You are on page 1of 100

สารบัญ Slide 1

บทที 1 ความรู้พนฐานระบบ
ื VRV Slide 3
- Product Lineup 9
- Name Plate 14
- Part Layout 20
- ระบบการควบคุม 20
บทที 2 การติดตัง Slide 27
1. & 2. การติดตัง คอยล์เย็น และ คอยล์รอ้ น 29
3. ระบบท่อสารทําความเย็น 41
4. การตรวจสอบรอยรัว 101
5. การทําสุญญากาศระบบ 111
6. ระบบท่อนําทิง 115
7. การเดินสาน Power & Control 123

สารบัญ Slide 2

บทที 3 การ Start-UP ระบบ VRV Slide 145


- การเตรียมตัวก่อน Start-UP 146
8. ระบบ Auto Refrigerant Charge 147
9. การ Test Run ระบบ 167
- การตังค่า Address สําหรับ Central Control 179

บทที 4 ตัวอย่างงานติดตัง Slide 183


- ตัวอย่างงานติดตัง 183
- ตัวอย่างงานติดตังทีไม่ดี 191
3

DAIKIN VRV

4
5
What is your name ?

Variable Refrigerant Volume

6
7
Daikin VRV System

Central
Cen
ntral C
Control
ontrol Multiple Indoor units

Compressor
backup

Inverter

DAIKIN would like to propose VRV IV System that is the inverter technology and
variable refrigerant air conditioner which is the first development by DAIKIN.

CDU1 CDU2 ดูทรายละเอี


ี อียดที
ด การออกแบบ

FCU-01 FCU-02 FCU-03

ชุดคอนเดนซิง 1 System
สามารถต่ อชุ ดแฟนคอยล์ได้ ถึง 64 ตัว FCU-xx
9
Product Lineup
VRV IV

VRV A series Cooling Only Model; Production: 6th Nov 2017

VRV X series Cooling Only Model ; Target Production: E/July 2018

10
Product Lineup
11
Product Lineup

ʹ‘†—Ž‡•‹œ‡•

͸ ̱ͳʹ  ͳͶ ̱ʹͲ 
‹‰Ž‡ ˜‡”–‡”‘’”‡••‘” ‘—„Ž‡ ˜‡”–‡”‘’”‡••‘”ȗ
ͳǡ͸ͷ͹ȋ Ȍ×ͻ͵ͲȋȌ×͹͸ͷȋȌ ͳǡ͸ͷ͹ȋ Ȍ×ͳǡʹͶͲȋȌ×͹͸ͷȋȌ
*except 14HP with single inverter
compressor

11

12
VRV A,X series

Concept Concept

ƒ Actual energy saving ƒ Higher efficiency


ƒ Improve performance at partial load ƒ Further improve the COP
ƒ All models equipped with K
compressor

1. Automatic refrigerant charge


2. VRT Smart Control
3. ‘K’ Compressor

12
13
New Automatic Refrigerant Charge

ประโยชน์ของระบบ Automatic Charge


1) ประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่าย!
• มีความแม่นยาํ สูง ป้องกันการ
overcharging!
• ลดค่าใช้จ่าย จากค่านายา
ํ และ ค่าแรงงาน
2) ประสิทธิภาพสูง!
• ประสิทธิภาพสูงขึน (higher COP)
เนืองจากมีการเติมนายาในปริ
ํ มาณทีเหมาะสม!
สม!
3) การทาํ งาน ง่าย และ สะดวก!

1
13

14
Outdoor Unit Nomenclature
Indoor Unit Nomenclature 15

Capacity indication= Kcal, HP,


BTU.
1 Kcal. = 3.965 BTU.
1 HP. = 9600 BTU.

FXCQ40 =
40x100 = 4,000 Kcal.
= 4,000 Kcal. X 3.965 BTU.
= 15,860 BTU.

16

VRV Indoor Unit


t

16 Types, 81 Models
การติดตังชุดแฟนคอยล์สามารถดูจากคู่มือการติดตังตาม
ประเภทของชุดแฟนคอยล์ทีแนบไปกับตัวเครื อง
17

Wide Range - VRV Indoor Units 17 Types 86 Models


18
Wide Range VRV Indoor Units 19
7 Types 21 Models
NEW

Indoor Unit 20

CONTROL REFRIGERANT METHOD OF VRV SYSTEM

T2 REFRIGERANT

T3

CPU
Ts
T1 SET
TEMP.

REFRIGERANT

Electronic Expansion Valve


CONTROL REFRIGERANT METHOD OF VRV SYSTEM 21

22
Refrigerant Cycle / Circuit
ข้อแตกต่างระหว่าง ระบบ piping circuit ของ VRV IV กับ VRV A Series

VRV IV series VRV A series

RXQ6/8/10/12T RXQ6/8/10/12A

22
Functional Parts Layout 23

Main components in unit


6

1
16

13
3
15
14

6 - Expansion valve, main (Y1E)

13 - Stop valve, liquid

14 - Stop valve, gas

15 - Stop valve, refrigerant auto charge

16 - Expansion valve, refrigerant auto charge (Y4E) 23

24

Show Error code C5

(4) Gas pipe thermistor


Symbol (R2T)

Gas-side Piping

Show Error code A6


(5) Motor Fan
Symbol (M1F)

(2) Suction air thermistor


(3) Liquid pipe thermistor Symbol (R1T)
Symbol (R2T) Show Error code C9

Show Error code C4

Liquid-side
Piping

(1) Electronic expansion valve


Symbol (Y1E)
Show Error code A9
25

หลักการทํางานของคอมเพรสเซอร์ 26

Compressor Operation & Sequencing


1 2
3
A B ‰ At the system starting, VRV IV
C D
E F system will automatically enable
the unit alternate operation
3 function, which ensure the long
1 2 term and stable equipment
operation by balancing the
A B
C D operating time of each outdoor
E F unit

2 ‰ After 8 hours operation,


3 1 changeover of Module
A B Sequence
C D
E F
NOTE : Refrigerant oil recovery process takes place once every 8 hours of compressor run time
27

Installation

28
ลําดับขันในการทํางาน
งานติดตัง
(1) การติดตังชุดภายนอก
(2) การติดตังชุดภายใน
(3) งานระบบท่อนํายา
(4) งานทดสอบรอยรัว
(5) การทําสุญญากาศ
(6) งานระบบท่อนําทิง
(7) งานเดินสายไฟฟ้ า Power&Control
งาน Start-UP
(8) การเติมนํายาด้วยระบบ Automatic Refrigerant Charge
(9) การ Test Run ระบบ
29

1.การติดตังชุดภายนอก
&
2.การติดตังชุดภายใน

ความสามารถในการเดินท่อสารทําความเย็น 30

กําหนดความยาวสู งสุ ดทังหมด(ทุกช่ วง): max.1000 m

Piping Length Limit


Max. height difference Cu to FCU
FCU to FCU level Height

90 m*
NEW
Max. branch length
90 m* VRV IV
30 m*
Max. actual piping length
165 m
Max. equiv. piping length
VRV III
15 m
190 m
Max. total piping length
1000 m
* Some limitations are valid
31
รายละเอียดข้อกําหนดในการเดินท่อนํายา VRV IV (ใน 1 System)

ท่ อแยกภายในท่ อทีหนึง

ท่ อแยกแรกของชุดภายใน
ท่ อแยกภายนอกท่ อทีหนึง

ความยาวท่อจริง ตัวอย่าง ความยาวท่อเทียบเท่า


ความยาวท่อไกลทีสุด 165 เมตร หรือน ้อยกว่า A+B+C+D 190 เมตร หรือน ้อยกว่า
ความยาว ความยาวทีเพิมขึนทั งหมด 1000 เมตร หรือน ้อยกว่า A+B+C+D+E+F+G
ท่อสุดสุดที ระหว่างท่อแยกแรกของตัวชุดภายในถึงตัวชุดภายในทีไกลสุด 90 เมตร หรือน ้อยกว่า B+C+D
้ ้
ใชได ระหว่างท่อแยกภายนอกกับชุดภายนอกชุดสุดท ้าย 10 เมตร หรือน ้อยกว่า K+P 13 เมตร หรือน ้อยกว่า
ความยาวท่อจริง ตัวอย่าง ชุดภายนอก
ความยาว ระหว่างชุดภายนอก 5 เมตร หรือน ้อยกว่า Q
ท่อสุดสุดที ระหว่างชุดภายใน 30 เมตร หรือน ้อยกว่า S
้ ้
ใชได ระหว่างชุดภายนอกและชุดภายใน 90 เมตร หรือน ้อยกว่า R

32

รวมความยาว join และ header แล้วต้ องไม่ เกิน 190 เมตร


การวางตําแหน่ ง CDU VRV 33

การเลือกรูปแบบฐานวาง CDU VRV

หรื อ

การวางฐาน VRV สามารถวางตามรูปนี


เป็ นแนวยาวก็ได้ หรื อจะวางแฉพาะจุดก็ได้
โดยฐานจะเป็ นเหล็กตัวซี สู ง 3ถึง4 นิว หรื อ หล่ อปูนทําฐานก็ได้
แต่ ในทุกแบบจะต้ องมียางแผ่ นรองด้ วย

การวางตําแหน่ ง CDU VRV 34

ตําแหน่ งฐานวางทีเหมาะสม
การวางตําแหน่ ง CDU VRV 35

ระยะเจาะรูการทําฐานวาง CDU. VRV

( ในกรณี ทีเหล็กตัว C ต้องชุบซิ งค์ จําเป็ นอย่างยิงนะครับทีต้องวัดระยะเจาะรู ต่าง ๆให้เสร็ จก่อนนําไปชุบ )

36
Minimum Service Space

หน่ วย : mm.
จากใน 2 กรณี นนั
-ความสู งของผนังด้านหน้าไม่เกิน 1.5 เมตร
-ความสู งของผนังด้านหลังไม่เกิน 0.5 เมตร
-ด้านข้างไม่จาํ ความสู ง

ถ้าความสู งของผนังเกินกว่าทีกําหนดไว้ดงั ขันต้น


ให้คาํ นวณความสู ง h1 และ h2 ตามภาพทีแสดง
ด้านล่าง และเพิม h1/2 ทีพืนทีด้านหน้าสําหรับ
ซ่อมบํารุ ง และ h2/2 ทีพืนทีด้านหลัง (suction side)
สําหรับบริ การ
การวางตําแหน่ ง CDU VRV 37

กรณีการติดตังแบบทีโมดูลติดกัน หรื อการติดตังเป็ นแบบ Multi คือ 1 System มี 2 หรื อ 3 โมดูล.

