You are on page 1of 16

โครงสร้าง/กำหนดการสอนตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ในช่วง

สถานการณ์ COVID – 19
ภาคเรียนที่ 2/2564
รหัสวิชา ศ 11103 ชื่อวิชา ศิลปะ ระดับชัน

ป.3

สัปดา รหัสตัวชีว
้ ัดและตัวชีว
้ ัด เรื่องที่สอน การวัดการ คะแ
ห์ที่ ประเมินผล นน
1 ศ.2.1 ป.3/1 ระบุรูปร่าง ใบงานเรื่อง 10
 รูปร่างลักษณะของ
ลักษณะของเครื่องดนตรี เครื่องดนตรี
เครื่องดนตรี
ที่เห็นและได้ยินในชีวิต
 เสียงของเครื่องดนตรี
ประจำวัน
3 ศ.2.1 ป.3/2 ใช้รูปภาพหรือ  สัญลักษณ์แทนคุณ ใบงานเรื่องเสียง 10
สัญลักษณ์แทนเสียงหรือ สมบัติของเสียง (สูง -ต่ำ ดนตรี
จังหวะเคาะ ดัง - เบา ยาว - สัน
้ )
 สัญลักษณ์แทนรูปแบบ
จังหวะ
5 ศ.2.1 ป.3/3 บอกบทบาท  บทบาทหน้าที่ของ ใบงานเรื่องเพลง 10
หน้าที่ของเพลงที่ได้ยิน บทเพลงสำคัญ
ศ.2.1 ป.3/4 ขับร้องและ - เพลงชาติ - เพลง
บรรเลงดนตรีง่าย ๆ สรรเสริญพระบารมี
ศ.2.1 ป.3/5 เคลื่อนไหว - เพลงประจำโรงเรียน
ท่าทางสอดคล้องกับ  การขับร้องเดี่ยวและหมู่
อารมณ์ของเพลงทีฟ
่ ัง  การบรรเลงเครื่องดนตรี
ศ.2.1 ป.3/6 แสดงความคิด ประกอบจังหวะ
เห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  การแสดงความคิดเห็น
เสียงขับร้องของตนเอง เกี่ยวกับเสียงร้อง และ
และผู้อ่ น
ื เสียงดนตรี
ศ.2.1 ป.3/7 นำดนตรีไปใช้ - คุณภาพเสียงร้อง -
ในชีวิตประจำวันหรือ คุณภาพเสียงดนตรี
โอกาสต่าง ๆ ได้อย่าง  การเคลื่อนไหวตาม
เหมาะสม อารมณ์ของบทเพลง
 การใช้ดนตรีในโอกาส
พิเศษ
- ดนตรีในงานรื่นเริง
- ดนตรีในการฉลองวัน
สำคัญของชาติ
7  เอกลักษณ์ของดนตรีใน ใบงานเรื่องการ 10
ท้องถิ่น ใช้ดนตรี
- ลักษณะเสียงร้องของ
ดนตรีในท้องถิ่น
- ภาษาและเนื้อหาใน
ศ.2.2 ป.3/1 ระบุลก
ั ษณะ
บทร้องของดนตรี ในท้อง
เด่นและเอกลักษณ์ของ
ถิ่น
ตนตรีในท้องถิ่น
- เครื่องดนตรีและวงดนตรี
ศ.2.2 ป.3/2 ระบุความ
ในท้องถิ่น
สำคัญและประโยชน์ของ
 ดนตรีกับการดำเนินชีวิต
ดนตรีต่อการดำเนินชีวิต
ในท้องถิ่น
ของคนในท้องถิ่น
- ดนตรีในชีวิตประจ้าวัน
- ดนตรีในวาระสำคัญ
สัปดา รหัสตัวชีว
้ ัดและตัวชีว
้ ัด เรื่องที่สอน การวัดการ คะแ
ห์ที่ ประเมินผล นน
9 ศ.3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์ ใบงานเรื่องเสียง 10
การเคลื่อนไหวในรูปแบบ  การเคลื่อนไหวในรูป เพลง
ต่าง ๆ ในสถานการณ์สน
ั้ แบบต่าง ๆ
ๆ – รำวงมาตรฐาน
- สถานการณ์สน
ั้ ๆ
- สถานการณ์ที่กำหนดให้
11  หลักและวิธีการปฏิบัติ ใบงานเรื่องเสียง 10
นาฏศิลป์ เพลง
ศ.3.1 ป.3/2 แสดงท่าทาง
- ภาษาท่าสื่ออารมณ์ของ
ประกอบเพลงตามรูป
มนุษย์
แบบนาฏศิลป์
- นาฎยศัพท์ในส่วนขา
13 ศ.3.1 ป.3/3 เปรียบเทียบ ใบงานเรื่องการ 10
บทบาทหน้าที่ของผู้แสดง แสดง
และผู้ชม  หลักในการชมการแสดง
ศ.3.1 ป.3/4 มีส่วนร่วม - ผู้แสดง
ในกิจกรรมการแสดงที่ - ผู้ชม
เหมาะสมกับวัย - การมีส่วนร่วม
15 ศ.3.1 ป.3/5 บอก ใบงานเรื่องนาฎ 10
ประโยชน์ของการแสดง ศิลป์
นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำ  การบูรณาการนาฏศิลป์
วัน กับสาระ การเรียนรู้อ่ น
ื ๆ
17  การแสดงนาฏศิลป์ พื้น ใบงานเรื่อง 10
ศ.3.2 ป.3/1 เล่าการ
บ้านหรือท้องถิ่น ของตน นาฏศิลป์
แสดงนาฏศิลป์ ที่เคยเห็น
 ที่มาของการแสดง
ในท้องถิ่น
นาฏศิลป์
19 ศ.3.2 ป.3/2 ระบุสงิ่ ที่  การแสดงนาฏศิลป์ พื้น ใบงานเรื่อง 10
เป็ นลักษณะเด่นและ บ้านหรือท้องถิ่น ของตน นาฏศิลป์
เอกลักษณ์ของการแสดง  ที่มาของการแสดง
นาฏศิลป์ นาฏศิลป์
ศ.3.2 ป.3/3 อธิบาย
ความสำคัญของการแสดง
นาฏศิลป์
รวม 100

