You are on page 1of 2

ใบความรูวิชาดนตรีสากล รหัส ศ๓๒๑๐๒ เรื่อง คำอธิบายรายวิชา /จุดประสงคการเรียนรู ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ สอนโดยครูชอเพชร เทียมดวงแข

รายวิชาดนตรีสากล รหัส ศ๓๒๑๐๒


คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะหและจำแนกเครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีพื้นเมืองแตละประเภทเพื่อใหมีความรูความเขาใจลักษณะที่มา
หนาที่การบรรเลงดนตรีสากล การจัดรูปแบบประเภทวงดนตรีสากล หนาที่และโอกาสในการบรรเลงดนตรีสากล องคประกอบของดนตรีสากล
เพลงไทยสากล หลักการบันทึกและการอานโนต ทฤษฎีดนตรีสากล สัญลักษณและการกำหนดจังหวะ เขาใจหลักการฟงและการบรรเลงดนตรี
ขับรองหรือปฏิบัติดนตรีเดี่ยวหรือรวมวงตามหลักการและเทคนิคการขับรองและการบรรเลงดนตรี สรางสรรคงานดนตรี
อิทธิพลดนตรีกับประเพณีและวัฒนธรรม ยุคสมัยและวิวัฒนาการของดนตรีสากล บุคคลสำคัญและสรางสรรคผลงานดานดนตรี
โดยการใชกระบวนการปฏิบัติ การสืบเสาะหาความรู การวิเคราะห สังเคราะห สืบคนขอมูลเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ
แนวความคิดการแกปญหา การสังเกตและการตัดสินใจ และสามารถแสดงออกไดตามความตองการ
เห็นคุณคาของดนตรีที่เปนมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรม นำความรูดานดนตรีมาประยุกตหรือบูรณาการใชกับวิชาอื่น
ในชีวิตประจำวันและชุมชน สงเสริมและอนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ และนานาชาติ
รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น
อัตราสวนคะแนน ๘๐: ๒๐ ( คะแนนระหวางเรียน : คะแนนปลายภาคเรียน )
คะแนนวัดผลกอนกลางภาค : คะแนนวัดผลกลางภาค : คะแนนวัดผลหลังกลางภาค = ๓๐:๒๐:๓๐
กำหนดภาระชิ้นงาน
1. Sign Singing Reading Exercises / ใชประเมินคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค
2. ขับรองประสานเสียงบทพระราชนิพนธแสงเทียน / ใชประเมินคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค
3. การปฏิบัติดนตรี ( เปยโน/ขลุย ) / Final test
ตัวชี้วัด๑๓ ตัวชี้วัด
ศ ๒.๑
ม.๔-๖/๑. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท
ม.๔-๖/๒. จำแนกประเภทและรูปแบบของวงดนตรีทั้งไทยและสากล
ม.๔-๖/๓. อธิบายเหตุผลที่คนตางวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน
ม.๔-๖/๔. อานเขียนโนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆได
ม.๔-๖/๕.รองเพลงหรือเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพการแสดง
ม.๔-๖/๖.สรางเกณฑสำหรับประเมินคุณภาพการประพันธและการเลนดนตรีของตนเองและของผูอื่นไดอยางเหมาะสม
ม.๔-๖/๗.เปรียบเทียบอารมณและความรูสึกที่ไดรับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน
ม.๔-๖/๘.นำดนตรีไปประยุกตใชในงานอื่นๆ
ศ ๒.๒
ม.๔-๖/๑.วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและดนตรีสากลในยุคสมัยตางๆ
ม.๔-๖/๒.วิเคราะหสถานะทางสังคมของดนตรีในวัฒนธรรมตางๆ
ม.๔-๖/๓.เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรีในวัฒนธรรมตางๆ
ม.๔-๖/๔.อธิบายบทบาทของดนตรีในการสะทอนแนวความคิดและคานิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม
ม.๔-๖/๕.นำเสนอแนวทางในการสงเสริมและอนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ
ใบความรูวิชาดนตรีสากล รหัส ศ๓๒๑๐๒ เรื่อง คำอธิบายรายวิชา /จุดประสงคการเรียนรู ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ สอนโดยครูชอเพชร เทียมดวงแข

จุดประสงคการเรียนรู

๑. มีความรูความเขาใจ การถายทอดอารมณเพลงพระราชนิพนธดวยการรองและบรรเลงดนตรีสากล( K )
๒. ถายทอดอารมณเพลงดวยการขับรองบทเพลงพระราชนิพนธและบรรเลงดนตรีสากลได ( P )
๓. เห็นคุณคาและความสำคัญของการขับรองเพลงและการบรรเลงดนตรี (A )
๔. รูและเขาใจความหมายของเครื่องหมายกำหนดจังหวะ ( Time-signature ) เครื่องหมายกำหนด
บันไดเสียง ( Key- signature ) และสัญลักษณทางดนตรีไดอยางถูกตอง ( K )
๕. อาน เขียน โนตสากลตามเครื่องหมายและสัญลักษณทางดนตรีสากลได ( P )
๖. จำแนกประเภทและรูปแบบของวงดนตรีสากลไดถูกตอง ( K )
๗. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภทไดถูกตอง ( K )
๘. วิเคราะหรูปแบบเพลงและวงดนตรีสากลในแตละยุคสมัยได ( K )
๙. อภิปรายเปรียบเทียบความแตกตางระหวางรูปแบบบทเพลงวงดนตรีในแตละยุคสมัยได ( P )
๑๐. เห็นคุณคาและความสำคัญของการสรางสรรคผลงานดนตรีในแตละยุคสมัย ( A )
๑๑. มีความรูความเขาใจปจจัยในการสรางสรรคผลงานดนตรีในแตละวัฒนธรรม ( K )
๑๒. อธิบายเหตุผลที่คนตางวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีตางกันได ( P )
๑๓. วิเคราะหสถานะทางสังคมของคีตกวีของโลกได ( K )
๑๔. อภิปรายประวัติ ผลงาน และสถานะทางสังคมของคีตกวีของโลกและศิลปนนักรองที่สนใจได ( P )
๑๕. รูและเขาใจการสรางเกณฑการประเมินคุณภาพการประพันธและการแสดงดนตรีของตนเองและ ผูอื่น ( K )
๑๖. รูและเขาใจการประยุกตใชดนตรีในชีวิตประจำวัน ( K )
๑๗. เห็นคุณคาและความสำคัญของการประยุกตใชดนตรีกับชีวิตประจำวัน ( A )
๑๘. นำเสนอการปฏิบัติดนตรีสากล ( Keyboard ) ไดอยางมีคุณภาพ ( P )
๑๙. รูและเขาใจแนวทางและวิธีการในการสงเสริมอนุรักษดนตรีสากล( K )

You might also like