You are on page 1of 12

เรือ

่ งที่ 4
การเคลือ
่ นทีแ
่ บบโพรเจกไทล์
การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวโค้ง หรื อ โพรเจกไทล์ เป็ นการเคลื่ อ นที่ ใ นสนามความโน้ม ถ่ วงของโลก ถ้า ไม่ คิ ด
แรงต้านการเคลื่อนที่ใด ๆ (รวมทั้งแรงต้านของอากาศ) จะพิจารณาได้วา่ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็ น
การเคลื่ อนที่แบบผสมระหว่างการเคลื่ อนที่ในแนวราบด้วยความเร็ วคงตัวกับการเคลื่ อนที่ในแนวดิ่ งด้วย
ความเร่ งคงตัวเท่ากับความเร่ งโน้มถ่วงหรื อค่า g โดยการแก้ปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์สามารถ
พิจารณาการเคลื่อนที่ท้ งั สองแนวนี้แยกกันได้ โดยเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
จะเป็ นโค้งพาราโบลาคว่า ดังรู ปที่ 4.1

รู ปที่ 4.1 เส้ นทางการเคลื่อนทีข่ องวัตถุทเี่ คลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์

 การแก้ ปัญหาการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ เมื่อจุดเริ่ มต้ นและจุดตกของวัตถุอยู่ที่ระดับเดียวกัน

เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วต้น v ทิศทางทามุม  กับแนวราบ ดังรู ปที่ 4.2


0 0
2

รู ปที่ 4.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เมื่อจุดเริ่ มต้ นและจุดตกของวัตถุอยู่ที่ระดับเดียวกัน

องค์ประกอบในแนวราบและแนวดิ่งของความเร็ วต้นมีค่าเป็ น v 0 cos0 และ v


0 sin 0 ตามลาดับ
ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ข้ ึนไปถึงจุดสู งสุ ดในเวลา t วินาที m

จาก v y  u y  gt โดยที่ v  0, u y  v0 sin 0


จึงได้ 0  v0 sin 0  gtm และ gtm  v0 sin 0
v0 sin 0
ดังนั้น tm  ……………….. (4.1)
g

ถ้าวัตถุลอยอยูใ่ นอากาศ (เคลื่อนที่ข้ ึนไปแล้วตกลงมาถึงระดับเดียวกับจุดเริ่ มต้นพอดี) นาน t วินาที f

1 2
จาก y  u yt  gt โดยที่ y  0, u y  v0 sin  0
2
1 1 2
จึงได้ 0  (v0 sin  0 ) t f  gt 2f และ gt f  (v0 sin  0 ) t f
2 2
2v0 sin  0
ดังนั้น tf   2tm ……………….. (4.2)
g

ถ้าระยะสู งสุ ดที่วตั ถุลอยขึ้นไปถึงเป็ น h max

1 v0 sin 0
จาก y  u y t  gt 2 โดยที่ y  hmax , t  tm  , u y  v0 sin 0
2 g
2
 v sin 0  1  v0 sin 0  v02 sin 2 0 v02 sin 2 0
จะได้ hmax  (v0 sin 0 )  0  g   
 g  2  g  g 2g
3

v02 sin 2  0 (v0 sin  0 ) 2


จึงได้ hmax   ……………….. (4.3)
2g 2g

ถ้าระยะห่างตามแนวราบจากจุดเริ่ มต้นเมื่อวัตถุตกลงมายังระดับเดียวกับจุดเริ่ มต้น (หรื อระยะตก)


มีค่าเป็ น R

เนื่องจากความเร็ วในแนวราบของวัตถุมีค่าคงที่ โดยมีค่าเท่ากับองค์ประกอบของความเร็ วต้นใน


2v0 sin 0
แนวราบ คือ v0 cos0 และเวลาในการเคลื่อนที่มีค่าเป็ น t f 
g
 2v sin  0  2v02 sin  0 cos  0 v02 (2sin  0 cos  0 )
จึงได้ R  v0 cos 0  0  
 g  g g

