You are on page 1of 8

วงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดี โดยวงจรซิกมา-เดลตา และเดลตามอดูเลชั่นอยางงาย

A Class-D Audio Power Amplifier by the simple sigma-delta and delta modulation circuit
วรพล เอี่ยมศิริ 1 ปานวิทย ธุวะนุติ 1 สุรพล บุญจันทร 1 จีรสุดา โกษียาภรณ และ ปราโมทย วาดเขียน 1
Voraphon Eamsiri 1,Panwit Tuwanut 1,Surapol Boonjun 1,Jeerasuda Koseeyaporn 1and Paramote Wardkein 1
บทคัดยอ
บทความนี้ไดนําเสนอวงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดี ซึ่งอาศัยการมอดูเลตสัญญาณเสียงแบบ
ซิกมา-เดลตา และเดลตามอดูเลชั่นอยางงายภายในวงจรเดียวกัน โดยวงจรขยายกําลังงานเสียงจะมีการทํางาน
แบบออสซิเลตดวยตนเอง (Self-Oscillation) ซึ่งทําใหวงจรใชอปุ กรณนอย และเกิดความตานทานตอความ
เสียหายของวงจร อีกทั้งยังสามารถปรับความถี่ในการชักคาสัญญาณ (Sampling) ไดดวยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส และยังปรับลดผลของอุณหภูมิที่มีผลตอการทํางานของวงจรอีกดวย
นอกจากนี้รูปแบบในการมอดูเลตสัญญาณเสียงสามารถเลือกใหเปนไดทั้งแบบซิกมา-เดลตา หรือแบบ
เดลตามอดูเลชั่น โดยสําหรับการมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตานั้นจะมีคุณสมบัติในการปรับชวงกําลังงานของ
สัญญาณรบกวนใหไปอยูใ นชวงความถี่สูง จึงสามารถลดสัญญาณรบกวนในชวงการขยายกําลังงานเสียงได
คุณภาพของเสียงที่ผานการขยายจึงดีขึ้น ผลการทดลองจริงที่ไดสอดคลองกับผลการเลียนแบบในคอมพิวเตอร
ซึ่งสามารถยืนยันการทํางานของวงจรที่นําเสนอทั้งทางทฤษฎี และทางปฎิบัติไดเปนอยางดี
คําสําคัญ : วงจรขยายกําลังงงานเสียงคลาสดี, ออสซิเลตดวยตนเอง, ซิกมา-เดลตามอดูเลชั่น, เดลตามอดูเลชั่น

ABSTRACT
This article presents a Class-D audio power amplifier that uses a simple Sigma-Delta and
Delta modulation circuit in its modulation part. This audio power amplifier is functioned which is based
on a Self-Oscillation scheme resulting in a compact and robust circuit. Besides, the sampling
frequency of the circuit can be adjusted by electronic method. In addition, effect of temperature has
been reduced.
Furthermore, the modulation technique can be chosen to be either Sigma-Delta or Delta
modulation. For Sigma-Delta modulation, it has Noise-Shaping property where noise power in signal
band is reduced. It thus results in good quality of amplified output signal. The experimental results
agree well with computer simulation results confirm which the propose circuit operation in both
theoretical and practical.
Key Words: Class D Audio Power Amplifier, Self Oscillation, Sigma-Delta Modulation, Delta Modulation
Email address: voraphon@telecom.kmitl.ac.th