•แนวเดินท่ อนํายาสามารถลอดออกทางใต้ เครื องได้


•หรื อออกทางด้ านหน้ าก็ได้ แต่ แนวท่ อต้ องอยู่ตํากว่ าระดับของ Stop Valve ***
•ระยะห่ างในแต่ ละโมดูล ดังในรูปควรมีระยะห่ างกันไม่ น้อยกว่ า 20 ซม. เพือสะดวกแก่การ
ล้างครีบ และการถ่ ายเทความร้ อนทีดีเผือไว้ สําหรับงาน Maintenance ในอนาคต

การวางตําแหน่ ง CDU VRV 38

ตําแหน่ งวาง CDU. ทีควรระวัง เนืองจากระบายความร้ อนได้ ไม่ ดี

กรณี อาจต้องติด Hood บังคับลม


การวางตําแหน่ ง CDU VRV 39

การติดตังแบบ Multi เช่ น 1 System มี 2 หรื อ 3 โมดูล

แนวเดินท่อนํายาชิดกับโครงเครื องมากเกินไป

แนวเดินท่อควรอยูร่ ะดับขอบล่างของ หรื อตํากว่า จะเป็ นผลดีต่อการ Service


และไม่มีผลกระทบเรื องนํามันคอมฯ เพราะท่อจะต้องอยูต่ ากว่
ํ าระดับ Stop Valve นะครับ!!!!!

Accessories for Outdoor unit 40


Front of
Outdoor-unit


䐟 Stop Valve

䐠 Accessories

䐡 Main Pipe

41

3.งานระบบท่อนํายา

กฎ 3 ข้อในการทํางานการทํางานเกียวกับระบบท่อนํᨌᨣ᧭᧳
ายา42

1. NITROGEN GAS REPLASEMENT ((CLEAN))


2. BRAZING (
(TIGHT))
3. FLUSHING ((DRY & CLEAN)
4. AIR TIGHT TEST (
(TIGHT)
5. VACUUM DRYING (DRY)
3 basic rules

㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌
㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌㻌
43

ตาม ASTMB88 ,ASTMB280

ท่ อทองแดงเส้ น THK.mm. ท่ อทองแดงม้ วน THK.mm.

Type K 0.89-6.88 SWG No. 18-20 0.9-1.2

Type L 0.76-5.08 SWG No. 21 0.81

44

เชือมปิ ดปลาย
ป้องกันอากาศและ
สิ งสกปรกเข้า
45

- จัดเก็บท่ อทองแดงทีไม่ ถูกต้ อง


ท่ อ ท อ ง แ ด ง ที การจัดเก็บท่ อทองแดงทีไม่ ถูกต้ อง
ไม่ได้ปิดปลายท่อ 1. ปลายท่อทองแดงไม่ได้ปิด
และวางกับพีนคอ 2. วางกับพืนคอนกรี ตโดยตรง หรื อวางขวางทาง
นกรี ตโดยตรง
ปัญหาทีส่ งผลจาการจัดเก็บท่ อไม่ ถูกต้ อง
1. ไม่ปิดปลายท่อจะทําให้เฝุ่ นหรื อเศษวัสดุเข้าไปภายใน
ท่อทําให้ระบบเกิดการอุดตัน
2. วางท่อทองแดงกับพืนคอนกรี ตโดยตรงจะทําให้เกิดรอย
ขูดขีดทีผีวท่อจะส่งผลต่อการรัวไหลของนํายา
- เศษผงฝุ่ นทีอยู่ภายในท่ อทองแดง
ผ ง ฝุ่ น ที อ ยู่ ภ า ย ใ น ท่ อ ผงฝุ่ นแป้ ง ที อยู่ภ ายใน
ทองแดงที เกิ ด จากการ ท่ อ ทองแดงที เกิ ด จาก
จั ด เ ก็ บ แ ล ะ ข น ส่ ง ท่ อ กา รติ ดตั งฉนวนกั น
ทองแดงทีไม่ได้ปิดปลาย ความร้ อ นโดยไม่ ปิ ด
ท่อ ปลายท่อ

สามารถทําความสะอาดและจัดเก็บให้ จะต้องทําความสะอาดภายในใหม่ทาํ
ถูกต้องตามขันตอนด้านล่าง ให้เสี ยเวลาในการติดตัง

46

- ปัญหาทีส่ งผลมาจากมีผงฝุ่ นภานในท่ อ


เมือมีผงฝุ่ นภายในท่ อจะส่ งผลกระทบต่ อการทํางานของเครื อง
คือ เมื อทําการติดตังและทดสอบเดิ นเครื องแล้วเครื องจะ
ภาพแสดงสแตนเนอร์ อุด ทํางานในสภาวะแรงดันด้านส่งสูงและแรงดันด้านกลับตําผิดปกติ
ตั น นํ ายาวิ งผ่ า นไม่ ไ ด้
ทําให้เครื องไม่สามารถทําความเย็นได้เต็มประสิ ทธิ ภาพ และอาจ
สั ง เกตได้ จ ากมี น ํ าแข็ ง
เ ก า ะ จ ะ ต้ อ ง ทํ า ก า ร
ก่ อให้เกิ ดความเสี ยหายกับอุปกรณ์หลักในระบบในเวลาต่อมา
เปลียนสแตนเนอร์ใหม่ เช่น ค่า Supper Heat ไม่ได้ทาํ ให้คอมเพรสฯ เสี ยหาย , แอ็กแปน
ชันวาล์วอุกตัน ฯลฯ

ภาพแสดงท่ อ แคบทิ วที คําเตือน


ฝั ก บัว ที แบ่ ง นํายาไปแต่ กรณี เกิ ดการอุดตันภายในระบบนํายานัน การ
ละส่ วนของอิวาปอเรเตอร์ หาสาเหตุ แ ละแก้ไ ขปั ญ หาให้ ห มดไปจะต้อ งใช้
อุ ด ตั น จะต้ อ งทํ า การ
เปลียนอิวาปอเรเตอร์ใหม่ ระยะเวลามากและมี ค่าใช้จ่ายสู ง แสะความเชื อถิ อ
ของลูกค้าทังในด้านผูต้ ิดตังและผลิตภัณท์หมดไป
47

- ขันตอนการล้างทําความสะอาดภายในท่ อทองแดง
อุปกรณ์ประกอบการล้างภายในท่อทองแดง
5 1
1 นํายาอะซิโตน คือนํายาล้างทีใช้ใน
3 การล้างท่อทองแดง
(หากไม่ใช้นายาอะซิ
ํ โตน ให้ใช้
นํายาอย่างอืนแทนก็ได้ ทีเป็ นนํายา
2 4 ระเหยเร็ว เช่น R-11 , R-414B )

2 ฟองนําเนือหยาบ ตัดฟองนําให้มี
4 เรกกูเลเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ทีใช้
ควบคุมการปล่อยก๊าชไนโตรเจน
ขนาดใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ จากถังแรงดันสู ง
เล็กน้อย เพราะฟองนํานีจะเป็ นตัว
เช็ดถูผวิ ท่อด้านใน

หัวส่ งแรงดัน มีลกั ษณะประยุกต์โดย ถังไนโตรเจนแรงดันสู ง ใช้เแรงดันไนโตรเจน


3 นําเศษท่อทีไซด์ใหญ่ท่อทีต้องการล้าง 5 ภายในถังเป็ นตัวผลักดันให้ฟองนําวิงผ่านภายใน
แล้วนํามาประกอบกับวาล์วลูกศรเพือใช้ ท่อจากปลายท่อด้านหนึงไปยังอีกด้าน
ส่ งแรงดันไนโตรเจนเข้าไปในท่อที
ต้องการทําความสะอาด

48

- ขันตอนการปฏิบัติ

1 ต่อเรกูเลเตอร์เข้ากับถัง 2 ต่อหัวส่ งแรงดันเข้ากับ 3 เทนํายาอะซิโตนลงใน 4 ยัดฟองนําทีผสมอะซิโตน