โครงสร้าง/กำหนดการสอนตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ในช่วง
สถานการณ์ COVID – 19
ภาคเรียนที่ 2/2564
รหัสวิชา ศ 11103 ชื่อวิชา ศิลปะ ระดับชัน

ป.3

สัปดา รหัสตัวชีว
้ ัดและตัวชีว
้ ัด เรื่องที่สอน การวัดการ คะแ
ห์ที่ ประเมินผล นน
1 ศ.2.1 ป.3/1 ระบุรูปร่าง  รูปร่างลักษณะของ ใบงานเรื่อง 5
ลักษณะของเครื่องดนตรี เครื่องดนตรี เครื่องดนตรี
ที่เห็นและได้ยินในชีวิต
 เสียงของเครื่องดนตรี
ประจำวัน
2 ศ.2.1 ป.3/2 ใช้รูปภาพหรือ  สัญลักษณ์แทนคุณ ใบงานเรื่องเสียง 5
สัญลักษณ์แทนเสียงหรือ สมบัติของเสียง (สูง -ต่ำ ดนตรี
จังหวะเคาะ ดัง - เบา ยาว - สัน
้ )
 สัญลักษณ์แทนรูปแบบ
จังหวะ
3 ศ.2.1 ป.3/3 บอกบทบาท  บทบาทหน้าที่ของ ใบงานเรื่องเสียง 5
หน้าที่ของเพลงที่ได้ยิน บทเพลงสำคัญ ดนตรี
- เพลงชาติ - เพลง
สรรเสริญพระบารมี
- เพลงประจำโรงเรียน
4 ศ.2.1 ป.3/4 ขับร้องและ  การขับร้องเดี่ยวและหมู่ ใบงานเรื่องเสียง 5
บรรเลงดนตรีง่าย ๆ  การบรรเลงเครื่องดนตรี ดนตรี
ประกอบจังหวะ
 การแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเสียงร้อง และ
เสียงดนตรี
- คุณภาพเสียงร้อง -
คุณภาพเสียงดนตรี
5 ศ.2.1 ป.3/6 แสดงความคิด  การขับร้องเดี่ยวและหมู่ ใบงานเรื่องเสียง 5
เห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  การบรรเลงเครื่องดนตรี ดนตรี
เสียงขับร้องของตนเอง ประกอบจังหวะ
และผู้อ่ น
ื  การแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเสียงร้อง และ
เสียงดนตรี
- คุณภาพเสียงร้อง -
คุณภาพเสียงดนตรี
6 ศ.2.1 ป.3/5 เคลื่อนไหว ใบงานเรื่องเสียง 5
ท่าทางสอดคล้องกับ  การเคลื่อนไหวตาม ดนตรี
อารมณ์ของเพลงทีฟ
่ ัง อารมณ์ของบทเพลง
7 ศ.2.1 ป.3/7 นำดนตรีไปใช้  การใช้ดนตรีในโอกาส ใบงานเรื่องเพลง 5
ในชีวิตประจำวันหรือ พิเศษ
โอกาสต่าง ๆ ได้อย่าง - ดนตรีในงานรื่นเริง
เหมาะสม - ดนตรีในการฉลองวัน
สำคัญของชาติ