โดยที่ 2sin 0 cos0  sin 20


2v02 sin  0 cos  0 v02 sin 2 0
ดังนั้น R  ……………….. (4.4)
g g

เนื่องจากค่าสู งสุ ดของ sin 2 คือ 1 โดยที่ sin 90


0 1

ระยะตกของวัตถุ จึงมีค่าสู งสุ ดเป็ น


v02
Rmax  ……………….. (4.5)
g

เมื่อ sin 2 0  sin 90 หรื อ เมื่อมุมยิง  0  45

การแก้ปัญหาการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ข้ ึนไปจากจุดเริ่ มต้นแล้วตกลงมาถึง


ระดับเดียวกับจุดเริ่ มต้นพอดี สามารถใช้สมการของ tm , t f , hmax , R ในการแก้ปัญหาได้โดยตรง
สังเกตว่าความเร็ วต้น (ทั้งขนาดและทิศทาง) มีผลต่อความสู งที่วตั ถุข้ ึนไปถึงและระยะตก (ระยะห่ าง
จากจุดเริ่ มต้นถึงจุดตกเมื่อวัดในแนวระดับ) ถ้าเพิ่มขนาดความเร็ วต้นแต่ทิศทาง (มุมเอียงจากแนวระดับ) คงเดิม
ทั้งความสู งที่วตั ถุข้ ึนไปถึงและระยะตกจะเพิ่มตาม แต่ถา้ ขนาดของความเร็ วต้นคงเดิมแต่ทิศทางเปลี่ยนไป เช่น
การเคลื่อนที่ของลูกกอล์ฟในภาพที่ 4.3 พบว่าระยะตกมีค่ามากที่สุดในครั้งที่ตีลูกกอล์ฟออกไปในแนวทามุม
45 กับแนวระดับ และระยะตกมีค่าเท่ากันในครั้งตีลูกกอล์ฟออกไปในแนวทามุม 15 กับครั้งที่ตีลูกกอล์ฟ
ออกไปในแนวทามุม 75 กับแนวระดับ และในครั้งที่ตีลูกกอล์ฟออกไปแนวทามุม 30 กับครั้งที่ตีลูกกอล์ฟ
ออกไปในแนวทามุม 60 กับแนวระดับ
4

ภาพที่ 4.3 ระยะตกของวัตถุเมื่อวัตถุมีความเร็วต้ นขนาดเท่ ากันแต่ ทามุมต่ าง ๆ กันกับแนวระดับ

สังเกตว่าวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ดว้ ยความเร็ วต้นขนาดเท่ากันจะมีระยะตกเท่ากัน เมื่อมุมที่วตั ถุ


เคลื่อนที่ออกไปทั้งสองครั้งรวมกันได้ 90 องศา และระยะสู งสุ ดที่วตั ถุ เคลื่อนขึ้นไปถึ งจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อมุมที่
วัตถุเคลื่อนที่ออกไปมีค่าเพิ่มขึ้น
ระยะตกและความสู งที่ข้ ึนไปถึงของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ข้ ึนอยูก่ บั ขนาดของความเร็ วต้นและ
มุมที่วตั ถุเคลื่อนที่ออกไปจากจุดเริ่ มต้น ความจริ งข้อนี้นาไปใช้ประโยชน์หลายด้าน ได้แก่ ในการฉี ดน้ าดับเพลิง
ของพนักงานดับเพลิง ในกีฬาประเภทที่ตอ้ งการให้ได้ระยะตกไกลสุ ด เช่น กระโดดไกล พุ่งแหลน ขว้างค้อน
ทุ่มน้ าหนัก เป็ นต้น หรื อกี ฬาประเภทที่ ตอ้ งการให้เคลื่ อนที่ ไปถึ งตาแหน่ งหรื อเข้าสู่ เป้ าหมายที่ ตอ้ งการ เช่ น
กระโดดสู ง ยิงธนู บาสเกตบอล (การชูตลูกบาสเกตบอล) รักบี้และอเมริ กนั ฟุตบอล (การเตะฟิ ลด์โกล) เป็ นต้น
 การแก้ ปัญหาการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ เมื่อจุดเริ่ มต้ นและจุดตกของวัตถุอยู่ที่ระดับต่ างกัน

ถ้าระยะกระจัดในแนวราบและแนวดิ่งของวัตถุเป็ น x และ y ตามลาดับ ดังรู ปที่ 4.4 โดยเวลาที่ใช้


ในการเคลื่อนที่มีค่าเป็ น t เท่ากัน

รู ปที่ 4.4 ระยะกระจัดในแนวราบและแนวดิ่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์


