17. กายทอนบนเหมือนกายทอนหนาของพญาราชสีหคืออกผายไหลผึ่ง 18. ไหลทั้งสองเต็ม
ตึงไมเปนรองลึก 19. สัดสวนของรางกายเทากันคือมีสวนสูงเทากับความยาวของแขนที่กาง
ออกทั้งสองขาง 20. หนาอกกลมกลึง 21. ลิ้นมีปลายประสาทรับรสตางๆ ไดอยางเปนเลิศ
22. คางเหมือนคางราชสีห 23. มีฟน 40 ซี่ 24. ฟนเรียบเสมอกันเปนระเบียบสวยงาม
25. เขี้ยวงามเหมือนมุก 26. ลิ้นยาว 27. มีน้ำเสียงดุจทาวมหาพรหม 28. เทศนาดวย
น้ำเสียงที่ไพเราะดุจเสียงนกการเวก 29. ดวงตาดำสนิท 30. ดวงตาบริสุทธิ์เหมือนตาลูกโค
31. มีขนสีขาวออนนุมวนเปนกนหอยเวียนหัวที่เรียกวาอุณาโลมขึ้นตรงกลางระหวางคิ้ว
ทั้งสอง 32. บนศีรษะมีจอมกระหมอมสงางาม (D.II.14-16)
74 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ของประเทศอัฟกานิสถานและพื้นที่บางสวนในกัศมีร (Kashmir)121 ใน
อดีตเมื่อราวพุทธศักราชที่ 200-800 ดินแดนแหงนี้คือสถานที่หนึ่งใน
การปกหลักของพระพุทธศาสนาดั้งเดิมหรือหินยานมากอน122
พระพุทธรูปดังกลาวมิไดเปน ผลงานศิลปะตามอยางอิทธิพลของ
กรีกลวนๆ แตมสี ว นผสมผสานของลักษณะทองถิน่ นัน่ คือแมพระพุทธรูป
จะมีจมูกโดงเปนสันแตสวนคางนั้นกลับกลมปอมเหมือนลักษณะใบหนา
ของชายชาวอินเดียสวนใหญ มวยผมและเสน ผมมิไดเปนคลื่นหยักศก
เหมือนศิลปะกรีกแตมีลักษณะมวนขดเปนกลุมกอนคลายกนหอยมากขึ้น
พระพุ ท ธรู ป ดั ง กล า วประทั บ นั่ ง อยู บ นแท น พระอาสน ใ นท า นั่ ง สมาธิ
ดวงตาทั้งสองมิไดปดสนิทเหมือนการนอนหลับแตเปลือกตาปดลงมา
เพียงครึ่งเดียวสายตามองต่ำ ใบหนาอมยิ้มเล็กนอยบงบอกถึงอารมณสุข
สงบจากการบำเพ็ ญ ภาวนา มื อ ทั้ ง สองมิ ไ ด ว างซ อ นกั น สนิ ท เหมื อ น
พระพุทธรูปปางสมาธิอื่นๆของศิลปะคันธาระและศิลปะอื่นๆ ในยุคหลัง
ที่พบเห็นกันทั่วไป แตกลับวางมือขวาทับบนมือซายใหปลายนิ้วชี้ของมือ
ขางขวาจรดหรือแตะเบาๆ ตรงปลายนิ้วหัวแมมือขางซาย
แมพระพุทธรูปคันธาระปางสมาธิลักษณะนี้จะมีใหเห็นไมมากนัก
สวนหนึ่งอาจเพราะถูกทำลายไปจากภัยธรรมชาติหรือจากกาลเวลาและ
ถูก ทำลายไปจากภัยตางศาสนา แตพยานทางวั ต ถุ ที่ มี ป รากฏให เ ห็ น
แมเพียงหนึ่งเดียวในขณะนี้ก็ทำใหทราบไดวาลักษณะของพระพุทธรูป
ของวัดพระธรรมกายที่มีความสอดคลองกับพระพุทธรูปปางสมาธิของ
ศิลปะคันธาระโดยเฉพาะรูปแบบของการวางมือ เสนผมทีข่ มวดไปทางขวา

121
Brancaccio and Behrendt 2006 : 10.
122
ibid. 11 ; Hallade 1968 : 75.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 75

