You are on page 1of 8

Electrical & Electronics

Technology

อุปกรณ์ป้องกัน
ผศ. ชูศักดิ์ พฤกษพิทักษ์


ระบบไฟฟ้า
ก่ อนตัดสินใจซื้ออุปกรณ์ป้องกันไฟรั่วมาใช้
ต้องเข้าใจถึงการทำงานและต้องพิจารณา
ถึงข้อดีและข้อเสียของแต่ละชนิด เพื่อประโยชน์ใน
การใช้งาน

อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด ถ้าทำการติดตั้งไม่
ถูกวิธีแล้ว ก็สามารถทำให้เกิดอันตรายได้ โดย
เฉพาะ อุปกรณ์ป้องกันหลัก ซึ่งได้แก่ ฟิวส์และ
เซอร์กิตเบรกเกอร์ ส่วนสายไฟฟ้าถึงแม้จะไม่ใช่
อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น แต่ ก็ เ ป็ น ส่ ว นสำคั ญ ในระบบ ขนาดฟิวส์ (A) สีของฟิวส์
ไฟฟ้าด้วยเช่นกัน การเลือกใช้สายไฟฟ้าผิดขนาด 6 เขียว
หรือผิดชนิดก็สามารถนำมาซึ่งการเกิดอัคคีภัยได้ 10 แดง
16 เทา
ฟิวส์ (fuse) 20 ฟ้า
เป็นอุปกรณ์ที่ มีหน้าที่ป้องกันกระแสไฟฟ้า 25 เหลือง
เกิน ซึ่งอาจเกิดจากการใช้โหลดเกินขนาดของฟิวส์
หรื อ เกิ ด จากอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ชำรุ ด หรื อ เกิ ด จาก
กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งถ้าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว
แล้ว ฟิวส์ไม่ตัดวงจร ก็สามารถทำให้เกิดอันตราย
แก่บุคคลหรือทรัพย์สินได้
ด้านไฟออก ลูกฟิวส์
การทำงานของฟิวส์ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหล ฐานฟิวส์
ฝาครอบฐานฟิวส์

เกินกำหนด จะทำให้ลวดฟิวส์ซึ่งทำด้วยตะกั่วร้อน ช่องมองฟิวส์

จนหลอมละลายและขาดในที่สุด จึงทำให้วงจร อะแดปเตอร์

ไฟฟ้านั้นถูกตัดออก ดังนั้น การเลือกใช้ฟิวส์จึงเป็น ฝาครอบลูกฟิวส์


สิ่งสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการเลือกชนิดของฟิวส์ การ ด้านไฟเข้า

เลือกขนาด และวิธีการติดตั้ง รูปที่ 1 ตัวฟิวส์และโครงสร้าง


สำหรับอาคารบ้านเรือนโดยทั่วไป จะใช้ฟิวส์
ชนิ ด ที่ เ ป็ น กระเบื้ อ งหรื อ ฟิ ว ส์ ก ระปุ ก (cartridge ตัวฐานฟิวส์หรือกระปุกฟิวส์นั้นเป็นขนาดเกลียว E 27 ใช้
fuse) ดังรูปที่ 1 หรืออาจเรียก Diazed fuse ก็ได้ เป็นฟิวส์ควบคุมวงจรย่อย ฐานฟิวส์รุ่นนี้จะใส่ฟิวส์ได้ 5 ขนาด คือ