เมื่อจุดเริ่มต้ นและจุดตกอยู่ทรี่ ะดับต่ างกัน
5

1 2
จากสมการ y  uy t  gt และ x  ux t จะได้
2
1
y  (v0 sin  0 ) t  gt 2 ……………….. (4.6)
2
และ x  (v0 cos  0 ) t .………………. (4.7)
จากสมการ (4.6) และ (4.7) ถ้าความเร็ วต้น v0 อยูใ่ นแนวราบ คือ  0  0 จะได้
1 2
y gt ……………….. (4.8)
2
และ x  v0 t .………………. (4.9)

การแก้ปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เมื่อจุดเริ่ มต้นและจุดตกของวัตถุอยูท่ ี่ระดับต่างกันจะใช้


สมการ 2 สมการนี้เป็ นหลัก โดยมักใช้สมการหนึ่งเพื่อหาค่า t แล้วนาไปแทนค่าในอีกสมการหนึ่งเพื่อหาค่า
ที่ตอ้ งการ และบางครั้งอาจใช้สมการของการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งสมการอื่น ๆ มาช่วยในการแก้ปัญหาด้วย

ตัวอย่างที่ 4.1 ขว้างลูกบอลด้วยความเร็ ว 10 m/s ทามุม 30 เหนือแนวราบ จงหาว่า


(ก) ความเร็ วของลูกบอลที่จุดสู งสุ ดมีค่าเท่าใด
(ข) ผูร้ ับต้องอยูไ่ กลเท่าใด จึงรับลูกบอลที่ตกลงมายังระดับเดิมได้พอดี
(ค) ลูกบอลลอยอยูใ่ นอากาศนานเท่าใด
(ง) ความสู งที่ลูกบอลลอยขึ้นไปได้สูงสุ ดมีค่าเท่าใด
(จ) จุดสู งสุ ดอยูห่ ่างจากจุดขว้างเท่าใด
วิธีทา (ก) ความเร็ วที่จุดสู งสุ ดมีค่าเท่ากับองค์ประกอบในแนวราบของความเร็ วต้น
ความเร็ วของลูกบอลที่จุดสู งสุ ดจึงมีค่าเป็ น 10cos30 m/s  8.66 m/s
v02 sin 2 0 (10)2 sin 60
(ข) จาก R  จะได้ R  m  10sin 60 m  8.66 m
g 10
ผูร้ ับต้องอยูไ่ กล 8.66 m จึงรับลูกบอลที่ตกลงมายังระดับเดิมได้พอดี
2v0 sin 0 2(10)sin 30
(ค) จาก t f  จะได้ tf  s  1.0 s
g 10
ลูกบอลลอยอยูใ่ นอากาศนาน 1 วินาที
(ง) จาก hmax  (v0 sin 0 ) จะได้
2
(10sin 30 ) 2 25
hmax  m  m  1.25 m
2g 2(10) 20
ความสู งที่ลูกบอลลอยขึ้นไปได้สูงสุ ดมีค่า 1.25 m
6

(จ) ระยะแนวราบจากจุดขว้างถึงจุดสู งสุ ดมีค่าเท่ากับครึ่ งหนึ่งของระยะตก คือ 4.33 m


จุดสู งสุ ดอยูส่ ู งกว่าจุดขว้างเท่ากับระยะสู งสุ ดที่ลูกบอลลอยขึ้นไป คือ 1.25 m
จุดสู งสุ ดจึงอยูห่ ่างจากจุดขว้างเป็ นระยะ d  (4.33)  (1.25) m  4.51 m ดังรู ป
2 2

1.25 m

8.66 m

ตัวอย่ างที่ 4.2 นักกระโดดไกลผูห้ นึ่ งกระโดดด้วยความเร็ ว 9.8 m/s ทามุม 45 กับพื้นดิ น เขาจะกระโดดได้
ระยะทางไกลเท่าใด และถ้าเขากระโดดบนดวงจันทร์ ด้วยความเร็ วเท่ากันและมุ มเท่าเดิ ม เขาจะกระโดดได้
ระยะทางไกลเท่าใด เมื่อความเร่ งโน้มถ่วงบนผิวดวงจันทร์ เป็ น 1/6 ของความเร่ งโน้มถ่วงของโลก
v02 sin 2 0 v02 sin 90 v02
วิธีทา จาก R  เมื่อ  0  45 จะได้ R  
g g g
(9.8)2
เมื่อกระโดดบนโลก เขาจะกระโดดได้ระยะทางไกล  m  9.8 m
9.8
2
เมื่อกระโดดบนดวงจันทร์ เขาจะกระโดดได้ระยะทางไกล  (9.8) m  58.8 m
9.8 / 6

