You are on page 1of 5

ข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


คาชี้แจง : 1. แบบทดสอบชุ ด นี้ เป็ นแบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ ตามมาตรฐานการเรี ย นรู ้
มี 2 ชุด ชุดละ 40 ข้อ เป็ นแบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก
2. ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยกา  ทับตัวอักษร
ลงในกระดาษคาตอบที่ตรงกับตัวเลือกที่ตอ้ งการ

ชุดที่ 1 เวลาทาข้ อสอบ 50 นาที


1. การศึกษาประวัติศาสตร์ เกี่ยวข้องกับเวลา 4. พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐ์อกั ษรไทย
เพราะเหตุใด เมื่อ พ.ศ. 1826 ตรงกับพุทธศตวรรษใด
ก. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นใน ก. พุทธศตวรรษที่ 18
อนาคต ข. พุทธศตวรรษที่ 19
ข. เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม ค. พุทธศตวรรษที่ 20
ค. เข้าใจพัฒนาการของชาติในอดีต ง. พุทธศตวรรษที่ 21
ง. ลาดับเหตุการณ์ในอดีต ปั จจุบนั อนาคต 5. ช่วงเวลาระหว่าง พ.ศ. 1893 – พ.ศ. 2310
2. ข้อใดเป็ นการบอกช่วงเวลาตามแบบ อยูใ่ นช่วงสมัยใด
จันทรคติ ก. อยุธยา ข. สุ โขทัย
ก. วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ค. ธนบุรี ง. รัตนโกสิ นทร์
ข. ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ปี จอ 6. นักเรี ยนคิดว่าประวัติศาสตร์ ในปั จจุบนั
ค. พุทธศตวรรษที่ 26 สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด
ง. คริ สต์ศตวรรษที่ 19 ก. ได้ เพราะแนวคิดของนักประวัติศาสตร์
3. โรงเรี ยนแห่งหนึ่งสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2480 ต่างกัน
ในปี พ.ศ. 2549 โรงเรี ยนแห่ งนี้สร้างขึ้น ข. ได้ ถ้ามีหลักฐานใหม่ๆ ที่ใช้เหตุผลที่ดี
กี่ทศวรรษ มาทักท้วงข้อมูลเดิม
ก. 5 ทศวรรษ ค. ไม่ได้ เพราะมีการตรวจสอบข้อมูล
ข. 6 ทศวรรษ หลักฐานจากนักประวัติศาสตร์แล้ว
ค. 7 ทศวรรษ ง. ไม่ได้ เพราะจะทาให้ขอ้ มูลหลักฐานเดิม
ง. 8 ทศวรรษ ไม่น่าเชื่อถือ
1
7. ถ้าจะประเมินความจริ งของหลักฐานทาง 12. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของภาคใต้
ประวัติศาสตร์ ควรใช้วธิ ีใด คล้ายคลึงกับภาคใด
ก. การรวบรวมข้อมูล ก. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ข. การสังเคราะห์ขอ้ มูล ข. ภาคตะวันออก
ค. การวิเคราะห์ขอ้ มูล ค. ภาคกลาง
ง. การใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ ง. ภาคเหนือ
8. การตีความข้อมูล นักประวัติศาสตร์ควรยึด 13. การประกอบอาชีพเพาะปลูกแต่ละภูมิภาค
ข้อใดเป็ นหลัก มีความแตกต่างกัน เพราะอะไร
ก. ตีความหลายๆ แบบ ก. การศึกษาต่างกัน
ข. ตีความตามแนวคิดของตนเอง ข. ค่านิยมต่างกัน
ค. ตีความเฉพาะหลักฐานที่พบ ค. สภาพแวดล้อมต่างกัน
ง. ตีความอย่างเป็ นกลางและยุติธรรม ง. ฐานะทางเศรษฐกิจต่างกัน
9. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ขอ้ ใดไม่เป็ น 14. คุณสมบัติของบ้านไทยในอดีตที่นิยม
ลายลักษณ์อกั ษร ยกพื้นสู ง มีใต้ถุนบ้าน เพื่อประโยชน์ต่างๆ
ก. ห้องสมุด ยกเว้นข้อใด
ข. จารึ ก ก. ป้ องกันน้ าท่วม
ค. ตานาน ข. ใช้ใต้ถุนบ้านเป็ นที่พกั ผ่อน
ง. จดหมายเหตุ ค. เลี้ยงสัตว์ไว้ใต้ถุนบ้าน
10. ศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงมีคุณค่า ง. ป้ องกันลมพายุในฤดูหนาว
ทางประวัติศาสตร์ อย่างไร 15. ถ้าประชาชนอพยพเข้ามาอยูเ่ มืองใหญ่ๆ
ก. มีอายุหลายร้อยปี จะมีผลต่อข้อใดมากที่สุด
ข. เป็ นศิลปะการจารึ กที่มีค่า ก. รายได้
ค. บันทึกเรื่ องราวต่างๆ ในอดีต ข. การศึกษา
ง. เป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจของคน ค. สภาพแวดล้อม
ในอดีต ง. การนับถือศาสนา
11. ข้อใดเป็ นลักษณะทางภูมิศาสตร์ของ 16. การเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชาธิปไตย มีผลดีอย่างไร
ก. ที่ราบสู ง ก. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสู งสุ ด
ข. ที่ราบชายฝั่งทะเล ข. พระมหากษัตริ ยม์ ีอานาจสู งสุ ด
ค. ที่ราบลุ่มแม่น้ า ค. ประชาชนมีส่วนร่ วมในการปกครอง
ง. ที่ลาดเชิงเขา ง. ประชาชนสามารถปกครองตนเอง
2
17. สนธิสัญญาเบาว์ริง เป็ นสัญญาด้านใด 22. ข้อใดเป็ นเอกลักษณ์ที่ดีงามของ
ก. การค้า วัฒนธรรมไทย
ข. การทหาร ก. การไหว้
ค. การกูย้ มื เงิน ข. การใช้ตะเกียบ
ง. การแบ่งเขตการปกครอง ค. การกินหมาก
18. ความสัมพันธ์กบั ประเทศเพื่อนบ้าน ง. การสร้างบ้านเดี่ยว
สมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น เป็ นอย่างไร 23. ใครไม่รักษาวัฒนธรรมไทย
ก. การทาอุตสาหกรรม ก. อ้นพูดภาษาไทยชัดเจน
ข. การทาสงคราม ข. นิ้งชอบรับประทานขนมเค้ก
ค. การค้าขาย ค. หนุ่ยทายปริ ศนาคาทายกับเพื่อน
ง. การทูต ง. ก้องซื้ อเสื้ อที่ทอด้วยผ้าฝ้าย
19. การปฏิรูปสังคมสมัยรัชกาลที่ 5 ที่สาคัญที่สุด 24. ข้อใดสัมพันธ์กนั
ในการส่ งเสริ มสิ ทธิ มนุษยชนพื้นฐานของ ก. ภาคอีสาน – รามโนราห์
สังคม ข. ภาคใต้ – การร้องเพลงฉ่อย
ก. การเลิกทาส ค. ภาคเหนือ – การกินขันโตก
ข. การจัดตั้งโรงเรี ยน ง. ภาคกลาง – การไหลเรื อไฟ
ค. การจัดตั้งโรงพยาบาล 25. ในอดีตข้อใดไม่ ใช่ การละเล่นของเด็กไทย
ง. การจัดการศึกษาแบบอังกฤษ ก. ลิงชิงหลัก ข. วิง่ เปี้ ยว
20. การแลกเปลี่ยนและการผสมผสานวัฒนธรรม ค. ปริ ศนาคาทาย ง. เกมออนไลน์
ต่างประเทศ เพื่ออะไร 26. ภูมิปัญญาท้องถิ่นข้อใดไม่ได้เกิดจาก
ก. ผลประโยชน์ของผูน้ าและประชาชน อิทธิพลของศาสนา
ข. ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ก. โบสถ์
ค. การสร้างสัมพันธไมตรี ที่ดี ข. เจดีย ์
ง. รักษาเอกราชให้รอดพ้นจาก ค. ศาลพระภูมิ
การแสวงหาอาณานิคม ง. จิตรกรรมฝาผนัง
21. เพราะเหตุใด พื้นที่ทางภาคเหนือจึงปลูกพืช 27. ข้อใดไม่ ใช่ ภูมิปัญญาที่สอดคล้องกับ
แบบขั้นบันได ความเจริ ญก้าวหน้าในปั จจุบนั