102 Technology Promotion Mag.


Electrical & Electronics Technology

ขนาดฟิวส์ (A) สีของฟิวส์ ฟิวส์ชนิดขาดช้า จะนำมาใช้กับโหลดที่


6 เขียว มีกระแสช่วงสตาร์ทสูง เช่น มอเตอร์ ซึ่งมอเตอร์นั้น
10 แดง ขณะสตาร์ทกระแสจะสูงประมาณ 5-7 เท่าของ
16 เทา
กระแสของกระแสปกติ (rated current) ถ้าใช้ฟิวส์
20 ฟ้า
ธรรมดา ฟิวส์จะขาดทันที ไม่สามารถใช้งานได้
25 เหลือง
ลักษณะของฟิวส์ชนิดนี้คือ มีเครื่องหมายคล้ายกับ
หมายเหตุ สีของฟิวส์จะทำเครื่องหมายไว้ที่แผ่นโลหะด้านหัวฟิวส์ ดังรูปที่ 2 ซึ่ง ตัวหอยโข่งกำกับอยู่ด้านข้าง (ดังรูปที่ 3)
สามารถมองดูจากช่องมองฟิวส์ได้ ซึง่ มีประโยชน์ 2 อย่าง คือ บอกขนาดฟิวส์และ
บอกถึงสภาพของฟิวส์ทเี่ ป็นปกติ แต่ถา้ ฟิวส์ ขาดแผ่นโลหะสีนจี้ ะหลุดออกมา
สีบอกขนาดฟิวส์



รูปที่ 3 เครื่องหมายแสดงฟิวส์ขาดช้า

การเข้าสายไฟที่ฟิวส์ จะต้องนำสายเส้นไฟ
(สีดำ) เข้าทางขั้วด้านล่าง ซึ่งเป็นจุดเดียวกับอะแดป-
เตอร์ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย (ดังรูปที่ 4)
รูปที่ 2 แผ่นสีบอกขนาดและสภาพของฟิวส์ และที่จุดไฟออกก็จะต่อไปยังโหลด แต้ถ้าเข้าสาย
สลับกัน คือ นำสายไฟเข้าที่จุดไฟออก จะทำให้ที่
ส่วนขนาดที่โตขึ้นมา คือ ขนาดเกลียว E 33 ใช้กับฟิวส์ เกลี ย วโลหะด้ า นบนมี ไ ฟด้ ว ย และถ้ า เผลอไป
ขนาด 35 A, 50 A และ 63 A ใช้เป็นฟิวส์เมนควบคุมวงจรย่อย สัมผัสก็มีโอกาสถูกไฟดูดได้ ถึงแม้ไม่ใส่ฟิวส์ก็ตาม
ทั้งหมด
จุดไฟเข้า จุดไฟออก
การเลือกใช้ขนาดฟิวส์วงจรย่อย จะต้องคำนวณขนาด
ของอุปกรณ์ไฟฟ้าของแต่ละวงจรย่อยนั้น ๆ ตามปกติจะเผื่อไว้ที่
1.25 เท่าของขนาดกระแสที่คำนวณได้
การเลือกใช้ขนาดฟิวส์วงจรหลัก ต้องดูขนาดของมิเตอร์
ไฟฟ้า (Kilowatt-hour; kwh.) ที่หน้าบ้านว่าใช้ขนาดเท่าใด เช่น
ขนาด 5 (15) A, 10 (30)A, 15 (45) A ตัวเลขในวงเล็บ หมายถึง
กระแสสูงสุดที่มิเตอร์รับได้ แต่เป็นเพียงชั่วขณะเท่านั้นไม่ใช่
ตลอดเวลา ดังนั้น ขนาดของฟิวส์ต้องไม่โตเกินขนาดกระแสของ
มิเตอร์ที่อยู่ในวงเล็บ นอกจากการเลือกขนาดของฟิวส์แล้ว จะ รูปที่ 4 จุดเข้าสายหลัก
ต้องเลือกชนิดของฟิวส์ด้วย ซึ่งมีด้วยกัน 2 ชนิดคือ ชนิดธรรมดา
และชนิดขาดช้า ซึ่งมีวิธีเลือกใช้ดังนี้ การเปลี่ยนฟิวส์จะต้องนำลูกฟิวส์ใส่กับฝา
● ฟิวส์ชนิดธรรมดา จะใช้ภายในบ้านเรือนทั่วไป หาซื้อ ครอบฟิวส์ก่อน (ดังรูปที่ 5) แล้วจึงหมุนเข้ากับฐาน
ได้ง่าย ฟิวส์ มิเช่นนั้นอาจเกิดอันตรายได้ เนื่องจากกระแส