เปนขดหอยและความเต็มตึงหรือกลมกลึงของกายมหาบุรุษก็เปนขอยืน
ยันวาวัฒนธรรมการสรางพระพุทธรูปตามแบบของวัดพระธรรมกายนั้น
มีมาตั้งแตยุคเริ่มตนของงานพุทธศิลปทางพระพุทธศาสนา
นอกจากนี้ เ มื่ อ เปรี ย บเที ย บลั ก ษณะของกายมหาบุ รุ ษ ที่ วั ด
พระธรรมกายพยายามถายทอดออกมาผานทางรูปประติมากรรมของ
พระธรรมกายหรือของพระพุทธเจานั้น ก็ยังไปสอดคลองกับลักษณะของ
กายมหาบุรุษที่ถายทอดออกมาสูรูปเคารพของพระพุทธเจาในศิลปะ
สมัยอมราวตีและนาคารชุนโกณฑะ ราวพุทธศักราชที่ 700-800 และ
700-900 ตามลำดั บ โดยพระพุ ท ธรู ป ยุ ค ต น ของทั้ ง สองเมื อ งที่ อ ยู
ใกลเคียงกันในแถบอินเดียใตจะมีรางกายที่กลมกลึง สูงใหญ แขนขายาว
แตกตางจากพระพุทธรูปของประเทศไทยที่มุงเนนความสวยงามออน
ชอยของพุทธศิลปทำใหพระพุทธรูปมีรูปลักษณะไหลกวาง เอวคอด หรือ
บอบบางออนแอนเปนตน
ข อ สั ง เกตอี ก อย า งที่ แ ม พ ระพุ ท ธรู ป ของวั ด พระธรรมกายจะมี
ทั้งแบบที่ลืมตาเต็มดวง และหลับตาครึ่งคอนดวง แตหลักสูตรในการ
สอนสมาธิปฏิบัติของพระเทพญาณมหามุนี ตามแบบวิชชาธรรมกาย
จะบอกวิธีในการปฏิบัติสมาธิแกผูฝกปฏิบัติเสมอถึงวิธีการหลับตาเพียง
คอนดวงซึ่งสอดคลองกับพระพุทธรูปปางสมาธิศิลปะคันธาระดังกลาว
รวมถึงการวางมือวางเทาและวางใจเพื่อการปฏิบัติสมาธิที่ใหไดผลดีและ
นั่งไดนานๆ วา
“ใหหลับตาเหมือนเราปรือๆ ตานิดหนอย หลับตาสักคอนลูก
ในระดับทีเ่ รารูส กึ วาสบาย และก็ผอ นคลายไปทัง้ เนือ้ ทัง้ ตัว”123
122
“งายแตลึก” หนา 21.
76 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

“ขาขวาทับขาซาย มือขวาทับมือซาย ใหนิ้วชี้ของมือขางขวา


จรดนิ้วหัวแมมือขางซาย”124
สิ่งสอดคลองดังกลาวทั้งในสวนเนื้อหาคำสอนของสมาธิปฏิบัติ
ของวัดพระธรรมกายและงานพุทธศิลปคันธาระขางตนจึงเปนขอยืนยัน
ที่ดีเยี่ยมวาแบบแผนประเพณีหรือรูปแบบการปฏิบัติของกลุมชาวพุทธ
นั้นๆ มักไดรับการถายทอดออกมาสูงานพุทธศิลปอีกทางหนึ่งเพื่อแสดง
ถึงความรูหรือวิธีการปฏิบัติของพวกเขาตอชนรุนหลัง และจากความ
คล า ยคลึ ง กั น ของพระพุ ท ธรู ป ปางสมาธิ ข องทั้ ง สองยุ ค สมั ย ข า งต น
ก็อาจสันนิษฐานไดวาแบบแผนในการปฏิบัติสมาธิของทั้งสองยุคสมัยนั้น
อาจมีความคลายคลึงกันดวย

124
“งายแตลึก” หนา 27.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 77

บรรณานุกรม
ภาษาไทย
มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2541. พระไตรปฎกและอรรถกถาแปล เลม 76,
กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
กรมการศาสนา. 2525. พระไตรปฎกภาษาไทย. ฉบับหลวง. เลม 1, 4,
8, 10, 11, 14, 17, 19, 21, 23, 31, 34, 36, กรุงเทพฯ :
กรมการศาสนา.
คณะศิษยานุศิษยหลวงพอวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ. 2546. บุคคลยุคตน
วิชชา เลม 3. กรุงเทพฯ : สุขุมวิทการพิมพ.
คณะศิษยานุศิษยหลวงพอวัดปากน้ำ. 2555. รวมพระธรรมเทศนา
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร). กรุงเทพฯ : เอกพิมพไท.
พระทิพยปริญญา. 2499. ธรรมกาย. กรุงเทพฯ : แฉลม อุศุภรัตน.
พิมพครั้งแรก พ.ศ. 2489.
พระเทพญาณมหามุนี วิ. 2554. งายแตลึก. กรุงเทพฯ : บ. รุงศิลป
การพิมพ (1977) จก.
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต). 2552. พุทธธรรม. พิมพครั้งที่ 11.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมงคลเทพมุ นี (สด จนฺ ท สโร). 2525. ทางมรรคผลนิ พ พาน
รวมธรรมปฏิบัติตามแนววิชชาธรรมกาย. กรุงเทพฯ : วัดปากน้ำ
ภาษีเจริญ.
78 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ภาษาอังกฤษ
Brancaccio, Pia and Kurt Behrendt, ed. 2006. Gandhāran
Buddhism : Archeology, Art, Texts. Vancouver. Toronto :
UBC Press.

Glass, Andrew, and Mark Allon. 2007. Four Gāndhārī


Samyuktāgama sūtras : Senior Kharosฺtฺhī fragment 5,
Gandhāran Buddhist texts. Seattle : University of
Washington Press.

Gómez, Luis O., and Jonathan A. Silk. 1989. Studies in the


Literature of the Great Vehicle : Three Mahāyāna
Buddhist Texts. Ann Arbor, Mich. : Collegiate Institute
for the Study of Buddhist Literature and Center for
South and Southeast Asian Studies, University of
Michigan.

Hallade, Madeleine. 1968. The Gandhara Style and the


Evolution of Buddhist Art. London : Thames and
Hudson.

Harrison, Paul M. 1990. The Samādhi of direct encounter


with the Buddhas of the present : an annotated English
translation of the Tibetan version of the Pratyutpanna-
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 79
Buddha-sammukhāvasthita-samādhi-sūtra with several
appendices relating to the history of the text, Studia
philologica Buddhica. Monograph series. Tokyo :
International Institute for Buddhist Studies.

Jamie, Hubbard, and Paul L. Swanson. 1997. Pruning the


Bodhi Tree : The Storm over Critical Buddhism.
University of Hawai’i press.