ไนโตรเจน สายเรกูเลเตอร์ ภาชนะทีมีฟองนําอยู่ เข้าไปในท่อทองแดง

5 สวมหัวส่ งเข้ากับปลายท่อ 6 เปิ ดวาล์วถังไนโตรเจน 7 ใช้ถงั รองรับฟองนําทีวิง


และเรกกูเลเตอร์ ผ่านท่ออีกด้าน

9 เมือได้ท่อทีสะอาดแล้วให้
ทําการปิ ดปลายท่อและ
จัดเก็บให้ถูกต้อง

8 ตรวจเช็คความสะอาดถ้าไม่ ใช้ฟองนําเดิมแต่บีบทําความสะอาด
สะอาดให้ลา้ งใหม่ไปเลือยๆ ก่อนนํากลับไปใช้งาน
Y-joint 49

Y Joint คือ อุปกรณ์รวบนํายา


สําหรับชุดคอยล์ร้อน ในกรณี ที
ติดตัง คอยล์ร้อนมากกว่าหนึงตัว
(Multi Unit System)

Y Joint มี 2 ชนิด ขึนอยูก่ บั จํานวนคอยล์ร้อน


กรณี 2 Module BHFP22P100
กรณี 3 Module BHFP22P151

Y-joint 50

Outdoor Unit Multi Connection Piping Kit


BHFP22P100 สําหรับกรณี ติดตังคอยล์ร้อน 2 Module 51

BHFP22P100
1ชุ ด มี Y-joint 2 ชิน
( ท่ อ Gas 1 ชิน และ ท่ อ Liquid 1 ชิน )

BHFP22P100 สําหรับกรณี ติดตังคอยล์ร้อน 2 Module 52


BHFP22P151 สําหรับกรณี ติดตังคอยล์ร้อน 3 Module 53

BHFP22P151
1ชุ ด มี Y-joint 4 ชิน
( ท่ อ Gas 2 ชิน และ ท่ อ Liquid 2 ชิน )

BHFP22P151 สําหรับกรณี ติดตังคอยล์ร้อน 3 Module 54


55
Outdoor Unit Multi Connection Piping Kit

BHFP22P100 ใน1ชุ ดมี Y-joint = 2 ชิน BHFP22P151 ใน1ชุ ดมี Y-joint = 4 ชิน
ใช้ ในกรณี Multi 1 system มี 2 โมดูล ใช้ ในกรณี Multi 1 system มี 3 โมดูล

ข้ อจํากัดในการติดตัง Y JOINT 56

*** ในการติดตัง Y Joint จะต้ องมีการควบคุมข้ อกําหนดดังนี ***

1. ระยะการเดินท่อ ออกจาก Y Joint


ทิงระยะก่อนโค้ งงอไปหน้ างาน
ไม่ น้อยกว่ า 0.5 เมตร
( เฉพาะทางด้ านท่ อขาเดียว
โดยนับระยะจากจุดกึงกลาง Y Joint )
ข้ อจํากัดในการติดตัง Y JOINT 57

2. แนวระดับการวางตัวของ Y Joint
วางนอนในแนวระนาบ
ใช้ ระดับนําจับ ให้ ได้ แนวระนาบ
จะดีทสุี ด !!!

ห้ ามตังโดยเด็ดขาด

58
ข้ อจํากัดในการติดตัง Y JOINT
3. ตําแหน่งการวางระดับของ Y Joint

Y Joint ต้ องวางระดับตํากว่ า Stop Valve เท่ านัน


เมือเดินท่ อออกทางด้ านหน้ าเครื อง จะต้ องเป็ นไปตามลักษณะ A หรื อ B เท่ านัน
ห้ ามยกระดับขึนดังรู ป กากบาท
ทิศทางการเดินท่อต่อแบบ Multi เช่น 1 System มี 2 โมดูล59

Multi 2 CDU. 60
Multi 3 CDU. 61

Multi 3 CDU. 62
ลักษณะทิศทางการติดตัง Y Joint แบบต่าง ๆ 63

Multi 3 CDU. 64
การเดินท่ อสารทําความเย็นออกหน้ าเครื อง CDU 65

การเดินท่ อสารทําความเย็นออกล่ างเครื อง CDU 66


การเดินท่ อสารทําความเย็นออกล่ างเครื อง CDU 67

68

อุปกรณ์แยกนํายาเพือจ่ายเข้าชุด FCU
REFNET Joint

Insulation

REFNET Header
อุปกรณ์แยกนํายาเพือจ่ายเข้าชุด FCU 69

อุปกรณ์ แยกท่ อนํายา

REFNET JOINT

REFNET
HEADER

Refnet
70

สามารถดูเบอร์ ของ Refnet


ได้ จาก Design diagram
71
ข้อจํากัดในการติดตังท่อนํายาก่อนและหลัง REFNET JOINT

72
ข้ อจํากัดในการติดตัง REFNET JOINT เข้ าชุด FCU

䖃 กรณีเดินในแนวราบให้ วาง Refnet แนวนอนใช้ ระดับนําจับไม่ ให้ เอียง

䖃 กรณีเดินในแนวตังให้ วาง Refnet แนวตังได้ ตามรูปด้ านล่ าง


73
REFNET piping system:
Grass Refnet Video 2

REFNET Joint (Branch Kit) 74

KHRP26A22T
REFNET Joint (Branch Kit) 75

KHRP26A33T

REFNET Joint (Branch Kit) 76

KHRP26A72T
REFNET Joint (Branch Kit)
77

KHRP26A73T

KHRP26M73TP 78
79

80
KHRP26M73TP
ใช้ ไนโตรเจนไหลผ่ านขณะทําการเชื อมบัดกรี(ป้องกันคราบเขม่ าภายในท่
ᨌᨣ᧭᧴ อ81)

Nitrogen cylinder
ปลายอีกด้านต้องเปิ ดไว้ รู ใหญ่ ประมาณปลายปากกา
หรื อเท่านิวก้อยก็ได้ ห้ามเปิ ดใหญ่เกิน หรื อปิ ดสนิท

2
Nitrogen gas pressure: about 0.02 MPa 䠄0.2 kg/cm ,2.8 psi䠅
“ไนโตรเจนต้ องเป็ นแบบชนิด เพียว ถึงจะดีทสุี ดนะครับ”

ใช้ ไนโตรเจนไหลผ่ านขณะทําการเชื อมบัดกรี(ป้องกันคราบเขม่ าภายในท่อ82)

With N2

Without N2
ใช้ ไนโตรเจนใหลผ่ านขณะทําการเชื อมบัดกรี(ป้ องกันคราบเขม่ าภายในท่ อ83)

ทําความสะอาดภายในท่ อนํายาก่ อนต่ อท่ อเข้ าระบบ 84


ใช้ ไนโตรเจนไหลผ่ านขณะทําการเชื อมบัดกรี(ป้องกันคราบเขม่ าภายในท่อ85)
- หลักการและมาตรฐานการเชื อท่ อทองแดง
- ขันตอนการปฏิบตั ิ

ปล่อยก๊าชไนโตรเจนแรงดันตําประมาณ 0.2 kg/cm2


ผ่านเข้าไปภายในท่อทองแดงตลอดเวลาทีทําการเชือม
ท่อทองแดง เพือลดการเกิดเขม่าทีผิวด้านในของท่อ
ทองแดง ซึงเป็ นปั ญหาของการอุดดันทีสแตนเนอร์หรือ
แอ็กแปนชันวาล์ว ฯลฯ

- เครื องมือสําหรับงานเชือม

เครื องเชือมขนาดเล็กจะไม่สามารถ
ทําอุณหภูมิของท่อทองแดงสูงตาม
มาตรฐานการเชือมได้ ซึงเป็ นสาเหตุ
ของการรัวไหลของนํายาทําความเย็น

86
การเชื อมบัดกรี (Brazing)
- ตัวอย่างชินงานเชือมทีมีก๊าชไนโตรเจน.
ใช้ ก๊าชไนโตรเจน

X ไม่ ใช้ ก๊าชไนโตรเจน

- เทคนิคการเชื อมท่ อทองแดง.