1
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบัง
กรุงเทพมหานคร 10520
Department of Telecommunication, Faculty of Engineer, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang,
Ladkrabang, Bangkok 10520
1. คํานํา
วงจรขยายกําลังงานเสียงเปนวงจรที่มีการใชงานกันมาก และมีหลากหลายประเภท เชน เครื่องขยาย
เสียงกลางแจง ภายในรถยนต หรือชุดเครื่องเสียงภายในบาน ดังนั้นจึงมีการแขงขันระหวางผูผลิตวงจรและ
วงจรรวม เพื่อพัฒนาเทคนิคในการขยายกําลังงานเสียง ใหมีประสิทธิภาพสูง คุณภาพเสียงดี และราคาถูก โดย
วงจรขยายกําลังงานเสียงไดแบงประเภทตามเทคนิคในการขยายเสียงเปนคลาส เชน Class-A, Class-AB,
Class-C, Class-D, Class-E, Class-S [2] เปนตน ซึ่งเทคนิคตางๆ ก็เหมาะสมกับงานตางประเภทกัน
ในปจจุบันเครื่องเสียงที่ใชเทคนิคการขยายเสียงคลาสดี มีการใชงานกันอยางกวางขวาง อันเนื่องมาจาก
ขอดีตางๆ เชน มีการใชกระแสจากแหลงจายนอย จึงออกแบบแหลงจายงาย, ความรอนที่เกิดขึ้นมีคาต่ําจึง
ตองการ Heat Sink ขนาดเล็ก ราคาถูก, มีประสิทธิภาพสูง โดยการขยายกําลังงานเสียงคลาสดีมีหลักการทํางาน
ตามรูปที่ 1 Clock Variable
(Fs) Voltage

a b c
Audio Modulator Power
LPF
Signal ( Audio Frq. In Band ) Switch
Digital
Signal

รูปที่ 1 การขยายกําลังงานเสียงคลาสดี
ซึ่งสัญญาณเสียงจะผานมอดูเลเตอร เพื่อแปลงเสียงใหเปนสัญญาณดิจิตอล ที่จุด a โดยสัญญาณ
ดิจิตอลที่ได จะตองยังคงมีองคประกอบทางความถีข่ องสัญญาณเสียงอยูดวย หลังจากนั้นจะนําสัญญาณ
ดิจิตอลไปขยายกําลังโดยใชควบคุมทรานซิสเตอรแบบเฟต (FET) และเมื่อนําไปผานวงจรกรองความถี่ต่ําผาน
(Low Pass Filter : LPF) ก็จะไดสัญญาณเสียงที่มีกําลังงานเพิ่มขึ้นกลับคืนมาที่จุด c และนําไปเขาลําโพงตอไป
ซึ่งมอดูเลเตอรที่ใชกับคลาสดี เริ่มแรกจะใช Pulse Width Modulation (PWM) [3] ตอมาก็มีการพัฒนา
ใชซิกมา-เดลตาในการมอดูเลต เนื่องจากการมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตา ใหผลลัพธเปนสัญญาณดิจิตอลที่มี
องคประกอบทางความถี่ของเสียงเชนเดียวกับการมอดูเลตแบบPWMและยังมีขอดีในเรื่องการทํา Oversampling
Noise Shaping [4] ตามรูปที่ 2 ซึ่งจะชวยปรับชวงกําลังงานของสัญญาณรบกวน เชน สัญญาณรบกวนจาก
การควอนไทซ (Quantization Noise) ใหไปอยูในชวงความถี่สูง ดังนั้นในชวงความถี่เสียง (Fs) สัญญาณรบกวน
จะถูกปรับลดลง คุณภาพเสียงจะดีขึ้น และเมื่อนํามาใชกับการขยายกําลังงานเสียง เสียงที่ผานการขยายก็จะมี
คุณภาพดีขึ้นดวย การใชซิกมา-เดลตาในการมอดูเลตสําหรับการขยายเสียงคลาสดี จึงมีความนิยมอยางมาก
เชน ไอซีเบอร AD1857 [7] LM4663 [8] AD1990 [9] แตการมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตา ยังตองมีวงจรในการ
กําเนิดสัญญาณนาฬิกา (Clock) ตามรูปที่ 1 เพื่อใชในการชักคาสัญญาณ [8], [9]
Noise ในชวงความถี่เสียง เมื่อชักคาดวยความถี่ Nyquist
Noise ในชวงความถี่เสียง เมื่อชักคาดวยความถี่ Fs
Noise ในชวงความถี่เสียง เมื่อชักคาดวยวงจร ΔΣ