ก. เป็ นเขตที่ราบสู ง ก. หม้อน้ าดินเผา
ข. รักษาหน้าดิน ข. การใช้รถสามล้อเครื่ อง
ค. พื้นที่มีความแห้งแล้ง ค. เครื่ องดื่มที่ทาจากสมุนไพร
ง. ประหยัดพื้นที่ในการเพาะปลูก ง. ยาสระผมดอกอัญชัน
3
28. การสร้างเรื อนในภาคใต้ ไม่นิยมฝังเสาเรื อน 33. เพราะเหตุใด รัชกาลที่ 1 จึงทรงเลือก
ลงดิน เพราะเหตุใด กรุ งเทพมหานครเป็ นราชธานี
ก. ดูไม่สวยงาม ก. เป็ นเมืองที่มีแม่น้ าผ่านกลางเมือง
ข. เคลื่อนย้ายลาบาก ข. เป็ นเมืองที่ขยายไปได้กว้างขวาง
ค. ความเชื่อทางศาสนา ค. เป็ นเมืองหน้าด่านสาคัญสมัยธนบุรี
ง. เพื่อไม่ให้เสาผุเร็ ว ง. เป็ นเมืองที่มีป้อมปราการป้ องกันข้าศึก
29. ข้อใดเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคกลาง ได้ดี
ก. ผ้าบาติก 34. การเลิกทาสสมัยรัชกาลที่ 5 ใช้วธิ ีใด
ข. โอ่งมังกร ก. แล้วแต่ทาสจะขอแยกตัวเป็ นอิสระ
ค. ก่องข้าว ข. แล้วแต่นายที่ดูแลทาสจะปลดปล่อย
ง. ผ้ามัดหมี่ ค. ปลดปล่อยอย่างค่อยเป็ นค่อยไป
30. ข้อใดไม่ ใช่ แนวทางการอนุรักษ์ ง. ประกาศเป็ นคาสั่งพระมหากษัตริ ยใ์ ห้
วัฒนธรรมไทย ยกเลิกทาสทั้งหมด
ก. เผยแพร่ วฒั นธรรมไทย 35. เศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 7 ตกต่า เพราะเหตุใด
ข. ปฏิบตั ิตามแบบแผนที่ดีงาม ก. หมดเงินลงทุน
ค. ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ข. สิ นค้าขายไม่ได้
ง. รับวัฒนธรรมต่างชาติมาปฏิบตั ิ ค. ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนมาก
31. สภาพการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี ง. ผลจากการทาสงครามโลกครั้งที่ 1
เป็ นอย่างไร 36. ถ้าเพื่อนต้องการศึกษาเกี่ยวกับจิตรกรรมใน
ก. สงบเรี ยบร้อย สมัยรัชกาลที่ 4 นักเรี ยนจะแนะนาภาพใด
ข. วุน่ วายไม่มนั่ คง ก. ภาพวาดของขรัวอินโข่ง
ค. ติดต่อกับชาวต่างชาติ ข. ภาพเขียนที่ฝาผนังพระปฐมเจดีย ์
ง. ประชาชนอยูอ่ ย่างเป็ นสุ ข ค. ภาพวาดฝาผนังพระที่นงั่ อนันตสมาคม
32. ปัญหาสาคัญที่สุดในสมัยสมเด็จ ง. ภาพวาดของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา
พระเจ้าตากสิ น คือข้อใด นริ ศรานุวตั ติวงศ์
ก. เศรษฐกิจทรุ ดโทรม 37. ปัจจุบนั ประเทศไทยได้รับอิทธิพลทาง
ข. ขาดแพทย์ที่มีความรู ้ ศิลปวัฒนธรรมจากแหล่งใดมากที่สุด
ค. ขาดผูค้ นและกาลังทหาร ก. จีน ข. อินเดีย
ง. มีการทาสงครามกับต่างชาติ ค. ตะวันตก ง. อียปิ ต์
4
38. การศึกษาประวัติบุคคลสาคัญมีประโยชน์ 40. บุคคลสาคัญที่ควรได้รับการยกย่อง
อย่างไร ควรมีคุณสมบัติอย่างไร
ก. ได้ความรู ้เพิ่มเติม ก. มีฐานะร่ ารวย
ข. ได้ทราบประวัติของบุคคล ข. มีตาแหน่งทางการเมือง
ค. ได้รับความเพลิดเพลิน ค. มีความเสี ยสละ
ง. ได้นาไปเป็ นแบบอย่างในชีวิต ง. มีความสามัคคี
39. รัชกาลที่ 2 เป็ นพระมหากษัตริ ยท์ ี่ได้รับ
การยกย่องด้านใด
ก. วรรณกรรม ข. จิตรกรรม
ค. การทหาร ง. การทูต



You might also like