สัปดา รหัสตัวชีว
้ ัดและตัวชีว
้ ัด เรื่องที่สอน การวัดการ คะแ
ห์ที่ ประเมินผล นน
8  เอกลักษณ์ของดนตรีใน ใบงานเรื่องการ 5
ท้องถิ่น ใช้ดนตรี
- ลักษณะเสียงร้องของ
ดนตรีในท้องถิ่น
- ภาษาและเนื้อหาใน

ั ษณะ บทร้องของดนตรี ในท้อง


ศ.2.2 ป.3/1 ระบุลก
เด่นและเอกลักษณ์ของ ถิ่น

ตนตรีในท้องถิ่น - เครื่องดนตรีและวงดนตรี
ในท้องถิ่น
- ดนตรีในวาระสำคัญ
 ดนตรีกับการดำเนินชีวิต
ในท้องถิ่น
- ดนตรีในชีวิตประจ้าวัน
9  เอกลักษณ์ของดนตรีใน ใบงานเรื่องการ 5
ท้องถิ่น ใช้ดนตรี
10 - ลักษณะเสียงร้องของ ใบงานเรื่องการ 5
ดนตรีในท้องถิ่น ใช้ดนตรี
11 - ภาษาและเนื้อหาใน ใบงานเรื่องการ 5
บทร้องของดนตรี ในท้อง ใช้ดนตรี
ศ.2.2 ป.3/2 ระบุความ
ถิ่น
สำคัญและประโยชน์ของ
- เครื่องดนตรีและวงดนตรี
ดนตรีต่อการดำเนินชีวิต
ในท้องถิ่น
ของคนในท้องถิ่น
- ดนตรีในวาระสำคัญ
 ดนตรีกับการดำเนินชีวิต
ในท้องถิ่น
- ดนตรีในชีวิตประจ้าวัน
12 ศ.3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์ ใบงานเรื่องเสียง 5
การเคลื่อนไหวในรูปแบบ  การเคลื่อนไหวในรูป เพลง
ต่าง ๆ ในสถานการณ์สน
ั้ แบบต่าง ๆ
ๆ – รำวงมาตรฐาน
- สถานการณ์สน
ั้ ๆ
- สถานการณ์ที่กำหนดให้
13  หลักและวิธีการปฏิบัติ ใบงานเรื่องเสียง 5
นาฏศิลป์ เพลง
ศ.3.1 ป.3/2 แสดงท่าทาง
- ภาษาท่าสื่ออารมณ์ของ
ประกอบเพลงตามรูป
มนุษย์
แบบนาฏศิลป์
- นาฎยศัพท์ในส่วนขา
14 ศ.3.1 ป.3/3 เปรียบเทียบ  หลักในการชมการแสดง ใบงานเรื่องเสียง 5
บทบาทหน้าที่ของผู้แสดง - ผู้แสดง เพลง
และผู้ชม
- ผู้ชม
- การมีส่วนร่วม
15 ศ.3.1 ป.3/4 มีส่วนร่วม ใบงานเรื่องการ 5
ในกิจกรรมการแสดงที่  หลักในการชมการแสดง แสดง
เหมาะสมกับวัย - ผู้แสดง
- ผู้ชม
- การมีส่วนร่วม
สัปดา รหัสตัวชีว
้ ัดและตัวชีว
้ ัด เรื่องที่สอน การวัดการ คะแ
ห์ที่ ประเมินผล นน
16 ศ.3.1 ป.3/5 บอก ใบงานเรื่องนาฎ 5
ประโยชน์ของการแสดง ศิลป์
นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำ  การบูรณาการนาฏศิลป์
วัน กับสาระ การเรียนรู้อ่ น
ื ๆ
17  การแสดงนาฏศิลป์ พื้น ใบงานเรื่อง 5
ศ.3.2 ป.3/1 เล่าการ
บ้านหรือท้องถิ่น ของตน นาฏศิลป์
แสดงนาฏศิลป์ ที่เคยเห็น
 ที่มาของการแสดง
ในท้องถิ่น
นาฏศิลป์
18 ศ.3.2 ป.3/2 ระบุสงิ่ ที่  การแสดงนาฏศิลป์ พื้น ใบงานเรื่อง 5
เป็ นลักษณะเด่นและ บ้านหรือท้องถิ่น ของตน นาฏศิลป์
19 เอกลักษณ์ของการแสดง  ที่มาของการแสดง ใบงานเรื่อง 5
นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ นาฏศิลป์