fB : ความถี่สัญญาณเสียง
FS : ความถี่ Sampling
รูปที่ 2 เปรียบเทียบความหนาแนนกําลังงานของสัญญาณรบกวน จากการ Sampling ที่ความถี่ Nyquist,
ที่ความถี่ Oversampling และจากการมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตา order ตางๆ
งานวิจัยนี้นําเสนอการประยุกตใชวงจรซิกมา-เดลตา [1] และเดลตามอดูเลชั่นอยางงาย มาสราง
วงจรขยายกําลังงานเสียง ซึ่งทํางานแบบออสซิเลตดวยตนเอง ดังนั้นจึงตัดความสิ้นเปลืองของวงจรกําเนิด
สัญญาณนาฬิกา และยังทําใหวงจรขยายกําลังงานเสียงที่ได มีความตานทานตอความเสียหาย โดยถามีความ
ผิดปรกติเกิดขึ้นระหวางการทํางาน การออสซิเลตดวยตนเองจะหยุดลง จึงไมมีสัญญาณดิจิตอลออกมาจากสวน
มอดูเลตและหยุดความเสียหายที่อาจเกิดขึน้ ตอไปได นอกจากนี้วงจรซิกมา-เดลตา และเดลตามอดูเลชั่น-
อยางงาย ยังทําใหวงจรขยายกําลังงานเสียงสามารถปรับความถีใ่ นการชักคาสัญญาณเสียงไดดวยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส ซึ่งผลการทดลองและผลการเลียนแบบในคอมพิวเตอรที่ไดสามารถยืนยันการทํางานของวงจรได
เปนอยางดี
2. วงจรและหลักการทํางานของวงจร
2.1 กําเนิดสัญญาณ พัลส
I B1
A
IB
A

vC ( t )
v SD (t ), v DM (t )
vC ( t ) C
v SD (t ), v DM (t )
C I B3

R2
R1 R1
B B

รูปที่ 3 วงจรซิกมา-เดลตา มอดูชั่นอยางงาย [1] รูปที่ 4 วงจรที่ไดรับการพัฒนาปรับปรุง


เพื่อปรับลดผลของอุณหภูมิทมี่ ีตอความถี่ในการออสซิเลต
และยังมอดูเลตแบบเดลตาไดอีกดวย

จากรูปในวงจรที่ 3 เมื่อตอจุด A และจุด B ใหเปนกราวด วงจรจะมีการออสซิเลตดวยตนเอง กําเนิด


สัญญาณพัลซสี่เหลี่ยมออกมา [1] ดวยความถี่ที่สามารถควบคุมไดดังสมการที่ 1
IB … (1) : เมื่อ Vcc เปนระดับไฟเลี้ยงออปแอมป
f =
2CVCC
2.2 กําเนิดสัญญาณ ซิกมา-เดลตา
vin ( t ) e (t )
vSD ( t ) vO ( t )
∫ dt
lowpass
A/D filter

Modulate Demodulate
รูปที่ 5 ระบบการมอดูเลตแบบ ซิกมา-เดลตา [1]
จากนั้นในรูปที่ 3 เมื่อปอนสัญญาณอินพุตเปนสัญญาณเสียง vin ( t ) เขาที่จุด A และตอจุด B ลงกราวด
พบวาองคประกอบของวงจรจะมีการทํางานตามรูปที่ 5 ซึ่งเปนระบบการมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตา [1]
2.3 วงจรที่ปรับลดผลของอุณหภูมิ
จากวงจรรูปที่ 3 จะปรับปรุงวงจรเปนดังวงจรในรูปที่ 4 เพื่อลดผลของอุณหภูมิตอการทํางาน [1] ซึ่งการ
ปอนตําแหนงของอินพุต vin ( t ) ใหเปนการมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตาจะปอนที่ จุด A และตอจุด B ลงกราวด
เชนเดียวกับวงจรในรูปที่ 3 และจะมีความถีใ่ นการชักคาสัญญาณเปนดังสมการที่ 2
1 ⎛ I B1 ⎞
f = ⎜ ⎟ … (2)
4CR1 ⎝ I B 3 ⎠