April-May 2008, No.198 103


Technology Electrical & Electronics

ไฟฟ้าจะไหลผ่านฟิวส์มาที่มือได้ อะแดปเตอร์ (adapter)


เมื่อตัดสินใจเปลี่ยนขนาดลูกฟิวส์ จะต้องเปลี่ยนอะแดป-
เตอร์ด้วย ซึ่งอยู่ที่ฐานฟิวส์ ซึ่งอะแดปเตอร์จะมีขนาดพอดีกับ
ฟิวส์แต่ละขนาด (ดังรูปที่ 6) การเปลี่ยนอะแดปเตอร์นั้นจะต้อง
ทำโดยผู้มีประสบการณ์เท่านั้น
อะแดปเตอร์

ขนาดลูกฟิวส์ 16 A


ขนาดอะแดปเตอร์ 10 A

รูปที่ 6 อะแดปเตอร์

หน้ า ที่ ข องอะแดปเตอร์ ก็ คื อ ป้ อ งกั น การใส่ ฟิ ว ส์ เ กิ น
ขนาด เพราะการใส่ฟิวส์เกินขนาดทำให้ฟิวส์ไม่ขาดซึ่งอาจเป็น
รูปที่ 5 แสดงการใส่ฟิวส์ที่ถูกต้อง อันตรายได้ จากรูปที่ 6 แสดงให้เห็นว่าลูกฟิวส์ขนาด 16 A ไม่
สามารถใส่ลงอะแดปเตอร์ได้ เพราะอะแดปเตอร์ขนาด 10 A
ในกรณีที่จะต้องเปลี่ยนขนาดลูกฟิวส์ จะ ขนาดความโตของรูจะเล็กกว่า
ต้องตรวจดูก่อนว่าฟิวส์ขาดเพราะสาเหตุใด เช่น ในปัจจุบันบางบริษัทผู้ผลิตฐานฟิวส์ ผลิตฐานฟิวส์ชนิด
ถ้าลัดวงจร ก็ให้แก้ไขให้เป็นปกติเสียก่อน หรือถ้า ไม่ต้องใช้อะแดปเตอร์ ซึ่งเป็นอันตรายมากเนื่องจากสามารถ
มีโหลดมากเกินกำหนด จะต้องดูว่า ถ้าเปลี่ยนฟิวส์ เปลี่ยนขนาดลูกฟิวส์ได้หลายขนาด โดยไม่ต้องเปลี่ยนอะแดปเตอร์
ขนาดใหญ่ขึ้นแล้ว สายไฟจะทนกระแสได้หรือไม่ ดังนั้นก่อนที่จะซื้อฟิวส์มาใช้ ต้องดูด้วยว่าเป็นชนิดมีอะแดปเตอร์
ซึ่งอาจต้องถามผู้เชี่ยวชาญหรือหาตารางสายไฟ หรือไม่ ถึงแม้ว่าราคาจะถูกกว่าชนิดมีอะแดปเตอร์ ก็ไม่ควรนำมา
มาศึกษา (ตารางสายไฟดูได้จากบริษัทของผู้ผลิต ใช้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว
เช่น บางกอกเคเบิล หรือยาซากิ)
เซอร์กิตเบรกเกอร์ (circuit breaker)
เป็นอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินหรือลัดวงจรเช่นเดียวกับ
ฟิวส์ แต่ต่างกันที่เมื่อตัดวงจรแล้ว สามารถกดหรือโยกให้ต่อ
วงจรได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนเหมือนกับฟิวส์ ดังนั้นจึงสามารถนำมา
แทนฟิวส์ได้ซึ่งทำให้เกิดความสะดวก แต่ราคาแพงกว่า แต่ถ้า
เป็นจุดที่สายเมนเข้า การไฟฟ้ากำหนดให้ต้องมีฟิวส์ใช้ร่วมกับ
เซอร์กิตเบรกเกอร์ ดังรูปที่ 7 และรูปที่ 8
การทำงานของเซอร์กิตเบรกเกอร์ เมื่อกระแสในวงจรเกิน
พิกัด หน้าสัมผัสของเซอร์กิตเบรกเกอร์จะเปิดวงจร โดยอาศัยทั้ง
ความร้อนและการเหนี่ยวนำของเส้นแรงแม่เหล็กช่วยในการ
ปลดกลไกหน้าสัมผัสให้เปิดวงจร