1. จะต้องให้ความร้อนของท่อทองแดงทังด้านในและนอกมีอุณหภูมิเท่ากัน

ท่อด้าน ท่อด้าน 780qC 780qC 600qC 400qC


ใน ใน
บริ เวณที บริ เวณพืนทีให้
ต้องการให้ ความร้อนมาก
ความร้อน
A เกินไป
A
B
ท่อด้านนอก B 780qC 780qC 780qC 600qC
ท่อด้านนอก

A และ B A แล B อุณหภูมิของท่อทองแดงจะ อุณหภูมิของท่อทองแดงจะ


อุณหภูมิเท่ากัน มีอุณหภูมิแตกต่างกันมาก มีค่าเท่ากันทังรอบด้าน มีค่าไม่เท่ากันทังรอบด้าน
87
การเชื อมบัดกรี (Brazing)

2 : ให้2ความร้
Point : Heatอนแก่ ท่อan
until นํายาจนอุ ณภูมิเหมาะสมแก่
appropriate การประสานท่
temperature อคือthe
for applying ประมาณ 640~780qC
brazing จากนั(solder).
filler metal นก็เติมลวด
ประสาน(ตามรู ป)
640~780qC (where the base metals change color form reddish black to red)

เติมลวดเชือมเร็ วเกินไป เพราะอุณหภูมิยงั ไม่ได้ เติมลวดเชือมในระยะเวลาทีเหมาะสม ได้ เติมลวดเชือมช้าเกินไป


(อุณหภูมิประมาณ 500 to 600qC) มาตรฐาน (อุณหภูมิประมาณ 800 to 1,000qC)
(อุณหภูมิประมาณ 640 to 780qC)

88
การเชื อมบัดกรี (Brazing)
3. ปรับความแรงของเปลวไฟทีหัวปรับให้เปลวไฟมี
เปลวชันใน
ความยาวประมาณ 5 cm.
เปลวไฟชันนอก
ความแรงของเปลวไฟนันจะขึนอยูก่ บั วัสดุทีจะทําการ
ประสาน.
หลังจากปรับความแรงของเปลวไฟเสร๊ จแล้วให้เริ มทํา
การประสาน. เปลวไฟชันใน
ยาว 5 cm

4. มุมของเปลวไฟ (การควบคุมความร้อนทีให้กบั
ชินงาน) 80–85°

มุมของเปลวไฟทีทํากับชินงานนนันอยูท่ ีประมาณ 80-


85องศา.
ความยาวเปลว
ไฟ 5 cm
89
การเชื อมบัดกรี (Brazing)
5. ระยะห่างระหว่างชินงานและเปลวไฟ(ตามรู ป).
เปลวไฟด้านใน
เปลวไฟด้านใน

ระยะการให้ความ
ร้อน 5 mm

2~3mm

ระยะห่างระหว่างเปลวไฟด้านในกับผิวท่อ

6. ทิศทางระหว่างเปลวไฟกับชินงาน(ตามรู ป).
เปลวไฟทีสูญเสี ย
2~3 mm

ทิศทางของเปลวไฟ

90
การเชื อมบัดกรี (Brazing)
การเติมลวดเชือมลงบนชินงาน(ตามรู ป).
1. การเติมลวดเชือมลงบนชินงานต้องซ้อนทับกัน(ตามรู ป).

Overlap Not overlapping results


in a gas leak

2. การเติมลวดเชือมนันต้องแน่ใจว่าลวดมีการซึมลึกเข้าไปในแนวเชือมสู่ดา้ นล่างของชินงานอย่างพอดี
ไม่มากหรื อน้อยเกินไป (ตามรู ป)

ระยะพืนทีให้ ระยะพืนทีให้ความร้อนน้อย
ระยะพืนทีให้ความร้อน
ความร้อนที เกินไปลวดเชือมจะไม่เต็มแผล
เหมาะสมลวด มากเกินไป
เชือมจะเต็มพืนที ลวดเชือมจะไหลออกจาก จะทําให้เกิดการรัวได้ง่าย
แผลเชือม
91
การเชื อมบัดกรี (Brazing)
3. การเติมลวดประสานลงบนชินงานต้องเริ มจากส่วนปลายของลวดประสาน(ตามรู ป).

Hanging brazing
filler metal

4. มุมของเปลวไฟและการเติมลวดประสานลงบนชินงาน. 5. มุมของเปลวไฟและลวดประสานทํามุมประสาน 90 องศา


เพิมองศาของเปลวไฟเล๊กน้อยเมือเทียบกับการให้ความร้อน (ตามรู ป).
แก่ชินงาน (ตามรู ป).
ลวดเชือม
ขณะเติมลวดเชือม 80~85q
ลวดเชือม

ระยะ 90q

ขณะให้ความร้อน

92
การเชื อมบัดกรี (Brazing)

ขึน-ลง ซ้าย - ขวา ขึน - ลง


การเคลือนทีของเปลวไฟ การเคลือนทีของเปลวไฟกรณี
เชือมขึน

6. การลดความร้อนของชินงาน
การลดความร้อนของชินงานหลังจากการประสานด้วยผ้า
เปี ยกด้วยผ้าชุบนําเพือป้องกันการฉนวนเผาไหม้(ตามรู ป).

z Doอย่าnot turn off the nitrogen


ปิ ดไนโตรเจนจนกว่ าท่อมีอuntil
ุณภูมthe
ิลดลงpipe is completely cooled down.
If the nitrogen gas is stopped before the pipe has sufficiently been cooled down,
itถ้will
าปิ ดไนโตรเจนก่
result in theอนท่ อมีอุณหภูมิลof
development ดลงดี
anพoxide
อ จะสามารถทํ าให้เinner
film on the กิดการsurface
Oxidation
of ขึ
the ผิวท่อ.
นทีpipe.
93
การเชื อมบัดกรี (Brazing)
- จัดเตรี ยมพืนทีสําหรับงานเชือมที.

การทํางานเชือมท่อกับพืน จัดเตรี ยมพืนทีสําหรับงาน


จะทําให้การเชือมลําบาก เชือมโดยเฉพาะจะให้การ
และงานเชือมไม่ได้คุณภาพ เชือมมีประสิ ทธิภาพ

ต่อท่อจากข้องอ 90 อย่างน้อย 30 cm
ป้องกันเขม่าจากเปลวไฟ
กรณี เชือม Refnet กับท่อทองแดงจะต้องเชือม
ในพืนทีทีจัดเตรี ยมไว้เท่านัน

94

䕔㻌 เมือติดตังระบบท่ อสารทําความเย็นของระบบ VRV IV


คุณจะต้ องหุ้มฉนวนทัง 2 ท่ อ liquid และท่ อ gas (แยกฉนวน)
ฉนวน
เทบพัน

Liquid pipe
20 mm. Control wire
Gas pipe

䕔 In the temperature and humidity around indoor refrigerant pipe


might exceed 30Ԩ and RH80%,
thickness of insulation pipe is 20 mm or more
95
หุ้มฉนวนท่ อนํายา

96
หุ้มฉนวนท่ อนํายา
- งานติดตังฉนวนกันความร้ อน
การเลือกใช้ฉนวนกันความร้อนจะต้องให้เหมาะสมกับขนาดท่อและปริ มาณความชืนในอากาศ เพราะถ้าเลือกไม่เหมาะสม
จะทําให้เกิดนําหยดตามแนวท่อนํายาลงมายังฝ้าสร้างความเสี ยหาย
< ท่อนํายาทําความเย็น >
x แบบฮีตปัม = ใช้ฉนวนกันความร้อน (โฟมโปลีเอทีลีน ) ทีทนความร้อนสูงกว่า 120 qC
x แบบทําความเย็นอย่างเดียว = ใช้ฉนวนกันความร้อน (โฟมโปลีเอทีลีน ) ทีทนความร้อนสูงกว่า 100 qC
< ท่อนําทิง >
x ใช้ฉนวนกันความร้อน (โฟมโปลีเอทีลีน ) ทีทนความร้อนสูงกว่า -70 ~ 80 qC
ถ้าอุณหภูมิและความชืนรอบท่อนํายาทําความเย็นมากว่า 30 qC และ RH 80 % ตามลําดับแล้ว ให้ฉนวน
มีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 20 mm
ควรทําการตรวจเช็คว่าได้ทาํ การหุม้ ฉนวนบริ เวณข้อต่อต่าง ( จุดเชือม , แฟร์ เป็ นต้น ) เมือทดสอบรัว
เสร็จเรี ยบร้อย
แน่ใจว่าจุดต่อระหว่างฉนวนได้ทากาวและฉนวนแผ่นเรี ยบร้อย

หุ ม้ ฉนวนท่อแก๊สและท่อของเหลวร่ วมกัน หุ ม้ ฉนวนเฉพาะท่อแก๊ส หุ ม้ ฉนวนท่อแก๊สและท่อของเหลวร

X X
97
หลักการติดตัง Support ท่ อนํายา
ระยะ Support ท่อนํายาและสลิป

98
หลักการติดตัง Support ท่ อนํายา
- อุปกรณ์ ยดึ ท่ อในแนวดิง

จุดเชือม ขายึดกับผนัง แคมรัดท่อ

- สลิปรองรับยูโบ๊ดล้อคท่อ
- ใช้ท่อ PVC #5 ความยาวประมาณ 10- 15 cm ทําเป็ นสลิปรองรับระหว่า Support กับท่อ ต่างๆ เพือป้องกันฉนวนกัน
ความร้อนยุบตัวและเสี ยรู ปขาดความเป็ นฉนวน
สลิป PVC #5

ยูโบ๊ดหรื อแคมล็อค

ไม่มีสลิป PVC
99
หลักการติดตัง Support ท่ อนํายา
- ภาพแสดงงานติดตังฉนวนทีไม่ ดี

5-10 cm

ใช้ Arrow Tap เก็บ


รอยต่อของฉนวนอีก
ครังความยาวประมาณ
5-10 cm

ARROW TAP

100
หลักการติดตัง Support ท่ อนํายา
- ภาพแสดงการเก็บงานท่ อในแต่ ละวัน
101

4.งานทดสอบรอยรัว

102

การเทสรัวของระบบจะใช้การอัด ไนโตรเจนเข้าไป
• แบบที 1– 580 Psi : เทสรัวเฉพาะไลน์ทอ่ โดยไม่มเี ชือมต่อแฟลร์เข้าระบบ
• แบบที 2– 450 Psi : เทสรัว ทังระบบ (เชือมต่อแฟลร์ แต่ยงั ไม่เปิ ดสต็อปวาล์ว)
แบบที 2