Jantrasrisalai, Chanida, Timothy Lenz, Lin Qian, and


Richard Salomon. forthcoming. "Fragments of an
Ekottarikāgama Manuscript in Gāndhārī." In J.
Braarvig, eds., Buddhist Manuscripts vol IV. Oslo:
Hermes Pub.

Michael, Zimmermann. 2002. A Buddha Within : The


Tathāgatagarbha sūtra. Biblotheca Philologica et
Philosophica Buddhica VI. The International
Research Institute for Advanced Buddhology, Soka
University.

Skilton, Andrew. 2002. "Samādhirājasūtra." In J. Braarvig,


eds., Buddhist Manuscripts vol II, pp. 97-178. Oslo :
Hermes Pub.
80 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

Vaidya, P.L. 1961. Samadhirajasūtra. Vol. 2, Buddhist


Sanskrit texts. Darbhanga : Mithila Institute of Post-
graduate Studies and Research in Sanskrit Learning.

Paul, William. 2009. Mahāyāna Buddhism : the Doctrinal


Foundations, Taylor & Francis.

Wayman, Alex and Hideko. 1990. The Lion’s Roar of Queen


Śrīmālā. Delhi : Motilal Banarsidass.
ป ร ะ วั ติ
82 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

พระครูวิเทศสุธรรมญาณ วิ.
(สุธรรม สุธมฺโม)
ผูชวยเจาอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานอำนวยการสถาบันวิจัย
นานาชาติธรรมชัย (Dhammachai International Research Institute ;
DIRI) นิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย รามคำแหง นั ก ธรรมเอก
พระอาจารยสอนสมาธิภาวนา รวมประชุมวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ลอดดอน สหราชอาณาจั ก ร ในป พ.ศ. 2549 ที่
มหาวิ ท ยาลั ย เอเมอรี่ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าในป พ.ศ. 2551 และ
ที่ ป ระเทศไต ห วั น เมื่ อ ป พ.ศ. 2553 ได รั บ ใบประกาศกิ ต ติ คุ ณ
ผูส นับสนุน “โครงการปกปกรักษาคัมภีรใ บลานลาว” จากหอสมุดแหงชาติ
สปป.ลาว ในป พ.ศ. 2549 และเปนประธานผูดำเนินการ “โครงการ
ดิ จิ ไ ทเซชั่ น คั ม ภี ร ฉ บั บ เทพชุ ม นุ ม ” วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลาราม
เมื่อ พ.ศ. 2556 งานที่วิจัยอยูเปนการคนควาคำสอนดั้งเดิมจากคัมภีร
โบราณตางๆ ในแถบสุวรรณภูมิ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 83

ศาสตราจารยกติ ติคณ
ุ สุกญ
ั ญา สุดบรรทัด
ราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก
ทานเปนอดีตอาจารยคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ระหวาง
รับราชการไดเขียนผลงานวิจัย ตำรา และบทความทางวิชาการเปนจำนวนมาก
เคยไดรับรางวัลวิจัยจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
และรางวัลอาจารยดีเดนจากกองทุนเดียวกัน เคยเปนกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร
หลังจากเกษียณอายุราชการในตำแหนงศาสตราจารย ทางจุฬาลงกรณ
มหาวิ ท ยาลั ย ได มี ม ติ แ ต ง ตั้ ง เป น ศาสตราจารย กิ ต ติ คุ ณ คณะนิ เ ทศศาสตร
เครื่องราชอิสริยาภรณสุดทายที่ไดรับคือ มหาปรมาภรณชางเผือก นอกจากนั้น
ศาสตราจารย กิ ต ติ คุ ณ สุ กั ญ ญา สุ ด บรรทั ด ยั ง เป น อดี ต สมาชิ ก วุ ฒิ ส ภา เป น
อดี ต ประธานคณะกรรมาธิ ก ารบริ ห ารการศาสนา คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และ
ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และประธานคณะอนุ ก รรมาธิ ก ารพระพุ ท ธศาสนา ใน
คณะกรรมาธิการชุดเดียวกัน ปจจุบันทานดำรงตำแหนง ราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก
สำนักธรรมศาสตรและการเมือง (สาขานิเทศศาสตร) และสมาชิกสภาปฏิรูป
84 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ดร.ศรัณย เลิศรักษมงคล
จบการศึ ก ษาพุ ท ธศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จากมหาจุ ฬ าลงกรณ
ราชวิทยาลัย สาขาพระพุทธศาสนา มีประสบการณการทำงานทางดาน
วิ ช าการมากมาย อาทิ นั ก วิ ช าการศึ ก ษา สำนั ก งานอธิ ก ารบดี
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บรรณาธิการจุลสารจุฬาวิจัย ผูชวยวิจัยของ
ศูนยวิจัยนโยบายการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผู ช ว ยวิ จั ย ของศู น ย วั ฒ นธรรมศึ ก ษา คณะครุ ศ าสตร จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย และนักวิชาการ กลุมงานประเมินคุณภาพการศึกษาระดับ
อุดมศึกษา (กปอ.) สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการ
ศึกษา (สมศ.) สำนักนายกรัฐมนตรีปจจุบันเปนอาจารยพิเศษใหกับ
หลายมหาวิทยาลัย เชน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และสถาบันธรรมชัย มีผลงานดานวิชาการ
ตีพิมพมากมายทั้งรูปแบบหนังสือ ตำรา งานวิจัย และบทความวิชาการ
วิทยากร
พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.9
พระมหา ดร.สุธรรม สุรตโน ป.ธ. 9
พระเกียรติศักดิ์ กิตฺติปฺโญ
ดร.กิจชัย เอื้อเกษม
ดร. ชัยสิทธิ์ สุวรรณวรางกูล
ดร.ชนิดา จันทราศรีไศล บ.ศ. 9
คุณดารณี นันติวานิช
คุณณัฐปยา สาระดำ
คุณสุชาดา ทองมาลัย
86 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