104 Technology Promotion Mag.


Electrical & Electronics Technology

การเข้าสายที่เซอร์กิตเบรกเกอร์ ให้สังเกต สำหรั บ บ้ า นพั ก อาศั ย ทั่ ว ไป อาจพิ จ ารณาเพี ย งขนาด


จุดเข้าสาย จะมีอักษร L ซึ่งเป็นจุดเข้าสายเส้นไฟ กระแสที่ใช้งานเท่านั้น โดยคำนวณเช่นเดียวกับขนาดของฟิวส์
(ให้ใช้สีดำ) และ N เป็นจุดเข้าสายศูนย์ (ให้ใช้เส้น แต่ต้องดูตามมาตรฐานที่ผลิต เช่นขนาด 5 A, 10 A, 15 A, 20
สีเทา) ส่วนด้านไฟออกก็ให้ใช้สีตรงกัน A, 30 A, 40 A, 50 A

จุดเข้าเส้นไฟ จุดเข้าเส้นศูนย์
คอนซูมเมอร์ (consumer) หรือ
โหลดเซ็นเตอร์ (load centre)
คอนซูมเมอร์ มีหน้าที่แบ่งวงจรไฟฟ้าเป็นวงจรย่อย เช่น
วงจรแสงสว่าง วงจรเต้ารับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและ
สะดวกในการตรวจซ่อมวงจร ในตู้คอนซูมเมอร์ ประกอบด้วย
เซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็นตัวเมน 1 ตัว และเซอร์กิตเบรกเกอร์ของ
วงจรย่อยอีกหลายตัว ตามจำนวนวงจรย่อย (ดังรูปที่ 9 ) ซึ่งตัว
(ก) ชนิด 1 เฟส กล่องทำด้วยโลหะและมีจุดต่อสายดิน
เบรคเกอร์ย่อย จุดต่อสายดิน เบรคเกอร์หลัก





รูปที่ 9 คอนซูมเมอร์
(ข) ชนิด 3 เฟส
รูปที่ 7 เซอร์กิตเบรกเกอร์ การนำตู้ ค อนซู ม เมอร์ ม าใช้ ง าน จะต้ อ งต่ อ ออกจาก
เอาต์พุตของฟิวส์เมนและเซอร์กิตเบรกเกอร์เมน เพื่อให้ถูกต้อง
ตามข้อบังคับของการไฟฟ้า ดังรูปที่ 10






รูปที่ 8 ฟิวส์เมนและเซอร์กิตเบรกเกอร์

การเลือกใช้ขนาดของเซอร์กิตเบรกเกอร์ มี
สิ่งที่ต้องนำมาพิจารณาคือ ขนาด กระแสที่ใช้งาน
(AT) ขนาดการทนกระแสของเปลื อ กหุ้ ม (AF) รูปที่ 10 ตู้เมนและตู้คอนซูมเมอร์
และขนาดการทนกระแสลัดวงจร (IC)

April-May 2008, No.198 105


Technology Electrical & Electronics

โหลดเซ็นเตอร์ ทำหน้าที่เดียวกับคอนซูม 2.5 ตร.มม. สายย่อยของดวงโคมให้ใช้ขนาดสาย 1.0 ตร.มม.