2.4 กําเนิดสัญญาณ เดลตา


และวงจรในรูปที่ 4 ยังพบอีกวาเมื่อปอนสัญญาณอินพุตเปนสัญญาณเสียง vin ( t ) เขาที่จุด B และ
ตอจุด A ลงกราวด พบวาองคประกอบของวงจรจะมีการทํางานตามรูปที่ 6 ซึ่งเปนระบบการมอดูเลตแบบ เดลตา
โดยในรูปที่ 4 ตัวเก็บประจุที่ตอ รวมกับ OTA นั้นจะทําหนาที่เปนวงจรปริพันธ ดังนั้นเมื่อตอจุด A กับกราวด
จะไดวาสัญญาณ vC (t ) คือปริพันธของสัญญาณเอาทพุต v DM (t ) จากนั้นสัญญาณ vC (t ) ดังกลาวจะถูกนํามา
เปรียบเทียบกับสัญญาณอินพุต vin ( t ) ที่ออปแอมป เพื่อสรางพัลซสัญญาณเดลตาออกมา

vin ( t ) e (t ) vDM ( t ) lowpass vO ( t )


A/D ∫ dt filter

∫ dt
Modulate Demodulate
รูปที่ 6 ระบบการมอดูเลตแบบ เดลตา
2.4 วงจรขยายกําลังงานเสียง
เนื่องจากขอดีของวงจรซิกมา-เดลตาและเดลตามอดูเลชั่นอยางงาย [1] และความเหมาะสมในการใช
งานรวมกับการขยายกําลังงานเสียงคลาสดี จึงไดแทรกการขยายกําลังงานเสียงคลาสดีเขาไประหวางลูปการ
ทํางานของวงจรในรูปที่ 3 และวงจรรูปที่ 4 และไดระบบเปนตามรูปที่ 7 และรูปที่ 8 ตามลําดับ

IB I B1
A A

vC ( t )
C lass D Audio
Am plifier
vC ( t )
Class D Audio
Amplifier
C v SD (t ), v DM (t )
C vSD (t ), vDM (t ) I B3

R2
R1
R1
B
B

รูปที่ 8 การรวมวงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดี
รูปที่ 7 การรวมวงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดี เขากับวงจรซิกมา-เดลตา และเดลตา
เขากับวงจรซิกมา-เดลตา มอดูเลชั่นอยางงายในรูปที่ 3 มอดูเลชั่นอยางงายที่ปรับลดผลของอุณหภูมิ
ในรูปที่ 4
โดยวงจรในรูปที่ 7 และ 8 จะยังคงมีตําแหนงในการปอนสัญญาณเพื่อมอดูเลตสัญญาณเสียงเปนแบบ
ซิกมา-เดลตา หรือแบบเดลตาเชนเดิม และเนื่องจากแทรกวงจรขยายกําลังงานเสียงเขาไประหวางลูปการทํางาน
ระบบจึงยังมีหลักการออสซิเลตดวยตนเองอยู ดังนั้นถาในสวนการขยายกําลังงานเสียงคลาสดีเกิดความผิดปรกติ
ขึ้น การออสซิเลตดวยตนเองก็จะหยุดลง จึงไมมีสัญญาณดิจิตอลไปขับวงจรขยายกําลัง เปนการปองกันความ
เสียหายที่จะเกิดขึ้นกับวงจรตอไปไดอยางดี