20 ศ.3.2 ป.3/3 อธิบาย  การแสดงนาฏศิลป์ พื้น ใบงานเรื่อง 5


ความสำคัญของการแสดง บ้านหรือท้องถิ่น ของตน นาฏศิลป์
นาฏศิลป์  ที่มาของการแสดง
นาฏศิลป์
รวม 100

สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 8-12 พฤศจิกายน 2564 ศิลปะ ป.3 ใบงานเรื่อง


เสียงเครื่องดนตรี
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนบอกเสียงของเครื่องดนตรีเกิดจากอะไร

เสียงจาก เสียงจาก เสียงจาก เสียงจาก เสียงจาก


การดีด การตี การเป่ า การกด การสี
เปี ยโน กลอง
ขลุ่ย

ไวโอลิน แซกโซโฟน 
ระนาด

กีต้าร์
แคน
สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 22-26 พฤศจิกายน 2564 ศิลปะ ป.3 ใบงานเรื่อง
ระดับของเสียงดนตรี
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนชื่อระดับเสียงของตัวโน้ตให้
ครบทัง้ 7 เสียง ลงในช่องว่างที่กำหนด

โด เร มี ฟา ซอล ลา ที(ซี)
7 เสียงสูง
6
5
4
3
2
1 เสียงต่ำ

เสียงสูงที่สุด คือ
ฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒฒ
ฒฒฒฒฒฒฒ
เสียงต่ำที่สุด คือ
ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ
ศศศศศศศศศศ
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวาดรูปสัญลักษณ์แทนความยาวเสียง
ให้ถูกต้อง