พระมหาสมเกียรติ วรยโส (วรยศ) ป.ธ. 9


ทานจบการศึกษา ปวส. สาขาการบัญชี เมื่อ พ.ศ. 2529 จาก
สถาบั นวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ชั ย นาท และได รั บ การอุ ป สมบท เมื่ อ วั น ที่
28 พฤศจิกายน 2529 ณ พระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
หลั ง จากนั้ น จึ ง ได ศึ ก ษานั ก ธรรมเอก อภิ ธ รรมบั ณ ฑิ ต และอภิ ธ รรม
มหาบัณฑิต ณ อภิธรรมมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย วัดระฆังโฆสิตาราม
และไดเลาเรียนพระบาลีจนจบเปรียญธรรม 9 ประโยค ทานเคยเปน
กรรมการตรวจบาลี ส นามหลวงติ ด ต อ กั น หลายป ป จ จุ บั น ท า นเป น
ผูอำนวยการสำนักเรียนอภิธรรม วัดพระธรรมกาย และเปนครูสอน
พระอภิธรรมบัณฑิต และอภิธรรมศึกษาของวัดพระธรรมกาย มีความ
เชี่ยวชาญอยางยิ่งดานพระไตรปฎกบาลี โดยเฉพาะดานพระอภิธรรม
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 87

พระมหา ดร.สุธรรม สุรตโน (แกวเคน) ป.ธ. 9


ผูชวยเจาอาวาสวัดพระธรรมกาย อาจารยใหญโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรม วัดพระธรรมกาย ผูชวยผูอำนวยการสำนักการศึกษา พระอาจารย
สอนสมาธิภาวนา พระวิปสสนาจารย พระอาจารยสอนแผนกบาลี-ธรรม
ทีป่ รึกษาฝายวิชาการ สถาบันวิจยั นานาชาติธรรมชัย ครูพระสอนศีลธรรม
ในโรงเรียน จบการศึกษาเปรียญธรรม 9 ประโยค พ.ศ. 2541 สำเร็จ
การศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย สาขาปรัชญา
พ.ศ. 2554 วิทยานิพนธเรื่อง “การศึกษาพระพุทธศาสนา ศีลธรรม
และการทำสมาธิ” งานวิจัยคนควาเกี่ยวกับหลักฐานธรรมกายในคัมภีร
พระไตรปฎก อรรถกถา และปกรณวิเสสตางๆ ในภาษาบาลี งานวิจัย
ที่ ก ำลั ง ทำคื อ “การศึ ก ษาการปฏิ บั ติ ธ รรมแบบพุ ท ธานุ ส สติ ใ นคั ม ภี ร
พุทธศาสนาภาษาบาลี”
88 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

พระเกียรติศักดิ์ กิตฺติปฺโญ
เปนนิสติ DCI รุน 1 ไดรบั การคัดเลือกใหไปศึกษาตอทีว่ ทิ ยาลัยสงฆ
ฉงหลิ น วั ด โฝวกวงซาน 1 ป และจบปริ ญ ญาตรี ด า นศาสนศาสตร
จากมหาวิทยาลัยเสวียนจั้ง ไตหวัน จบปริญญาโทดานศาสนศาสตร
ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย โอทาโก ประเทศนิ ว ซี แ ลนด และเตรี ย มศึ ก ษาต อ
ดานพุทธศาสตรที่ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยทำวิจัย
เกี่ ย วกั บ รู ป แบบสมาธิ ใ นพระพุ ท ธศาสนาจี น ยุ ค ต น ธรรมกายใน
พระไตรป ฎ กจี น และ 4 เสาหลั กองค ก รพุ ท ธไต ห วั น มี ผ ลงานการ
นำเสนอบทความวิชาการ เขียนบทความสารคดี และเขารวมประชุม
วิชาการในประเทศตางๆ เชน ไทย ฮองกง ไตหวัน จีน นิวซีแลนด
ออสเตรเลีย และเนเธอรแลนด นักศึกษาทุนโครงการสืบคนหลักฐาน
วิชชาธรรมกายในคำสอนดั้งเดิม ในอุปถัมภพระเทพญาณมหามุนี วิ.
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 89

ดร.กิจชัย เอื้อเกษม
สำเร็ จ การศึ ก ษาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต จากมหาวิ ท ยาลั ย ซิ ด นี ย
ประเทศออสเตรเลีย ตามโครงการสืบคนหลักฐานวิชชาธรรมกายใน
คำสอนดั้ ง เดิ ม ในอุ ป ถั ม ภ พ ระเทพญาณมหามุ นี วิ . งานวิ จั ย เป น
งานค น คว า ร อ งรอยวิ ช ชาธรรมกายจากเอกสารตั ว เขี ย นอั ก ษรธรรม
อักษรขอมไทย และจารึกโบราณ มีผลงานสวนใหญเกีย่ วกับพระพุทธศาสนา
ในอดีตของไทย โดยคนควาจากคัมภีรอักษรธรรมลานนา อักษรธรรม
ลานชาง อักษรธรรมอีสาน และอักษรขอมไทย ไดรับเชิญจาก King's
College London ใหนำเสนอผลงานเรื่อง "Meditation on letters"
ปจจุบันเปนนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย
90 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ดร. ชัยสิทธิ์ สุวรรณวรางกูล