รูปที่ 9 การตอวงจรภายในวงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดี
ภายในวงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดีจะประกอบดวยองคประกอบ ตามรูปที่ 9 [6] โดยสัญญาณ
ซิกมา-เดลตา หรือสัญญาณเดลตาที่ออกจากออปแอมป จะเขาสูการสรางสัญญาณที่ Invert กับสัญญาณที่เขา
มา เพราะตองการมีสัญญาณสองสัญญาณเพื่อขับทรานซิสเตอรเฟตสองตัวสลับกัน จากนั้นจะผานเขาวงจรปรับ
ระดับสัญญาณเพื่อใหเหมาะกับไอซีเบอร IR 2110 ซึ่งใชสราง Propagation Delay ระหวางทรานซิสเตอรสองตัว
และใชขบั ทรานซิสเตอรเฟต โดยเลือกใชทรานซิสเตอรเฟตเบอร IRF640 จํานวน 2 ตัว ที่มีไฟเลี้ยงระหวางไอซีทั้ง
สองปรับไดตามความตองการในการขยายกําลังงานเสียง ในการทดลองใชไฟเลี้ยงเฟต ±15V และลําโพง4 Ω
เมื่อผานทรานซิสเตอรแบบเฟตแลวสัญญาณจะเปนสัญญาณดิจิตอลที่ถูกขยายกําลัง ซึ่งสัญญาณ
ดิจิตอลนี้เมื่อนําไปเขาวงจรกรองความถี่ต่ําผาน ก็จะตัดองคประกอบความถี่สูงของสัญญาณแบบซิกมา-เดลตา
หรือแบบเดลตา เหลือองคประกอบของความถี่เสียงที่ถูกขยายกําลังงานแลว นําไปเขาลําโพงตอไป และสัญญาณ
ดิจิตอลที่ถูกขยายกําลังนี้ จะตองถูกปรับลดระดับสัญญาณกลับคืน เพื่อปอนกลับเขาสู OTA ที่ขา Negative ให
วงจรมีการทํางานครบลูปเชนเดิม
3. ผลการทดลอง
3.1 ผลการเลียนแบบโดยโปรแกรม Pspice

(a)

(b)
(c)

(d)

รูปที่ 10 (a) สัญญาณเสียงไชนูซอยดอล 1kHz รวมกับ 2kHz, (b) สัญญาณที่มอดูเลตแบบซิกมา-เดลตา


และขยายกําลังงานแลว (c) องคประกอบทางความถี่ของ (b), (d) สัญญาณเอาทพุตเมื่อนํา (b) ผาน
วงจรกรองความถี่ต่ําผานซึ่งจะเปนสัญญาณเอาทพุตที่จะนําไปขับลําโพง
3.2 ผลจากการทดลองตอวงจรจริง

รูปที่ 11 (1) สัญญาณเสียงไซนูซอยดอลความถี่ 2 kHz, (2) สัญญาณจากวงจรซิกมา-เดลตา


และผานการขยายกําลังงาน, (3) องคประกอบทางความถี่ของ (2)

รูปที่ 12 (R1) สัญญาณเสียง สามเหลี่ยมความถี่ 2 kHz, (1) สัญญาณจากวงจร เดลตามอดูเลชั่น


ที่ผานการขยายกําลังงาน, (2) สัญญาณเดลตาที่ผานวงจรกรองความถี่ตา่ํ ผาน
(M) องคประกอบทางความถีข่ อง (1)
รูปที่ 13 (1) สัญญาณเสียงสามเหลี่ยมความถี่ 2 kHz,
(2) สัญญาณจากวงจรซิกมา-เดลตาที่ผานการขยายกําลังงาน

รูปที่ 14 (1) สัญญาณอินพุต ซึ่งเปนสัญญาณไซนูซอยดอลความถี่ 2 kHz,


(2) สัญญาณเอาทพุตที่ไดเมื่อผานการขยายกําลังงานและวงจรกรองความถี่ต่ําผานแลว,
(M) องคประกอบทางความถีข่ อง (2)

รูปที่ 15 คาความเพี้ยนฮารมอนิกรวม (Total Harmonic Distortion: THD)