เมอร์ แต่มีจำนวนเซอร์กิตเบรกเกอร์มากกว่า ซึ่งมี ส่วนสายเมนเข้าบ้านต้องเป็นไปตามขนาดของมิเตอร์ไฟฟ้า โดย
ทั้ง 1 เฟส และ 3 เฟส ส่วนใหญ่จึงนำมาใช้ในโรงงาน การไฟฟ้าจะเป็นผู้กำหนด
อุตสาหกรรม การกำหนดสีของสายไฟ จะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
คือ ถ้าเป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส กำหนดให้สีดำ เป็นเส้นไฟ (line)
สายไฟฟ้า สีเทาเป็นเส้นศูนย์ (neutral) และสีเขียวเป็นสายดิน และถ้าเป็น
สายไฟฟ้ า มี ห ลายชนิ ด เช่ น VAF, VFF, ระบบไฟฟ้า 3 เฟส กำหนดให้ สีฟ้า สีแดง สีดำ เป็นเส้นไฟ สีเทา
VCT, NYY, THW สำหรับในอาคารบ้านเรือนทั่วไป เป็นเส้นศูนย์ และสีเขียวหรือสีเหลืองเป็นสายดิน
จะนิยมใช้สายไฟฟ้า 2 ชนิด คือ
1. สาย VAF เป็นสายไฟที่เดินเกาะไปตาม การเข้าสายไฟและการต่อสายไฟ
ผนังโดยใช้เข็มขัดรัดสาย การเข้ า สายไฟและการต่ อ สายไฟ ก็ เ ป็ น อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่
2. สาย THW เป็นสายไฟที่ใช้เดินร้อยใน สำคัญ ถ้าทำไม่ถูกต้องจะเกิดอันตรายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน เช่น
ท่อหรือยึดโยงด้วยฉนวนลูกถ้วย การเข้าสายหรือต่อสายไม่แน่นก็จะเกิดความร้อนหรือเกิดการ
อาร์ก ซึ่งสามารถทำให้เกิดไฟไหม้ได้
การเข้าสาย ส่วนใหญ่หมายถึงการเข้าสายที่อุปกรณ์
ไฟฟ้า เช่น ที่สวิตช์ ที่ขั้วหลอด ที่ฟิวส์หรือที่เซอร์กิตเบรกเกอร์
เป็นต้น ซึ่งมี วิธีการเข้าสาย 2 วิธี คือ
1. การเข้ า สายด้ ว ยการม้ ว นสาย เช่ น ที่ ฟิ ว ส์ ห รื อ ขั้ ว
หลอดไฟชนิดหลอดไส้ (incandescent lamp) สังเกตจากจุดเข้า
สายใช้สกรูหัวโตและไม่มีรูเสียบสาย การเข้าสายด้วยวิธีนี้จะ
ต้องม้วนสายให้กลม ตามทิศทางการขันสกรู (ส่วนใหญ่หมุนตาม
(ก) สายชนิด VAF เข็มนาฬิกา) เพื่อไม่ให้สายคลายออกขณะขันสกรู ดังรูปที่ 12







(ข) สายชนิด THW

รูปที่ 11 สายไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านพักอาศัยทั่วไป

การนำสายไฟมาใช้งาน จะต้องทำตามข้อ
บังคับของการไฟฟ้า เช่น ขนาดสายของวงจรย่อย
ของเต้ารับหรือของวงจรแสงสว่างให้ใช้สายขนาด

106 Technology Promotion Mag.


Electrical & Electronics Technology

แต่ทั้ง 2 วิธีการนั้นต้องขันสกรูให้แน่นพอ
ประมาณ อย่าแน่นเกินไป อาจทำให้สกรูเกลียวล้ม
(เกลียวหวาน) ซึ่งไม่สามารถใช้งานได้ นอกจากนั้น
ยังมีวิธีการต่อสายไฟเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
หลายวิธี ดังรูปที่ 15