จบปริ ญ ญาตรี คณะเภสั ช ศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย
ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกียวโต และปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเดลลี
คณะอั ก ษรศาสตร เอกพุ ท ธศาสนา เคยเป น อาจารย พิ เ ศษสอนที่
มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย และสถาบั น ธรรมชั ย
ป จ จุ บั น เป น อาจารย ส อนวิ ช าภาษาสั น สกฤต และพระพุ ท ธศาสนา
ทีภ่ าควิชาเทววิทยาและศาสนา มหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนด
ดร. ชัยสิทธิ์ ไดรับทุนการศึกษาจากรัฐบาลญี่ปุนและสโมสรโรตารีญี่ปุน
ไปทำวิจัยหัวขอ “ปฏิจจสมุปบาท และสุญญตาในคัมภีรมาธยันตวิภาค”
ในระดับปริญญาโท และ “การศึกษาเรื่องธรรมกายใน พระไตรปฏก
พุ ท ธศาสนาทิ เ บต” ในระดั บ ปริ ญ ญาเอก มี ผ ลงานพิ ม พ ต ำราเป น
นักเขียนรวมใน หนังสือ “Unifying Buddhist Philosophy Views” ของ
สำนักพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2555) “Pratītyasamutpāda”
ใน Oxford Bibliography online (2557) และ “Madhyamaka and
Yogācāra” ของสำนักพิมพ ออกซฟอรด (2558)
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 91

ดร.ชนิดา จันทราศรีไศล บ.ศ. 9


สำเร็จการศึกษาปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยซิดนีย ประเทศ
ออสเตรเลีย สาขาศาสนศึกษา ในโครงการสรางนักวิชาการเพื่อสืบคน
หลักฐานธรรมกายในคำสอนดั้งเดิม ในอุปถัมภพระเทพญาณมหามุนี วิ.
เปนนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ทำงานศึกษารองรอย
ธรรมกายในคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธศาสนา โดยศึกษาจากคัมภีร
ภาษาคานธารี แ ละสั น สกฤตเปรี ย บเที ย บกั บ บาลี งานวิ จั ย ที่ ผ า นมา
ศึ ก ษาความหมายของธรรมกายในคำสอนดั้ ง เดิ ม ความเข า ใจเรื่ อ ง
ธรรมกายในอรรถกถาและฎีกาบาลี และรองรอยธรรมกายในคันธาระ
และเอเชียกลาง
92 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

คุณดารณี นันติวานิช
จบการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล และ
ปริญญาโทสาขาปโตรเคมี จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2548
เปนนักศึกษาทุนโครงการสืบคนหลักฐานวิชชาธรรมกายในคำสอนดั้งเดิม
ในอุปถัมภพระเทพญาณมหามุนี วิ. สำเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขา
พุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย ไดรับรางวัล
การเรียนภาษาบาลีดีเดน เปนนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย
สนใจการศึ ก ษาคั ม ภี ร พ ระพุ ท ธศาสนาภาษาบาลี ภาษาสั น สกฤต
ไดถอดความและแปลวิเคราะหคำและความหมาย คัมภีรภาษาสันสกฤต
จิตฺรวิศุทฺธิปฺรกรณ จำนวน 100 กวาโศลก เปนภาษาไทย และไดพบ
หลักฐานทีส่ นับสนุนการเทศนสอนของพระเดชพระคุณหลวงปูพ ระมงคล-
เทพมุนีในคัมภีรนี้
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 93

คุณณัฐปยา สาระดำ
จบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี คณะเกษตร สาขาปฐพี วิ ท ยา
มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร จบปริ ญ ญาโทด า นพระพุ ท ธศาสนา
มหาวิทยาลัยซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย ปจจุบันกำลังศึกษาในระดับ
ปริ ญ ญาเอกด า นพระพุ ท ธศาสนาและสั ง คมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย
โคตมะบุดดา ประเทศอินเดีย ในทุน 60 ปธรรมชัย
เธอเคยนำเสนอผลงานวิ ช าการในงานสั ม มนาวิ ช าการในงาน
วันวิสาขบูชา ณ ประเทศเวียดนาม และงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ
ที่จัดขึ้นโดยมหาจุฬาลงกรณราช-วิทยาลัย ปจจุบันกำลังทำหัวขอวิจัย
เกี่ยวกับประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดีโดยวิเคราะหจาก
จารึก งานสถาปตยกรรมและประติมากรรมของชาวพุทธในยุคสมัยนั้น
94 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

คุณสุชาดา ทองมาลัย
จบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขาบริ ห ารการตลาด จาก
มหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพ ปริ ญ ญาโท ด า นบริ ห ารเศรษฐศาสตร และ
การจัดการหลักสูตรภาษาอังกฤษจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีความ
สนใจในดานการศึกษาทางพระพุทธศาสนาจึงไดศึกษาจนจบปริญญาโท
ทางดานพุทธศาสตรศึกษาสถาบันธรรมชัย (DCI) โดยวิจัยหัวขอ “ศึกษา
วิ เ คราะห ส มถะและวิ ป ส สนาตามแนวคำสอนของพระมงคลเทพมุ นี
(สด จนฺทสโร)” ปจจุบันกำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก สาขาปรัชญา
และศาสนา ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีหัวขอวิจัยคือ “รูปแบบการ
ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ เ หมาะสมกั บ สั ง คม และวั ฒนธรรมของชาวตะวั น ตก”
มีความสนใจและเชี่ยวชาญในดานสมาธิในพระพุทธศาสนาทั้งเถรวาท
มหายาน และวัชรยาน รวมถึงประวัตศิ าสตรพระพุทธศาสนา และศาสนา
เปรียบเทียบโครงการสืบคน “หลักฐานธรรมกายในคัมภีรพุทธโบราณ”
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 95