เมื่อโหลดขนาด 4 Ω ขยายกําลังงาน 0.5W
4. สรุปผล
ผลการทดลองเมื่อตอวงจรทดลอง พบวาความถีใ่ นการชักคาสัญญาณลดลงจากวงจรที่ยังไมแทรก
วงจรขยายกําลังงานเสียงเขาในลูปการทํางาน ทั้งนี้เนื่องมาจากคาความไวในการ Switching ของ FET,
คา delay จาก Propagation Delay และจาก Delay ของไอซีดิจิตอลที่ใชสรางสัญญาณ Invert แตก็เปน
คาความถี่ที่ลดลงเล็กนอย ในสวนวงจรกรองความถี่ต่ําผาน ถาออกแบบใหดี จะไมมีสัญญาณคลื่นพาห
ปนออกมา และเมื่อเพิ่มไฟเลีย้ งทรานซิสเตอรเฟต ก็จะขยายกําลังงานเพิ่มขึ้นไดอีก ประสิทธิภาพของวงจรขยาย
กําลังงานเสียงที่นําเสนอเมื่อจายใหกับโหลด 4 Ω ใชสัญญาณเสียง 1kHz ที่กําลังงาน 0.5W มีคา 92%
วงจรขยายกําลังงานเสียงที่ไดทําการวิจัย มีการทํางานรวมกับวงจรซิกมา-เดลตา [1] และเดลตามอ-
ดูเลชั่น อยางงาย ซึ่งวงจรขยายกําลังงานเสียงที่ไดสามารถทํางานแบบออสซิเลตดวยตนเองได จึงไมตองมีวงจร
สวนกําเนิดสัญญาณนาฬิกา และจากการแทรกวงจรขยายกําลังเขาไปในลูปการทํางานของวงจรเดิมทําใหวงจร
เกิดความตานทานตอความเสียหาย อีกทั้งยังมีวงจรที่ปรับลดผลของอุณหภูมิอีกดวย
นั่นคือ จะเปนการรวมขอดีของ วงจรขยายกําลังงานเสียงคลาสดี, วงจรมอดูเลตแบบซิกมา-เดลตา และ
วงจรที่ทํางานแบบออสซิเลตดวยตนเองเขาไวดวยกัน และยังเลือกมอดูเลตแบบเดลตาไดอีกดวย ซึง่ ผลการ
ทดลอง ทั้งการจําลองแบบในโปรแกรม PSpice และการตอวงจรทดลอง ยืนยันการทํางานของวงจรไดเปนอยางดี

เอกสารอางอิง
[1] วรพล เอี่ยมศิริ, ปานวิทย ธุวะนุติ, จีรสุดา โกษียาภรณ, ปราโมทย วาดเขียน,“วงจร ซิกมา-เดลตามอดูเลชั่น -
อยางงาย”, The Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, pp. 96-102, 1-4 กุมภาพันธ 2548.
[2] Nathan O. Sokal, “RF power amplifiers-classes A through S”, Electro/95 International. Professional
Program Proceedings, pp. 335 – 400, June 21-23, 1995.
[3] Alejandro R. Oliva, Simon S. Ang, Thuy V. Vo, “A Multi-Loop Voltage-Feedback Filterless Class-D
Switching Audio Amplifier using Unipolar Pulse-Width-Modulation”,IEEE Trans. on Consumer
Electronics, Vol.50, No. 1, pp. 312-319, February 2004.
[4] Sangil Park, “ Principles of Sigma-Delta Modulation for Analog-to-Digital Converters “, APR8/D
Rev.1, Strategic Applications, Digital Signal Processor Operation, Application Note, Motorola.
[5] J. Nam-Sung Jung, J. Jae-Hoon, C. Gyu-Hyeong, “ A Dual Loop Feedback Audio Amplifier Using
Self-Oscillating Delta Modulation “,Consumer Electronics, 1997. Digest of Technical Papers.
ICCE., International Conference, pp. 304 - 305, June 11-13, 1997.
[6] Jun Honda, Jonathan Adams, “Application Note AN-1071 : Class D Audio Amplifier Basics”,
International IR Rectifier, www.irf.com, August 2, 2005.
[7] Analog Devices Datasheet, “Stereo,SingleSupply16,18,20bit Sigma-Delta DACs:AD1857/AD1858”.
[8] National Semiconductor Datasheet, “ LM4663 Boomer AudioPowerAmplifier Series”,January 2000.
[9] Analog Devices Datasheet, “ Class-D Audio Power Amplifier:AD1990/AD1992”,January 20, 2005.

You might also like