รูปที่ 12 ตัวอย่างการเข้าสายที่ฟิวส์ 1
2
แต่ถ้าเป็นสายขนาดใหญ่ ไม่ควรม้วนสาย แต่ควรใช้
หางปลา เพราะหางปลาจะทำให้หน้าสัมผัสแน่นไม่เกิดความ 3
ร้อนที่จุดต่อสาย
4

5

6


รูปที่ 15 การต่อสายแบบต่าง ๆ

รูปที่ 13 ตัวอย่างการเข้าสายด้วยหางปลา โดยที่
แบบที่ 1 เป็นการต่อสาย THW ชนิดตี-
2. การเข้าสายด้วยการเสียบสาย อุปกรณ์ที่ต้องเข้าสาย เกลียว ซึ่งเรียกการต่อแบบนี้ว่าเป็นการต่อแบบ
ด้วยวิธีนี้ได้แก่ สวิตช์ เต้ารับ เซอร์กิตเบรกเกอร์ วิธีการเข้าสายที่ จำปา การต่อสายด้วยวิธีนี้ สามารถรับแรงดึงใน
ปลอดภัยจะต้องปอกฉนวนสายไฟให้พอดี (ดังรูปที่ 14) เพราะ สายได้มาก จึงเหมาะกับงานยึดโยงสายในอากาศ
ถ้าปอกยาวเกินไป โอกาสที่สายทองแดงจะลัดวงจรกับสายเส้น แต่ห้ามต่อสายในท่อโดยเด็ดขาด เนื่องจากถ้าเทป
อื่นได้ง่ายและจะเกิดอันตราย การเข้าสายที่สวิตช์ต้องตัตต่อที่ ฉนวนที่พันจุดต่อชำรุด อาจลัดวงจรกับเส้นอื่นได้
เส้นไฟ (เพื่อให้ปลอดภัยและง่ายในการตรวจซ่อม) และควรใช้ แบบที่ 2, 3 เป็นการต่อแบบแยกสาย เพื่อ
สายฉนวนสีดำ ใช้ในการแยกวงจร
ปอกฉนวนมากเกินไป อันตราย แบบที่ 4 เป็นการม้วนสายใส่กรู
แบบที่ 5 เป็นการต่อแบบหางเปีย นิยมใช้
การต่อแบบนี้ในกล่องพักสาย ที่ไม่ต้องรับแรงดึง
ในสาย
แบบที่ 6 เป็นการต่อสายแบบเกี่ยวก้อย
การต่อวิธีนี้สามารถรับแรงดึงในสายได้ เช่น เดียว
กับแบบที่ 1 และจะสังเกตว่าจุดต่อสายทั้งสองเส้น
ปอกฉนวนพอดี ปลอดภัย ไม่ตรงกัน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการลัดวงจรถ้าหากว่า
รูปที่ 14 การเข้าสายเพื่อให้เกิดความปลอดภั
ย เทปฉนวนที่พันจุดต่อชำรุด

April-May 2008, No.198 107


Technology Electrical & Electronics






สายดิน



รูปที่ 17 การต่อสายดินของเครื่องใช้ไฟฟ้า

หลักดิน (ground rod)
หลักดิน ทำด้วยแท่งเหล็กชุบหรือหุ้มด้วยทองแดง ความ
โตไม่น้อยกว่า 5/8 นิ้ว ยาวไม่น้อยกว่า 240 เซนติเมตร ปลาย
การต่อสายดิน ด้านหนึ่งแหลม การตอกลงไปในดินต้องตอกให้จุดที่แคล้มกับ
การต่ อ สายดิ น หมายถึง การต่อสายไฟ สายดินฝังลึกลงไปในดินประมาณ 30 เซนติเมตร (ดังรูปที่ 18)
จากตั ว ถั ง หรื อ ตั ว โครงของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่ เ ป็ น และบริเวณที่ตอกหลักดิน ควรเป็นบริเวณที่มีความชื้นของดินสูง
โลหะลงไปยังหลักดิน (ground rod) สายดินนี้ เพื่อให้กระแสที่รั่วไหลลงดินได้สมบูรณ์และไม่เกิดอันตรายแก่