䠬/䠯

แบบที1
Air tight test tools
103
ขันตอนทดสอบการรัวในระบบ VRV
PRESSURE TEST ต้องจัดเก็บเป็ นหลักฐานสําหรับไว้ทวนสอบ และส่งมอบงาน
เพือป้ องกันแรงดันสูงทีอาจส่งผลกระทบต่อการทดสอบ (และอุปกรณ์ภายใน ใน
กรณีเทสผ่านแฟนคอยล์) จึงจําเป็ นต้อง ค่อยๆเพิมแรงดันเข้าสูร่ ะบบ ดังนี
• STEP 1 : 70 Psi หรือ 0.5 MPa ทิงไว้ 5 นาที
• STEP 2 : 200 Psi หรือ 1.5 MPa ทิงไว้ 5 นาที
• STEP 3 : 580 Psi หรือ 4.0 MPa เป็ นเวลา 24 ชัวโมง
(*** 450 Psi ในกรณี เทส ผ่านแฟนคอยล์ดว้ ย)

อีกหนึงปั จจัยทีมีผลต่อการทดสอบรัวโดยใช้แรงดัน คือ อุณหภูม ิ ในขณะทีทดสอบ


อุณหภูมทิ เปลี
ี ยนไป ทุกๆ 1 Ԩ จะส่งผลต่อ แรงดัน 1.45 Psi ในทิศทางเดียวกัน
เช่น อุณหภูม ิ เพิม 10 Ԩ แรงดันในระบบจะเพิมขึน 14.5 Psi

104
ขันตอนทดสอบการรัวในระบบ VRV
ในกรณี การเทสรัวทังระบบ (*** 450 Psi ผ่านแฟนคอยล์)
เนืองจาก แฟนคอยล์ ในระบบ VRV นัน จะมี Expansion Valve อยูภ่ ายใน
การอัดไนโตรเจนเข้าระบบจึงต้องระมัดระวังให้มาก เพือป้ องกันการเสียหาย ดังนี

1. ไม่ควรจ่ายไฟเข้าแฟนคอยล์ก่อนการเทสรัว เพราะ หากมีการจ่ายไฟจะทําให้


Expansion Valve ปิ ดลง (EXV จะอยูใ่ นสถานะเปิ ด เมือออกจากโรงงาน)
2. การอัดไนโตรเจนเข้าระบบ จะต้อง อัดเข้าทังอ้าน Liquid และ Gas พร้อมๆกัน
อย่างช้าๆ เพือให้แรงดันทังสองข้างสมดุล ไม่เกิดการ ดัน หรือ กระแทก แกน
ของExpansion Valve
105

580

ตัวอย่ างอุปกรณ์ ทดสอบรัว ต้ องจัดเตรียมเองนะครับ 106

แบบทดสอบรัว 2 ท่ อพร้ อมกัน แบบทดสอบรัวแต่ ละท่ อ


ลักษณะการทดสอบรัวแบบ 2 ท่ อพร้ อมกัน 107

1. แนวตัง 2. แนวนอน

ท่อ Liquid
ท่อ Gas

ลักษณะการทดสอบรัวแบบ 2 ท่ อพร้ อมกัน 108


109

110
111

4.การทําสุญญากาศ

112

• The vacuum pump must have a capacity of reaching


at least -755mmHg

mmHg
Atmosphere

Both close

-755

2 hours 1hour

3) Additional refrigerant charge if


necessary
Put the solenoid or check 2) Keeping time as -755 without v. pump operation

valve units 1) Vacuum pump operating time after reaching at -755mmHg


113

1. SELECTION LOCATION

2. UNPACK UNIT & INSPECT CORRECT EQUIPMENT

3. REFRIGERANT PIPING

4. LEAK TEST

5. VACUMING

œ VACUUM PUMP min 2 Hour when 755mm Hg is reached !!

 BREAK VACUUM (N2)

ž VACUUMPUMP 1HOUR

Ÿ KEEP VACUUM 1HOUR


œ  žŸ  
  ADD TRIM CHARGE

114
ทําสุ ญญากาศแบบพิเศษ
7 psi.

0 psi.
แรงดัน

-200 mmHg

-500 mmHg

-700 mmHg
-755 mmHg -755 mmHg
-760 mmHg Time
ทดสอบ
ทําสู ญญากาศ ทําสู ญญากาศ
1 ชม. เติมสารทําความเย็นเข้าระบบ
2 ชม. 1 ชม.

ปล่อยไนโตรเจนเข้าระบบ
115

6. งานระบบท่อนําทิง

116
หลักการติดตังท่ อนําทิงเข้ าตัวเครื อง
การติดตังท่อนําทิง แบบต่อตรง
ความลาดเอียงของท่อนําทิงทีแนะนําจะอยูท่ ี
อัตราส่วน 1/100 เป็ นอย่างน้อย
(หากท่อยาว 100cm จะเอียงลง 1cm)
และ มี ส่วนข้อต่อสําหรับทําความสะอาด

ตัวอย่างทีผิด ความลาด
เอียงไม่ได้มาตรฐาน ทําให้
ระบายนําได้ไม่ดี
117
หลักการติดตังท่ อนําทิงเข้ าตัวเครื อง

จากรูป แสดงการติดตังระบบท่อนําทิงทีใช้ทอ่ เมนร่วมกันจะต้องติดตังช่องสําหรับไว้


ทําความสะอาดและช่องระบายอากาศ

118
หลักการติดตังท่ อนําทิงเข้ าตัวเครื อง
การเข้ากับตัวเครืองนันจะต้องใช้ทอ่ อ่อน เพือป้ องกันการเสียหายของถาดนําทิง

ท่ออ่อน
ระยะสูงสุด ดูตามคูม่ อื

กรณี ตวั เครืองทีมีระบบปัมนําทิง ข้อกําหนด


1. ระยะ ทีออกจากตัวเครืองแนวนอน
(ท่ออ่อน+ข้องอ) ไม่เกิน 300 mm
2. ระยะแนวดิง ความสูงของระยะปั มนํา
ในแต่ละรุน่ ไม่เท่ากัน
แต่จะต้องติดตังให้สงู กว่าระดับท่อหลัก
119
การเลือกขนาดท่ อรวมระบบนําทิง
การเลือกขนาดท่อนําทิงให้สามารถรองรับอัตราการไหลทีเหมาะสม จะทําให้นําในท่อสามารถไหลได้
อย่างเหมาะสม มีปัจจัยอยูด่ งั นี
1. ขนาดของเครืองปรับอากาศ และ ปริมาณนําทิง
เครืองปรับอากาศขนาด 1 HP (10,000 BTU/hr) มีอตั รานําทิง 6 ลิตร/ชัวโมง
2. ความลาดเอียงของตัวท่อ – ยิงเอียงมาก นําก็จะไหลดีขนึ แต่ จะทําให้เปลืองพืนทีในการติดตัง
ตารางแสดงปริ มาณการไหลของท่อ
อัตราการไหล (ลิตร /ชัวโมง )
ท่ อ PVC ID (mm) ท่ อ JIS ID (mm) หมายเหตุ
1:50 1:100 แนวดิง
PVC25 19 VP20 20 ขนาดเล็กเกินไป
PVC32 27 VP25 25 สําหรับท่อเมน
PVC40 34 VP30 31 125 88 730
ขนาดทีเหมาะสม
PVC50 44 VP40 40 247 175 1,440

120
ตัวอย่ างการคํานวณ
5 hp
ID อัตราการไหล (ลิตร /ชัวโมง )
ท่ อ PVC
5 hp (mm) 1:50 1:100
PVC25 19
เล็กเกินไป
PVC32 27
5 hp PVC40 34 125 88
PVC50 44 247 175

จากรูป มีเครือง 5hp ทังหมด 3เครือง >> รวมทังระบบ15hp


จาก อัตราการไหลมาตรฐาน 1hp >> 6 ลิตร/ชม.
จะได้อตั รารวมการไหลทังระบบ 15hp *6 = 90 ลิตร/ชม.
เปรียบเทียบกับตาราง จะสามารถเลือกได้ สองแบบ คือ
1. PVC40 ทีความลาดเอียง 1:50 รองรับได้ 125 ลิตร/ชม.
2. PVC50 ทีความลาดเอียง 1:100 รองรับได้ 175 ลิตร/ชม.
121
หลักการติดตังท่ อนําทิงเข้ าตัวเครื อง
ตําแหน่ งการติดตัง Support ท่อนําทิง
- ระยะห่าง ระหว่าง Support อยูท่ ระยะ
ี 1.0-1.2 เมตร

122
NOTE
123

7. งานเดินสายไฟฟ้ า Power&Control

กล่องควบคุมของ CDU 124

Control Terminal

Power Terminal
การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 125

3 ) 380 – 415V 50Hz

ควรติดตังเบรกเกอร์
1 ตัว ต่อ 1 แฟนคอยล์
เพือความสะดวก
ในการแก้ไขปั ญหา
หรือ การ เมนเทนแนนซ์