โครงการสืบคน
"หลักฐานธรรมกายในคัมภีรพุทธโบราณ"
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย
(ออสเตรเลียและนิวซีแลนด)
องคสถาปนา พระเทพญาณมหามุนี วิ. (ไชยบูลย ธมฺมชโย)
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พระราชภาวนาจารย (เผด็จ ทตฺตชีโว)
พระครูวินัยธรสุวิทย สุวิชฺชาโภ
ที่ปรึกษา พระครูภาวนาวิเทศ (วิรัตน มณิกนฺโต) ป.ธ.3
พระครูใบฎีกาอำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก
พระมหา ดร.มนตชัย มนฺตาคโม ป.ธ.6
Dr. Edward F. Crangle
อาจารยชะเอม แกวคลาย
Dr. Anatole Petiler
ประธานคณะกรรมการอำนวยการ
(President: DIRI-Board of Directors)
พระครูวิเทศสุธรรมญาณ วิ. (สุธรรม สุธมฺโม)
ผูอำนวยการบริหาร ศาสตราจารยกิตติคุณ สุกัญญา สุดบรรทัด
ราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก
เลขาธิการ อุบาสิกา ดร.ศิริพร ศิริขวัญชัย
96 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

นักวิจัย พระครูวิเทศสุธรรมญาณ วิ. (สุธรรม สุธมฺโม)


พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.9
พระมหาดร.สุธรรม สุรตโน ป.ธ.9
พระเกษตร ญาณวิชฺโช
พระเกียรติศักดิ์ กิตฺติปฺโญ
พระวีรชัย เตชงฺกุโร
พระปอเหมา (รวี) ธมฺมฐิโต
ดร.กิจชัย เอื้อเกษม
ดร.ชัยสิทธิ์ สุวรรณวรางกูล
ดร.ศรัณย เลิศรักษมงคล
อุบาสิกา ดร.ชนิดา จันทราศรีไศล บ.ศ.9
อุบาสิกา สุปราณี พณิชยพงศ บ.ศ.9
กัลฯ ดารณี นันติวานิช
กัลฯ ณัฐปยา สาระดำ
Dr. Jeffrey P. Wilson
กัลฯ สุชาดา ทองมาลัย
ผูชวยนักวิจัย ฝายวิชาการ
พระมหาสมคิด ติกฺขิโณ ป.ธ.3
พระทอง กตทีโป
พระมหาอริยะ อริยชโย ป.ธ.9
พระมหานรพล พลฺชโย ป.ธ.9
พระเอกบดินทร ปฺารตโน
พระมหาวิโรจน ญาณวิโรจโน ป.ธ.9
กัลฯ ชัลวาลย เสรีพุกกะณะ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 97

ผูชวยนักวิจัย ฝายวิชาการ
กัลฯ กัมพล ตรีสหเกียรติ
กัลฯ สุชาดา พงศพันธ
อุบาสิกา ประสงค สมนอย
อุบาสิกา ทองธิดา กระเวนกิจ
อุบาสิกา สุมิตรา วิฑูรชาตรี
กัลฯ พรพรหม ทิพยมนตรี
กัลฯ อิศรา ตรีสหเกียรติ
อุบาสิกา สุทธิสา ลาภเพิ่มทรัพย
อุบาสิกา บุศฎี ภูสันติสัมพันธ
กัลฯ ขนิษฐา วงษชื่น
กัลฯ สายชนนี รัสมีไพฑูรย
บัณฑิตแกว กองภพ ปญญาเลิศสินไพศาล
บัณฑิตแกว กิตติพงษ วงศอักษร
กัลฯ วรเมธ มลาศาสตร
กัลฯ ธนัช พิมพทราย
ผูชวยนักวิจัย ฝายเทคนิคและอนุรักษคัมภีร
พระสาธิต ฐิตธมฺโม
พระอดุลย จนฺทูปโม
พระปญญา ฐานิโย
พระบัณฑิต วิสุทฺธาโภ
กัลฯ Leng Kok An
กัลฯ สุเทพ ชลเวกสุวรรณ
กัลฯ ทนงศักดิ์ ปนทะสืบ
98 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

ผูชวยนักวิจัย ฝายเทคนิคและอนุรักษคัมภีร
กัลฯ บุญเลิศ ปนมณี
กัลฯ ปุณเมศวร จิราศิระพัฒน
กัลฯ พุทธพล ภูมิพุทธ
กัลฯ เกียรติศักดิ์ ศิริรัตน
กัลฯ นิรมล พรมเพ็ชร
กัลฯ อารีย สารศาสตรสุนทร
อุบาสิกา ดารุณี หนูหมื่น
กัลฯ วัลภา เจือจันทร
กัลฯ กวิภัฏส ธนานันทบุลวัชร
อาสาสมัคร “สหพันธรวมใจไทยทั้งชาติ”
อาสาสมัคร “สมาคมบัณฑิตรัตน”
ผูชวยนักวิจัย ฝายสนับสนุนงานวิจัย
กัลฯ อุดม ทวมสมบุญ
กัลฯ วัฒนาวรรณ จันทระกุล
กัลฯ ปณิตา ชินประกายรัตน
อุบาสิกา กัลยา นิยมสุข
กัลฯ อิสรีย สายจีน
อุบาสิกา พรทิพย นาทะพันธ
กัลฯ กิติยา ลิ่มอรุณวงศ
กัลฯ ธนกร นันตะภาพ
กัลฯ นพวรรณ ถาวรบุตร
กัลฯ นฤมล ศรีสมนึก
กัลฯ ปริยา กฤษฎาธิวัชร
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 99