ชื่อ สัญลักษณ์
ตัวขาว

ตัวกลม

ตัวเขบ็ตหนึ่ง
ชัน

ตัวดำ

ตัวเขบ็ตสอง
ชัน

ใบความรู้สัปดาห์ที่ 1 และ 3 วันที่ 8-26 พฤศจิกายน 2564 ศิลปะ


ใบความรู้ เรื่อง เสียงจากเครื่องดนตรี
เสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี เกิดขึน
้ มาจาการตีเกราะ
เคาะไม้ ปรบมือ เช่น โลหะ ไม้ หนัง เป็ นต้น จนเกิดเป็ นเสียงที่ดังก้อง
กังวานเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี เช่น กลองยาว ระนาด ฆ้องวง
เป็ นต้น
เสียงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่ า เกิดจากการบังคับลมที่พอ
เหมาะให้ผ่านเครื่องเป่ าลักษณะต่าง ๆ จนเกิดเป็ นเสียงที่ไพเราะน่าฟั ง
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่ า เช่น ปี่ ใน ขลุ่ยเพียงออ ฯลฯ เป็ นต้น
เสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีดจะต้องใช้นว
ิ ้ หรือวัตถุดีดสาย
ให้เกิดเสียงก้องกังวาน
ไพเราะน่าฟั ง เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เช่น จะเข้ กระจับปี่
เป็ นต้น
เสียงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี เกิดจากการเสียดสีกันของวัตถุ
ในตัวเครื่องดนตรีทำให้เกิดการสั่นสะเทือนและเกิดเป็ นเสียงดังก้อง
กังวาน มีเสียงแหลมสูงหรือเสียงทุ้มต่ำ เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสี
เช่น ซออู้ ซอด้วง ซอสามสาย เป็ นต้นเครื่องดนตรีบางชนิดให้เสียงสูง
เช่น ปี่ ใน ซอด้วง ไวโอลิน และบางชนิดให้เสียงต่ำ เช่น ซออู้ ดับเบิลเบส
เป็ นต้น
เสียงของเครื่องดนตรีประเภทกด เกิดขึน
้ มาจากการกดเพื่อให้เกิด
เสียง เครื่องดนตรีไทยประเภทกด เช่น เปี ยโน
เสียงสูงเป็ นเสียงที่มีความถี่มาก ส่วนเสียงต่ำจะเป็ นเสียงที่มีความถี่
น้อย สิ่งที่ทำให้เสียงแต่ละเสียงสูงต่ำแตกต่างกันนัน
้ ขึน
้ อยู่กับความเร็วใน
การสั่นสะเทือนของวัตถุ วัตถุที่สั่นเร็วเสียงจะสูงกว่าวัตถุที่สั่น และ
นอกจาก วัตถุที่มีความถี่ ในการสั่นสะเทือนมากกว่า จะมีเสียงที่สูงกว่า
แล้ว หากความถี่มากขึน
้ เท่าตัว ก็จะมีระดับ เสียงสูงขึน
้ เท่ากับ 1 ออก
เตฟ (octave) ภาษาไทยเรียกว่า 1 ช่วงคู่แปด เช่น โน้ตดนตรีไทย ด ร ม
ฟ ซ ล ท ด ร ม โน้ตที่ไม่มีจุดจะเป็ นเสียง ต่ำ และโน้ตที่มีจุดจะเป็ นเสียง
สูงเสียงของดนตรีเสียงดัง – เบา ถ้าเครื่องดนตรีชนิดนัน
้ ให้เสียงดังมากจะ
ทำให้ร้ส
ู ึกตื่นเต้น ถ้าให้เสียงเบาจะทำให้เกิดความรู้สึกสงบ เช่น ถ้าตี
กลองใบใหญ่มากๆ แล้วตีแรง ๆ เสียงก็จะดังมากทำให้ร้ส
ู ึกตื่นเต้น ถ้าลด
ระดับความแรงในการตี เสียงกลองก็จะเบาลง
การวางตัวโน้ตให้มีระดับเสียงต่างๆ ในบรรทัด ๕ เส้น
กุญแจซอล บรรทัด ๕ เส้น

เส้นน้ อย
หมายเหตุ 1 กุญแจซอล เป็ นเครื่องหมายที่กำหนดเสียงของตัวโน้ต
ในบรรทัด ๕ เส้น ให้อ่านออกเสียงเป็ น โด เร มี ฟา ซอล ลา ที มี
ตำแหน่งคงที่ โดยยึดเสียงซอลเป็ นหลัก ดังนัน
้ ตัวโน้ตทุกตัว ที่บันทึกคาบ
เส้นที่ ๒ จากล่างขึน
้ มา อ่านออกเสียงซอลทัง้ หมด ส่วนเสียงอื่นๆ
ก็ไล่เสียงขึน
้ -ลงตามระดับเสียง
๒ 2 บรรทัด ๕ เส้น เป็ นสัญลักษณ์ทางดนตรีที่ใช้บันทึกตัว
โน้ตต่างๆ ตามบทประพันธ์เพลง
3 เส้นน้อย เป็ นเส้นสัน
้ ๆ ที่ใช้ขีดใต้บรรทัด ๕ เส้น หรือ
เหนือบรรทัด ๕ เส้น เพื่อใช้บันทึกตัวโน้ต ที่มีระดับเสียงต่ำกว่า
หรือสูงกว่าบรรทัด ๕ เส้น

2.1 สัญลักษณ์แทนความยาวเสียง

ชื่อ สัญลักษณ์ อัตราจังหวะความยาวเสียง

1. ตัวกลม

2. ตัวขาว

3. ตัวดำ

4. ตัวเขบ็ต
หนึง่ ชัน

5. ตัวเขบ็ต
สองชัน ้
การใช้สัญลักษณ์ p ในโน้ตเพลงสากล

การใช้สัญลักษณ์ f ในโน้ตเพลงสากล

You might also like