มีหน้าที่นำกระแสไฟฟ้าที่รั่วจากอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ ผู้ใช้งาน
ชำรุดลงสู่ดิน ทำให้ผู้ที่ไปสัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ ระดับพื้นดิน
สายดิน
ชำรุด เหล่ านั้นไม่ เป็ นอั นตราย และในปั จ จุ บั นนี้
เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนมากจะติดตั้งสายดินมาแล้ว 30 เซนติเมตร
โดยใช้ปลั๊กชนิดมีสายดิน ดังนั้นเต้ารับก็จะต้องเป็น
ชนิดมีสายดินด้วย ดังตัวอย่างในรูปที่ 16 แท่งหลักดิน
240 เซนติเมตร



รูปที่ 18 การฝังหลักดิน

จุดต่อสายดิ

การตรวจสอบการเป็นสายดินที่ปลอดภัย สามารถตรวจ-
รูปที่ 16 ปลั๊กแบบมีสายดิน สอบได้โดยการใช้โอห์มมิเตอร์วัดระหว่างสายดินที่ติดตั้งกับสาย
ศูนย์ ซึ่งค่าความต้านทานที่อ่านได้ไม่ควรเกิน 5 โอห์ม
แต่ ถ้ า ปลั๊ ก เป็ น แบบไม่ มี ส ายดิ น และตั ว
โครงของอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นโลหะ เช่น เครื่องซักผ้า อุปกรณ์ปอ้ งกันไฟรัว่ (E art Leakage)
เครื่องทำน้ำอุ่น สว่านไฟฟ้า ฯ ต้องต่อสายดินจาก อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น ไฟรั่ ว หรื อ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น ไฟดู ด ทำ
ตัวถังของอุปกรณ์ไฟฟ้านั้นลงดิน โดยใช้สายไฟชนิด หน้าที่ตัดวงจรไฟฟ้า เช่นเดียวกับเซอร์กิตเบรกเกอร์ แต่มีวงจร
ตัวนำเป็นทองแดงขนาดไม่น้อยกว่า 1.5 ตร.มม.
การตรวจจับกระแสรั่วไหลเพิ่มเข้ามา ทำให้สามารถตรวจจับ
ดังรูปที่ 17 กระแสที่รั่วไหลผิดปกติได้

108 Technology Promotion Mag.
Electrical & Electronics Technology

หลักการทำงานคร่าว ๆ เป็นดังนี้ โดยปกติกระแสที่ไหล กว่าแบบแรก ไม่เหมาะที่จะใช้ควบคุมวงจรย่อย