คณะกรรมการที่ปรึกษาและอุปถัมภ
“โครงการวิจัยสืบคนคำสอนดั้งเดิมฯ”
ตั้งแตป พ.ศ. 2547 จนถึงปจจุบัน
กัลฯ กิตติเดช - อินทิรา ภัทรธีรานนท
กัลฯ จันทรเย็น ควาเตอรเมน
กัลฯ ชัยยศ เตชะทวีวัฒน
กัลฯ เรือเอก ชินวัตร นอยวัน
กัลฯ รุงเพชร ศรีวิชัยลำพันธ
กัลฯ ฉวีวรรณ กลิ่นจุย
กัลฯ ดร.ประกอบ - วรรณา จิรกิตติ
กัลฯ มงคล - ลาวัลย - มัลลิกา - วิชากร - วิโรจน จิรพัฒนกุล
กัลฯ ศิริเพ็ญ - ไผท - ดร.เอกพล เมธารมย
กัลฯ ศุภวิทย ชะนะ - แนงนอย พันธุมีเชาวน
กัลฯ สมศักดิ์ - เขมิกา วจีวรสิทธิ์
กัลฯ พ.อ.กลาณรงค - เนตรชนก ไพรีพายฤทธิเดช
กัลฯ สุวิทย - ศศินา - ด.ช.พอเพียง วิมุตตานนท
กัลฯ อาสา นินนาท - นภัสนวรรณ ลิ้มสวัสดิ์
กัลฯ พิศมัย แสงหิรัญ
กัลฯ พวงเพ็ญ ทิสยากร
กัลฯ วีรยุทธ ทวีเดช
กัลฯ น.พ.มนัส - จารุวรรณ ประเสริฐธรรม
บริษัทคริสตอล ซอฟท จำกัด (มหาชน)
บริษัทออโตไฟลท จำกัด
ครอบครัวใตธงชัย
100 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

รายชื่อเจาภาพ
กองทุนกิตติมศักดิ์พิเศษ
วัดพระธรรมกาย สาขาภาคพื้นโอเชียเนีย
กัลฯ โยมแมธรรมนูญ ตีระวนิช (กองสุข)
อุทิศสวนกุศลให โยมพอสุภร ตีระวนิช
กัลฯ นพ.ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต
กัลฯ นิตยา จรุงจิต
กัลฯ ชัย นิมากร
กัลฯ พงษศักดิ์ - สีฟา ณ นคร
กัลฯ พงษศกั ดิ์ - อรพินท วิเตียรณี และบริษทั เอส.อาร.ซี เอ็นเวลอพ จำกัด
กัลฯ พนมชัย - นิตยา กาญจนสุภัคร
กัลฯ เพ็ญจันทร ลอจักรชัย
กัลฯ วรรณพร ไตรเนตร
กัลฯ วาสนา เรืองรักษลิขิต
กัลฯ สานิตย เสวกคเชนทร
กัลฯ สุนีย สัจจาไชยนนท
กัลฯ สมหมาย - อัปสร ครนาคู
สมาคมบัณฑิตรัตน
โรงพิมพเลี่ยงเชียง (จงพิพัฒนยิ่ง)
บริษัทรุงศิลปการพิมพ (1977) จำกัด
กองทุนกิตติมศักดิ์
ศูนยปฏิบัติธรรมเซี่ยงไฮ
กัลฯ ศ.กิตติคุณ สุกัญญา สุดบรรทัด และครอบครัว
กัลฯ จิรภา ปตาวรรณ
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 101

กองทุนกิตติมศักดิ์
กัลฯ ณัทชุติภา ซาโตะ และครอบครัว
กัลฯ นำชัย ขจีรัตนวัฒนา
กัลฯ บวรเทพ จาติกวนิช
กองทุนอุปถัมภ
พระครูสมุหณรงค ทนฺตจิตโต
พระมหา ดร.ชัยฟา ธฺญกุโล และกองบุญมหาทานบารมี 1 เดือน 11
พระครูใบฎีกาประดิษฐ อริฺชโย
พระกิตติศักดิ์ กิตฺตธโร และครอบครัว
พระอุดม ยติสฺสโร
พระสถาพร ญาณวิชฺโช
พระวิชัย ปุณฺณธมฺโม
พระชาติชาย ชาติวุฑฺโฒ และครอบครัวจันทราศรีไศล
พระสาธิต ฐิตธมฺโม
พระมหาอภิรัถ ยโสธโร และกลุมผาปาใสสวาง
ครอบครัวนันติวานิช
ครอบครัวประเสริฐ ลานพนอำพน
ครอบครัวโรจนรุงเรือง
ครอบครัววิฑูรชาตรี
ครอบครัวศรีฐิติวงศ
ครอบครัวสุวิศิษฐพงศ
ครอบครัวเอื้อเกษม
กัลฯ กร - มังกร แกวยะ
กัลฯ กิรณา ตีระวนิช
102 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