1) 220 – 240V
50Hz

ขนาดสายไฟขึนอยู่กับกระแสไฟของแต่ ละรุ่ นเครื อง

การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 126

- ระบบไฟฟ้าจ่ ายให้ เครื อง


- เลือกขนาดสายไฟฟ้าทีจ่ายให้เครื อง.
การเลือกขนาดเมนไฟฟ้าเครื องควรนําค่าจากตารางแสดงกระแสไฟฟ้าของแต่ละขนาดการทําความเย็นมาประกอบใน
การเลือกขนาดสายเมนไฟฟ้าและเบรคเกอร์
ตารางแสดงกระแสไฟฟ้าของเครื อง

ตารางแสดงกระแสไฟฟ้ าของสายไฟ
การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 127

- การติดตังสายเมนไฟฟ้
ไฟฟ้ฟา.
ในการติดตังและต่อสายไฟฟ้าเข้ากับเทอร์มินลั ของ
เครื องปรับอากาศจะต้องปฏิบตั ิมาตรฐานของงานไฟฟ้า
อย่างเคร่ งครัด เมือการติดตังไม่ดีสายไฟขันไม่แน่นจะทํา
ให้เกิดความร้อนทีสายไฟฟ้าและเทอร์มินลั จะเป็ น
สาเหตุให้เครื องหยุดทํางาน

ขันสายไฟฟ้าทีเทอร์มินลั ทัง 2 ฝัง

ขันสายไฟฟ้าทีเทอร์มินลั ทังเดียว

ภาพแสดงการต่อสายเมนไฟฟ้าทีไม่ถูกต้องและ
ขันสายไฟฟ้าทีเทอร์มินลั ทัง 2 ฝัง
สายไฟฟ้าหลวมขันไม่แน่ จะทําให้สายไฟฟ้าไหม้ได้
แต่ขนาดสายไฟฟ้าแตกต่างกัน

การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 128

- ติดตังเมนไฟฟ้ าจ่ายให้ชุดคอนเดนซิงและชุดแฟนคอยล์จากแหล่งจ่ายเดียวกัน
CDU

SAFETY
SWITCH
ในระบบ VRV ชุดคอนเดนซิงและชุดแฟนคอยล์
สามารถทีจะใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ าจากแหล่งเดียวกัน แต่
จะต้องติดตังเบรกเกอร์ทชุี ดแฟนคอยล์ทุกตัว เพือสะดวกต่อ
การให้บริการซ่อมและล้างเครืองปรับอากาศ
BREAKER

BREAKER BREAKER BREAKER BREAKER BREAKER

FCU FCU FCU FCU FCU


การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 129

ติดตังเมนไฟฟ้ฟ้ฟาจ่่ายให้ จ์ ากแหล่่งจ่่ายเดีียวกันั แต่่ตงตู


ใ ช้ ุดคอนเดนซิิ งและชุดแฟนคอยล์
ฟ ั ไ้ ฟฟ้าเฉพาะ
CDU

SAFETY
SWITCH

FCU
LOAD CENTER FCU FCU FCU FCU

การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 130

- การติดตังสายเมนไฟฟ้
ไฟฟ้ าชุดคอนเดนซิงิ แบบใช้
ใ ้ Safety Switch ร่ว่ มกันั ทังั 3 โมดู
โ ล
จะต้องใช้สายไฟขนาดเท่ากันทุกโมดูลเพือรองรับทังระบบ เท่านัน
การเดินระบบไฟเพาเวอร์ ( Main Power ) 131

การติดตังสายเมนไฟฟ้ าชุดคอนเดนซิง แบบใช้ Safety Switch แยกกัน 3 โมดูล

132
ข้ อจํากัดในการเดินสายคอนโทรลและสายเมนไฟฟ้ า
Current capacity of power cable Spacing (d)
10 A or less 300 mm
100 V or more 50 A 500 mm
100 A 1000 mm
100 A or more 1500 mm

Power cable
Transmission
wire

Min. 50mm

0.75 a 1.25mm2 Power


Power wire wire
• สายสั ญญาณไม่ ใช้ สายตัวนําชนิดมากกว่า 2 core และไม่ ใช้ สายไฟเส้ นเดียวร่ วมกับระบบอืน
• สายสั ญญาณให้ เลือกใช้ ได้ ตังแต่ 0.75 ถึง 1.25 mm2
• สายสั ญญาณให้ ติดตังให้ ห่างจากสายไฟเพาเวอร์ ไม่ น้อยกว่า 50 mm. เพือป้ องกันปัญหาการรบกวนของสั ญญาณ
133
ควรทําการเดินสายไฟ Power (L1,L2,L3,N)และเก็บสายตามตัวอย่ าง

รัดสายด้วย
เคเบิลไทร์
รัดสายด้วย
เคเบิลไทร์

การเดินสายสัญญาณควคุม (Control wiring for VRV IV)


ขัวสําหรับต่ อสายไฟ

แฟนคอยล์
ยูนิต

P1, P2 : ต่อรี โมทคอนโทรล


F1, F2 : ต่อระหว่างแฟนคอยล์กบั คอนเดนซิ งยูนิต (คอนโทรล)
T1, T2 : ไดคอนแทก/ใช้ต่อสังเปิ ด-ปิ ดแอร์ โดยตรงไม่ผา่ นรี โมท

คอนเดนซิ งยูนิต F1, F2 (to indoor): ต่อระหว่างคอนเดนซิ งกับแฟนคอยล์ยนู ิต (คอนโทรล)


F1, F2 (to outdoor): ต่อระหว่างคอนเดนซิ งกับรี โมทส่ วนกล่าง
Q1, Q2 (to multi unit) : ต่อระหว่างโมดูลในซิ สเต็มเดียวกัน

Page 134
Control Wiring 1 System 1 module

Transmission line
VCT 0.75 – 1.5 mm2

DC16V

Page 135

136
Control Wiring 1 System 2 module

F1 F2 F1 F2 F1 F2

Indoor Indoor Indoor


unit unit unit

Master outdoor unit Slave outdoor unit


F1 F2 Q1 Q2 Q1 Q2
Transmission line
VCT 0.75 – 1.5 mm2
137
Control Wiring 1 System 2 module + Central Remote

Indoor Indoor Indoor Indoor Master Slave


unit unit unit unit outdoor outdoor
unit unit

OUT-OUT

Transmission line
F1 F2
VCT 0.75 – 1.5 mm2 Master Slave
Indoor Indoor Indoor Indoor outdoor outdoor
unit unit unit unit
unit unit

Power supply
220 Vac. 50 Hz.
L N
Centralized controller
OUT-OUT
F1 F2
Transmission line L N
VCT 0.75 – 1.5 mm2

F1 F2

Power / Transmission line for Example 138

Input from
Sensor Temp
room

Outdoor to indoor Outdoor to Outdoor Multi


F1 F2 F1 F2 Q1 Q2 P1 P2 F1 F2 T1 T2
Power supply
L N

Safety switch
Power supply
L1 L2 L3 N

Safety switch
L N

FXHQ 100MVE
RXQ8T
XQ8T

Wire Remote Controller


Model : BRC1E62
139
สายสั ญญาณสื อสารระหว่ างชุ ดแฟนคอยล์กบั รีโมท

P1N1 1 แฟนคอยล์ 1 รี โมท (แบบมีสาย )


FCU
FCU

R/C
P1N1
R/C
1 แฟนคอยล์ 2 รี โมท (แบบมีสาย )
FCU
กรณี ต่อรี โมทใช้งานร่ วมกัน 2 ตัว จะต้องรี โมท
P1N1 ให้ตวั ใดตัวหนึงเป็ น Master หรื อ Slave (โรงงาน
FCU
จะปรับเป็ น Master เสมอ)

R/C P1N1 P1N1

SM
R/C Master Slave
Master Slave P1 N1
M S
SS
1
140
สายสั ญญาณสื อสารระหว่ างชุ ดแฟนคอยล์กบั รีโมท
กรณี ต่อรี โมทมีสาย 1 ควบคุมแฟนคอยล์ หลายตัว ( สู งสุ ด 16 แฟนคอยล์ )
F1,F2
FCU 1 FCU 2 FCU 3 FCU 16

R/C

FCU 1 FCU 2 FCU 3 FCU 16


P1 N1 P1 N1 P1 N1 P1 N1

P1 N1 R/C
141
สายสั ญญาณสื อสารระหว่ างชุ ดแฟนคอยล์กบั รีโมท
กรณี ชุดแฟนคอยล์ 1 ตัว ต่อเข้ากับรี โมท 2 ตัว
( รี โมทแบบมีสายและแบบไร้สาย ) หมายเหตุ
FCU 1 1. รี โมทมีสายจะต้องตังค่าให้เป็ น Master เท่านัน
2. รี โมทไร้สายจะต้องตังค่าให้เป็ น Slave เท่านัน
(โรงงานปรับตังที Master)

Receiver
SS SS
1 M S 1 2 32
R/C M : Master S : Slave
1,2,3 : ช่ องสั ญญาณ
R/C Receiver