ในเครื่องใช้ไฟฟ้าจะเท่ากันทั้ง 2 เส้น (เส้นไฟกับเส้นศูนย์) แต่ถ้า และผลเสียของชนิดนี้ก็คือ ถ้าตัดวงจรไฟในบ้าน
ไม่เท่ากัน วงจรตรวจจับกระแสรั่วไหลก็จะทำงานปลดกลไกหน้า จะดับทั้งหมด
สัมผัสให้เปิดวงจร นั่นหมายความว่ามีกระแสรั่วไหลเกิดขึ้นแล้ว อย่ า งไรก็ ต ามก่ อ นตั ด สิ น ใจซื้ อ อุ ป กรณ์
ซึ่งกระแสรั่วไหลนี้อาจรั่วลงดินโดยตรงหรือผ่านร่างกาย ซึ่งทั้ง 2 ป้องกันไฟรั่วมาใช้ ต้องเข้าใจถึงการทำงานและ
กรณีนั้นอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่วจะตัดวงจรก็ต่อเมื่อความแตกต่าง ต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง ข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย ของแต่ ล ะชนิ ด
ของกระแสในสายทั้งสองอยู่ในปริมาณที่ตั้งไว้ ในวงจรตรวจจับ เพื่อเป็นประโยชน์ในการใช้งาน เมื่อติดตั้งอุปกรณ์
กระแส ป้ อ งกั น ไฟรั่ ว แล้ ว ก็ ค วรทำตามคำแนะนำของ
อุปกรณ์ป้องกันไฟรั่ว ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ชนิดปรับค่า บริษัทผู้ผลิต เช่น ทดสอบการทำงานเดือนละครั้ง
กระแสรั่วไหลไม่ได้ และชนิดปรับค่ากระแสรั่วไหลได้ และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ที่มีสายดินอยู่แล้วก็ยัง
1. ชนิดปรับค่ากระแสรั่วไหลไม่ได้ ส่วนใหญ่วงจรจะตั้ง คงมีสายดินได้เช่นเดิม
ให้ตัดกระแสรั่วไหลที่ 30 mA งานที่ใช้จะเหมาะสำหรับงาน หมายเหตุ
เฉพาะจุด เช่นบ้านหลังหนึ่งอาจใช้หลายตัวได้ เนื่องจากราคาไม่ 1. กระแสรั่วไหลผ่านร่างกายถ้าไม่เกิน 30 mA
สูงมาก และเป็นผลดีที่ตัดวงจรเฉพาะส่วนที่มีปัญหาเท่านั้น ร่างกายจะไม่เป็นอันตราย ดังนั้นอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่วของ
2. ชนิดปรับค่ากระแสรั่วไหลได้ สามารถตั้งให้วงจรตัด ทุกบริษัทผู้ผลิต จึงออกแบบให้ตัดกระแสรั่วไหลที่ไม่เกิน
กระแสรั่วไหลได้หลายระดับ เช่น 5, 10, 15, 20, 25, 30 mA 30 mA
ปกติควรตั้งไว้ที่ค่าต่ำ ๆ เช่น 5 mA แต่ถ้าอุปกรณ์ตัดวงจรแสดง 2. เครื่องไฟฟ้าบางชนิดจะมีเครื่องป้องกันไฟรั่ว
ว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น ก็ให้ปรับไปที่ค่าสูงขึ้น แต่ถ้ายังตัดวงจร ติ ด ตั้ ง มาด้ ว ย เช่ น เครื่ อ งทำน้ ำ อุ่ น โดยใช้ ชื่ อ เรี ย กว่ า
อีก ก็ให้ปรับไปยังตำแหน่ง Direct ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ไม่ผ่านวงจร ELCB ซึ่งหมายถึง Eart Leakage Circuit Breaker
ตรวจจับกระแสรั่วไหล ซึ่งขณะนี้จะทำงานเสมือนสภาพของเซอร์
กิตเบรกเกอร์ธรรมดา ดังนั้นจึงต้องตรวจสอบหาจุดชำรุดและ เอกสารอ้างอิง
แก้ไขให้อยู่ในสภาพปกติ เพื่อให้กลับมาใช้อุปกรณ์ตัวนี้ทำงาน [1] การไฟฟ้านครหลวง. เอกสารเผยแพร่.
ป้องกันไฟรั่วได้ดังเดิม งานที่ใช้เหมาะสำหรับควบคุมวงจรหลัก [2] การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. เอกสารเผยแพร่.
ในอาคารที่อยู่อาศัย เช่น บ้าน 1 หลังใช้ 1 ตัว เนื่องจากราคาสูง [3] สมาคมวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย.

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ.
2545. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ. 2548.
[4] Fachkunde Elektrotechnik

April-May 2008, No.198 109

You might also like