กองทุนอุปถัมภ
กัลฯ กิรติกา - กันตพัฒน นิยมพงศ
กัลฯ เกศณี - บรรเจอด - พัชรมณี - พิชญานิน - เมธัส - เมธี หวังชาลาบวร
กัลฯ เกษชนก เทียนเพ็ง
กัลฯ คำออน - สุนี และครอบครัวสาระดำ
กัลฯ เงียบกิม แซโคว
กัลฯ จะเด็ด - หนูจีน สุวรรณธรรมา
กัลฯ จามรี - จิรพงศ - จิรัฐิฏิ - จิรพัส นนทธรรม
กัลฯ จิราภรณ เขตประเสริฐกุล
กัลฯ ชลียา นวลศรี
กัลฯ ชัชวาล เสรีพุกกะณะ
กัลฯ เชิด - ประพิศ - พชรา - พจนา เมธางกูร และครอบครัว
กัลฯ ชูชาติ - คุณแมเพ็ญศรี เลิศรักษมงคล
กัลฯ เชื่อม - บัวผัน เบ็งจันทึก
กัลฯ ดวงพร - สามารถ - ชิน - ดร.ธีราวุฒิ ภูสันติสัมพันธ
กัลฯ รศ.ดร.ธงสรวง อิศรางกูร ณ อยุธยา
กัลฯ ธนกร - อิสรีย นันตะภาพ
กัลฯ ธนัชพล - อริสราภรณ - ด.ช.ธนัช วัชรพล
กัลฯ ธรรมศักดิ์ ตีระวนิช และครอบครัว
กัลฯ ดร.ธัญญภรณ เลาหะเพ็ญแสง และครอบครัว
กัลฯ ธิดา ราชจินดา
กัลฯ นวล โนนทิง
กัลฯ นอย พุฒขาว และครอบครัว
กัลฯ นัดดาว ชัยรัต และครอบครัว
กัลฯ นันทภัค เมธนัส
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 103

กองทุนอุปถัมภ
กัลฯ เนตรนภิส ศิวาวัฒน
กัลฯ ปฐม มหาเมฆ
กัลฯ ปณิตา - แมสุนีย ชินประกายรัตน
กัลฯ พรพรหม ทิพยมนตรี
กัลฯ พิมพวรา โฆษิตวณิชย
กัลฯ พิมพวลัญช ตีระวนิช และครอบครัว
กัลฯ พุทธพล ภูมิพุทธ
กัลฯ พุทธภูมิ ภูมิพุทธ
กัลฯ ลัลลนันทน เอื้อปญญาพร
กัลฯ วรรณี ปยะธนะศิริกุล และครอบครัว
กัลฯ วรวิทย - ศิริรัตน - นพพร วงศสถิตยพร
กัลฯ วลัยพรรณ เอื้อปญญาพร
กัลฯ วัฒนาวรรณ จันทระกุล
กัลฯ วันเพ็ญ จันทรินทร
กัลฯ รศ.ดร.วิรุณศักดิ์ สันติเพ็ชร
กัลฯ ศรีลักษมี สิริธนาธัมนิธิ และครอบครัว
กัลฯ ศรีวรรณ ลิมพิรานุรักษ
กัลฯ สมเกียรติ ศิริพันธ
กัลฯ ดร.สมศักดิ์ - สุขาดา - น้ำผึ้ง ศรีสมบุญ
กัลฯ สิญาภรณ - สิญาดา สนธิคุณ
กัลฯ พิชัย เครือศรี
กัลฯ ศศิยารินทร พนาวรวัฒน
กัลฯ สุกัญญา พลนาคู และครอบครัว
กัลฯ สุขุม - เหมชาดา พงศพันธ และลูกๆ
กัลฯ สุดายุ ตีระวนิช
104 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

กองทุนอุปถัมภ
กัลฯ สุทธิสา ลาภเพิ่มทรัพย และครอบครัว
กัลฯ อนพัทย เกียรตินวนันท และครอบครัว
กัลฯ อัชฌา หลิ่วเจริญ และครอบครัว
กัลฯ อุดม ทวมสมบุญ
กัลฯ เอื้อมพร ภูมิพุทธ
ทีมคลีนใบลาน
ศ.คลินิกเกียรติคุณ - กัลฯ พ.ญ.สรรพศรี - สมาน เปยวุฒิ
บุญสราญธรรม

“ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ


การใหธรรมเปนทาน ยอมชนะการใหทั้งปวง ”
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 105

สถาบันดีรีไดทำสัญญาความรวมมือกับ
มหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแหงในตางประเทศ
เพื่อการศึกษาคัมภีรเกาแกในพระพุทธศาสนา

พิธีลงนามสัญญาความรวมมือทางวิชาการ (ลาสุด)
ของสถาบันดีรีกับศูนยพุทธศาสตรศึกษา
แหงมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอรด ประเทศอังกฤษ
โดยศาสตรจารย ดร.ริชารด กอมบริช
นักวิชาการทางพระพุทธศาสนาระดับโลก
รวมลงนามเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
106 ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1

การลงนามความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันดีรี
กับมหาวิทยาลัยวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา

การลงนามสัญญาความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันดีรีกับ
มหาวิทยาลัยออสโล ประเทศนอรเวย ที่มีชื่อเสียงระดับโลก
โดยศาสตราจารยเจนส บราวิค (คนที่สามแถวหลังนับจากขวามือ)
เปนหนึ่งในผูริเริ่มการศึกษาคัมภีรโบราณที่มีอายุเกือบ ๒,๐๐๐ ป
ถาม-ตอบขอสงสัยเรื่องธรรมกาย 1 107

การลงนามสัญญาความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันดีรี
กับมหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนด

การลงนามสัญญาความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันดีรีกับ
มหาวิทยาลัยเคลานียา ประเทศศรีลังกา

You might also like