สายสั ญญาณสื อสารระหว่ าเครื องปรับอากาศกับชุ ดคอนโทรลส่ วนกลาง142


ข้อกําหนดของสายสัญญาณสื อสาร
200 m

100 m
10 m ความยาวทังหมด d 2000 m
ความยาวสู งสุ ด d 1000 m

10 m
500 m ความยาวทังหมด
200+100+10+10+500+200
= 1020m
200 m

ความยาวสู งสุ ด
200+10+10+500 = 720m All Central controller device
e ความยาวสายทังหมด 2000 เมตร หรื อ ตํากว่า (กรณี ใช้สาย shielded ความยาวสายจะลดลงเหลือ 1500 เมตร)
143
การติดตังสายสั ญญาณสื อสารทีไม่ ถูกต้ อง
- ติดตังไม่ถูกต้องแบบที 1 - ติดตังไม่ถูกต้องแบบที 3

- ติดตังไม่ถูกต้องแบบที 2 - ติดตังไม่ถูกต้องแบบที 4

ควรทําการเดินสายไฟ F1, F2 และเก็บสายตามตัวอย่าง 144


RXQ8~12 RX14~20

รัดสายด้วย รัดสายด้วย
เคเบิลไทร์ เคเบิลไทร์
145

ติดตัง Indoor - Outdoor unit 9


ทดสอบรัว และ
ทําสูญญากาศระบบ 9
ติดตังระบบนําทิง
และ สายไฟ 9
เติมนํายาเพิมโดยใช้ระบบ
Auto Refrigerant Charge

Test-Run

การเตรียมตัวก่อนเริม Start - UP 146

• สําหรับการ จ่ายไฟ ครังแรก


แนะนําให้ ถอดSocket จ่ายไฟเข้า PCB
ของทุกโมดูล ออกก่อน แล้วตรวจสอบ
ไฟฟ้ า 3 เฟส ให้เรียบร้อยก่อน

• ต้อง มีการจ่ายไฟให้ระบบ มาแล้ว


ไม่ตากว่
ํ า 8 ชม. เพือ
อุ่นนํามันคอมเพรสเซอร์ ให้อยูใ่ นสภาวะ
ทีเหมาะสมกับการทํางาน
147

8. การเติมนํายาด้วยระบบ
Automatic Refrigerant Charge

New Automatic Refrigerant Charge 148

ตัวอย่าง รูปแบบการต่อสายเติมนํายา สําหรับการทํา Auto Charging


Gauge Manifold

Valve B Valve A Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant
stop stop auto stop stop auto stop stop auto
Close Close valve valve charge valve valve charge valve valve charge
(close) (close) valve (close) (close) valve (close) (close) valve

Field piping
Field piping

Weighing scale
Legend
Valve A – H.P Side valve
Valve B – L.P Side valve
New Automatic Refrigerant Charge 149

ตัวอย่าง รูปแบบการต่อสายเติมนํายา สําหรับการทํา Auto Charging

150
Automatic Refrigerant Charge Function

คํานวณปริ มาณสารทําความ ทําการ ”‡Ǧ…Šƒ”‰‡ เริ มกระบวนการ


เย็นทีต้องเติมเพิมจากแบบ ȗหากปริ มาณทีคํานวณได้ ƒ—–‘ƒ–‹…
†‡•‹‰ มากกว่า Ͷ‰ …Šƒ”‰‡
STEP 1 STEP 2 STEP 3

ไม่จาํ เป็ นต้องคํานวณปริ มาณนํายาซํา 


ระบบจะได้ปริ มาณนํายาที ไม่จาํ เป็ นต้องเฝ้าขณะ
ในกรณี พืนทีหน้างานแตกต่างจากแบบที
เหมาะสมโดยอัตโนมัติ ระบบทํางาน ตลอดเวลา
ใช้คาํ นวณไม่มาก
Step 1: การคํานวณปริมาณนํายาทีต้องเติมเพิม 151

การคํานวณนํายาทีต้องเติมเพิม
1. ความยาว เฉพาะท่อลิควิด แต่ละขนาด คูณด้วยตัวแปรทีกําหนด
2. ตารางค่า “A” อ้างอิงจาก ค่า CR
Liquid piping
Total
Size length kg/m
(m)
Φ6.4 × 0.022
Φ9.5 × 0.057
Φ12.7 × 0.11
Φ15.9 × 0.17
Φ19.1 × 0.26
Φ22.2 × 0.36

ความยาวท่อในการคํานวณค่า‘A’นับจากคอยล์ร้อนไปยังคอยล์เย็นตัวทีไกลทีสุด

Step 1: การคํานวณปริมาณนํายาทีต้องเติมเพิม 152


153
ตัวอย่างการคํานวณ
Replacement of RXQ12TY1 Ÿ RXQ12AYM

No change of 6 FCU.
- FXFQ50LUV1
- FXFQ50LUV1
- FXHQ63MAVE
- FXHQ63MAVE
- FXFQ25LUV1
- FXHQ63MAVE

154
ตัวอย่างการคํานวณ
คํานวณปริมาณนํายาทีต้องเติมเพิม
Ø of pipe ความยาวท่ อของลิควิด ปริมาณทีต้ องเติม
Ø 12.7 8.5m x 0.11 0.935 kg
Ø 9.5 20.2m x 0.057 1.1514 kg
Ø 6.4 16.5m x 0.022 0.363 kg
Table A
- (Pipe length <30m) Actual = 22m 0.5 kg
- CR ( 105% < CR d 130%)
Total 2.9494 kg
Additional Refrigerant Charge | 3kg

automatic refrigerant charge


ทีเกิดขึนจริงเติมนํายาไป 3kg.

Weighing scale
154
Step 2: Pre-Charging 155

ตรวจสอบปริมาณนํายา
ตรวจสอบว่า
Step 2 : R > 4kg จําเป็ นต้องทําการ
จําเป็ นต้อง Pre-charging pre-charging
ขันตอนการเตรียมการ หรือไม่ ??
1. ต่อสายจากถังนํายาไปสู่ แมนิโฟลด์
เกจ แล้วต่อจากเกจไปทีคอยล์รอ้ น
2. ไล่ความชืนออกจากสายทังหมด Step 3 : R ≤ 4kg
(3 สาย) หลังจากเชือมต่อแล้ว ไม่จาํ เป็ นต้อง Pre-charging
สามารถเริมกระบวนการ automatic
3. เซ็ตค่า ศูนย์ (0) ทีตราชัง
refrigerant charging! ได้เลย

*คอมเพรสเซอร์จะต้องยังไม่ทาํ งานในขณะทาํ
กระบวนการ pre-charging

156
ตัวอย่ าง การเติมปริมาณสารทําความเย็น
Step 2 : ขันตอนการ Pre-charge (กรณี R > 4kg)157

Valve B Valve A Refrigerant


Liquid Gas Liquid Gas Liquid Gas Refrigerant
stop stop auto stop stop
Refrigerant
stop stop
auto auto
Close Close
Open valve valve charge valve valve charge valve valve charge
(close) (close) (close) (close) (close) (close)
valve valve valve

Field piping
Field piping

Step 2
1. เปิ ด วาล์ว A ทีเชือมต่อกับสต็อปวาล์ว ฝังลิควิด
(สต็อปวาล์วทังฝั ง Liquid และ Gas จะต้องอยูใ่ นสถานะปิ ด รวมถึง วาล์ว B จะต้องอยูใ่ นสถานะปิ ด)
2. ทําการ pre-charging เป็ นจํานวณ : Q (kg)
3. โดยปริมาณ Q มีคา่ เท่ากับ 50% (± 10 %) ของ ปริมาณR. [รอจนความดันของระบบบาลานซ์
4. ปิ ด วาล์ว A if no additional refrigerant can be charged. และเริม STEP 4.

158
Step 3 : Automatic Refrigerant Charge

Valve B Valve A Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant
stop stop auto stop stop auto stop stop auto
Close Close valve valve charge valve valve charge valve valve charge
(open) (open) valve (open) (open) valve (open) (open) valve

Field piping
Field piping

Step 3
หลังจากทําการ pre-charging ตาม Step 2 (ในกรณี R t 4kg) สําหรับนํายาส่วนทีเหลือสามารถเติมได้ตาม
เงือนไข ดังนี (Outdoor temperature: 0 qC ~ 43 qC / Indoor temperature: 10 q C ~ 32 qC)
เปิ ดสวิตซ์แหล่งจ่ายไฟให้ indoor และ outdoor unit. (Y4E- Refrigerant Auto Charge EXV open)
1. เปิ ด สต๊อปวาล์ว liquid และ gas ***แต่ Valve A และ Valve B ยังคงปิ ดอยู่
Step 3: การตังค่า Outdoor unit 159

Step 3: การตังค่า Outdoor unit 160

a. รอให้หน้าจอ b. กด BS2 หนึงครัง


หยุดกระพริบ ให้หน้าจอแสดง
และดับไป ‘888’

d. ระบบจะทํางาน
c. กด BS2 ค้างไว้ และแสดง
ประมาณ 5 วินาที ‘t02’ (start up
control)
จนกระทัง ขึน t01 ‘t03’ (waiting
เพือเริมกระบวนการ stable cooling
operation)
ตามลําดับ
Step 3: การตังค่า Outdoor unit 161

Valve B Valve A Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant
stop stop auto stop stop auto stop stop auto
Open
Close Close valve valve charge valve valve charge valve valve charge
(open) (open) valve (open) (open) valve (open) (open) valve

Field piping
Field piping

e. เมือ หน้าจอแสดง “t03” กระพริบ(พร้อมทีจะเติมนํายา) ให้กดปุ่ ม BS2 หนึงครัง


ภายใน5นาที แล้วจึงเปิ ด Valve B
หากไม่ได้กดปุ่ ม BS2 ภายใน 5 นาที - code P2 จะปรากฏ ให้กดปุ่ ม BS3 เพือออก
จากนันจึงเริมใหม

Step 3: การตังค่า Outdoor unit 162

Valve B Valve A Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant
stop stop auto stop stop auto stop stop auto
Open Close valve valve charge valve valve charge valve valve charge
(open) (open) valve (open) (open) valve (open) (open) valve

Field piping
Field piping

f. ระหว่างระบบทําการ g. เมือหน้าจอแสดง
Automatic charging ที ‘PE’ code
หมายความว่าใกล้
หน้าจอจะแสดง
จะเสร็จกระบวนการ
ค่าcurrent low pressure
ชาร์จแล้ว
และ ‘t03’ สลับกัน
Step 3: การตังค่า Outdoor unit 163

Valve B Valve A Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant Liquid Gas Refrigerant
stop stop auto stop stop auto stop stop auto
Open
Close Close valve valve charge valve valve charge valve valve charge
(open) (open) valve (open) (open) valve (open) (open) valve

Field piping
Field piping

h. เมือหน้าจอแสดง ‘P9’ หมายถึงกระบวนการเสร็จสิน ให้ทาํ การปิ ด Valve B ทีเกจ


Note: Whในบางกรณีทปริ
ี มาณนํายาทีต้องเติมน้อย ระบบอาจจะไม่แสดง code ‘PE’ โดยข้ามไป
แสดง code ‘P9’ เลย

i. กดปุ่ ม BS1 เพือออกจากกระบวนการ auto refrigerant charging (P9 จะหายไป)

การตรวจสอบ 164

กรณีการเติมไม่สาํ เร็จ
• หากกระบวนการ Automatic refrigerant charge ถูกทําไม่สาํ เร็จ error code U3-04 จะแสดงขึน
• ให้เริมทํากระบวนการ Automatic refrigerant charge ใหม่ โดยเริมจาก STEP 4.
กรณีการเติมสําเร็จ
• ตรวจเช็คปริมาณนํายาทีเติมเข้าไป โดยดูจากตาชัง
• เขียนปริมาณนํายาทีเติมไปลงในแผ่นตารางข้อมูลทีให้มากับเครืองให้เรียบร้อย
• ติดแผ่นข้อมูลไว้ในเครืองในบริเวณทีเห็นได้ชดั
165
Information code
INFORMATION CODE CONTENTS SOLUTION
ปิ ด วาล์ว C โดยทันที กดปุ่ ม BS3เพือทําการรีเซ็ต
ทําการเช็ดดังต่อไปนี ก่อนเริมกระบวนการใหม่
ความดัน ด้าน low pressure ใน
P2 • เช็ค gas stop valve ว่าถูกเปิ ดเรียบร้อย
ท่อ suction ไม่ปกติ
• เช็ค valve ที the refrigerant cylinder ต้องเปิ ด
• ไม่มีสงกีิ ดขวางช่องลมเข้า-ออก indoor unit
ระบบป้องกันการเป็ นนําแข็งทํางาน ปิ ด วาล์ว C โดยทันที กดปุ่ ม BS3เพือทําการรีเซ็ต และลอง
P8 (Freeze-up prevention) ใน
ทํา auto charge อีกครัง
indoor unit
กระบวนการ Automatic
PE เตรียมตัวหยุดกระบวนการ auto charging
charging ใกล้สมบูรณ์

สินสุดกระบวนการ Automatic
P9 Finish auto charge mode.
charging
Note:
• เมือมีอาการผิดปกติระหว่างการทํา automatic refrigerant charge จะมี code แสดงขึนมาให้ตรวจสอบได้
โดย สามารถกดปุ่ ม BS1 เพือทําการรีเซ็ต code ก่อนเริมทํากระบวนการใหม่
• สามารถยกเลิกกระบวนการทํา automatic refrigerant charge โดยการกดปุ่ ม BS1. ระบบจะหยุดทํางาน

166
Malfunction codes

MALFUNCTION CODE

Main Sub code CONTENTS SOLUTION


code Master Slave1 Slave2

Malfunction code: ระบบยัง


03 ไม่ถกู เทสรัน (system ทําการ test run ระบบให้เรียบร้อย
operation not possible).

U3 04 test run ไม่สมบูรณ์ ทําการ test run ระบบอีกครัง


Malfunction code: ระบบยัง
ทําการ auto charge ให้เรียบร้อย (see manual).
10 ไม่ผา่ นกระบวนการ
refrigerant auto charge
167

9. การ Test Run ระบบ

168
TEST Installation (test Run) สํ าหรับ VRV
Normal
indication
BS2
5sec
กดปุ่ ม ค้างไว้
5 วินาที

ใช้เวลาประมาณ 45 นาที
169
TEST Installation (test Run) สํ าหรับ VRV
BS2 5sec

หลังจากกดปุ่ ม หน้ าจอแสดงผล t 0 1

170
TEST Installation (test Run) สํ าหรับ VRV IV

BS2
5sec

หาก กระบวนการเสร็จสิน
Test ระบบ จะกลับมาที Normal indication
Run
หน้ าจอรีโมทขณะ Test operation 171

หน้ าจอรีโมทขณะ Test operation 172

กรณีี H2P และ H3P ติดิ ค้้ าง


ไฟ Power กระพริ บ

Error code ระบบยังไม่ผา่ นการ Test Run U3 Test Run ระบบให้เสร็ จสิ นก่อนเปิ ดเครื อง
เปิ ดเบรกเกอร์ แฟนคอล์ยไม่ครบ U9 เปิ ดเบรกเกอร์แฟนคอล์ยให้ครบทุกตัว
เครื องทีผิดปกติ

กระพริ บ
ปัญหาทีพบในการงานติดตังและแนวทางแก้ไข 173
หากกระบวนการ Test Run ไม่สามารถ ดําเนินการให้สาํ เร็จได้ จะมี
error code แสดงตามอาการ ดังนี

ปัญหาทีพบในการงานติดตังและแนวทางแก้ไข 174
Malfunction code

Si39-407 Pg 119
ปัญหาทีพบในการงานติดตังและแนวทางแก้ไข 175
Malfunction code

ปัญหาทีพบในการงานติดตังและแนวทางแก้ไข 176
Malfunction code
ปัญหาทีพบในการงานติดตังและแนวทางแก้ไข 177
Malfunction code

178

Advanced Integrated
Control System
179
New

Global, US model document

iTM system overview 180

Air Conditioning
Network Service System
Internal modem Max. 64 groups
(option) i Touch Manager
T
DIII NET
Phone line

LAN HRV

LAN DIII Plus ADP I/F iTM plus adaptor䠄Max. 7 adaptors)


Internet/Intranet
Max. 50m
USB flash drive

RS485
DϪNET
Max.
Wireless modem Di/Pi port 500m Di/Pi port
䠄for Remote maintenance䠅 Max. 200m

Fire alarm Wh meter WAGO I/O System (Max. 30 Nodes)


Web Access

WAGO WAGO WAGO


Node Node Node

Light

Sensor
Fan
Web Access Pump

Up to 650 management points can be managed on iTM


การตังค่ า Address 181

เพือรองรับระบบ Central Control


ในกรณี มีการติดตัง Control ส่วนกลาง สามารถตังค่า Address ตัวเครือง ได้ดงั นี
Service Setting

กดปุ่ม ยกเลิก เมือ เข้าสู่ Service Setting ตัง Address


ค้างไว้ 5 วินาที ให้เลือกหัวข้อ Group Address ตามลําดับ

182
Note
183

ตัวอย่ างงานติดตัง VRV

184

Power line from CDU

Transmission line F1,F2

Gas Pipe

Liquid Pipe

Drain Pipe
185

Terminal Transmission

Socket Thermister

186
Remote BRC1E63
187

Terminal Transmission

Gas Pipe 188

Liquid Pipe

Power line to Indoor Unit

Transmission line F1,F2 to


Indoor Unit
189

Refrigerant Piping Line

Slide 190
Note
191

ตัวอย่างการติดตังทีไม่ดี

192

การเดินท่ อเข้ าคอยล์ร้อน


การติดตังท่อเข้าคอยล์ร้อน
ลาดเอียง ลง ทําให้นามั
ํ นคอมเพรสเซอร์
ไหลลงไปค้างอยูใ่ นท่อ

โดยเฉพาะ ในกรณี ที คอยล์ร้อน


ทํางานไม่พร้อมกัน จะเกิดการสู ญเสี ย
นํามันคอมฯไปยังส่ วนนี

Outdoor unit
OK
connection piping kit

To the indoor unit


193

ไม่มีการใส่ SLEEVE ป้องกัน ฉนวน

194
ไม่มีการใส่ ฉนวน ทีถูกต้อง ให้ Refnet Joint

OK
สาย Power และ Control อยู่ ใกล้กนั 195

Control

Power supply
Control cable cable

Power

ต่อ Hood บังคับลม ไม่แนบผนัง(ระแนง) 196

Extend duct hood


OK
Duct Small
until louver.
gap
hood
Gap No short
Duct circuit
Louver hood

Outdo
or unit
Louver

You might also like