ตัวอย่างที่ 4.3 จงหามุมยิง เพื่อยิงปื นด้วยความเร็ วต้น 500 m/s ให้ถูกเป้ าหมายบนพื้นดินที่อยูห่ ่างออกไป
12.5 km
v02 sin 2 0 (500)2 sin 20
วิธีทา จาก R  จะได้ 12.5  103   (25 103 )sin 20
g 10
12.5  103
จึงได้ sin 20   0.5
25  103
เนื่องจาก sin 30 และ sin150 มีคา่ เท่ากับ 0.5 ดังนั้น 2 0  30 หรื อ 2 0  150
มุมยิงจึงมี 2 ค่า คือ   15 และ   75
0 0

ข้ อสั งเกต มุมยิงที่ให้ระยะตกตามแนวราบเท่ากันมีค่ารวมกันได้ 90


7

ตัวอย่างที่ 4.4 ปื นกระบอกหนึ่งยิงได้ไกลสุ ด 640 m ถ้ายิงในแนวเอียงทามุม 37๐ กับแนวราบ กระสุ นจะตกไกล


กี่เมตร จากจุดยิง (กาหนดให้ cos 37๐ = 0.8 และ sin 37๐ = 0.6)
v02
วิธีทา จาก Rmax  จะได้ v02  Rmax g จึงได้ v02  (640)(10)  6400 และ v0  80 m/s
g
v02 sin 2 0 2v02 sin  0 cos 0
จาก R  โดยที่ sin 2 0  2sin 0 cos0 จึงได้ R 
g g
2(80)2 (0.6)(0.8)
เมื่อ  0  37 จะได้ R m  614.4 m
10
เมื่อยิงในแนวเอียงทามุม 37๐ กับแนวราบ กระสุ นจึงตกไกล 6.14.4 m จากจุดยิง
ตัวอย่างที่ 4.5 ขว้างลูกบอลจากสนามหญ้าไปยังลานหน้าบ้าน ถ้าลูกบอลลอยอยูใ่ นอากาศนาน 3.0 วินาที และ
ลูกบอลไปได้ไกล 45 m ในแนวระดับ ถ้าไม่คิดความต้านทานของอากาศ จงหา
(ก) ระยะสู งสุ ดที่ลูกบอลลอยขึ้นไปถึง
(ข) ความเร็ วต้นของลูกบอล
2v0 sin 0 2v0 sin  0 30
วิธีทา (ก) จาก tf  จะได้ 3  และ v0 sin 0  m/s  15 m/s
g 10 2
(v0 sin  0 ) 2 (15) 2
จาก hmax  จะได้ hmax  m  11.25 m
2g 2(10)
2v02 sin  0 cos  0 2(v0 sin 0 )(v0 cos 0 ) 2(15)(v0 cos 0 )
(ข) จาก R  จะได้ 45  
g g 10
450
จึงได้ v0 cos  0   15
30
v0 sin  0 15
เนื่องจาก   1 จึงได้ tan 0  1 และ 0  45
v0 cos 0 15

ดังนั้น v0  15 / cos 45  15 2 m/s  21.2 m/s


ความเร็ วต้นของลูกบอลจึงมีค่าเป็ น 21.2 m/s ทิศทางทามุม 45 กับแนวระดับ
ตัวอย่ างที่ 4.6 ถ้าระยะไกลสุ ดตามแนวราบในการยิงก้อนหิ นออกไปด้วยความเร็ วต้นค่าหนึ่ งมีค่าเป็ น 80 m
ระยะสู งสุ ดที่กอ้ นหิ นลอยขึ้นไปถึงมีค่าเท่าใด
v02 sin 2 0
และ hmax  (v0 sin 0 )
2
วิธีทา จาก R 
g 2g
เนื่องจาก ระยะตกจะมีค่าสู งสุ ดเมื่อมุมยิง  0  45
v02 sin 90 v02 (v0 sin 45 ) 2 1  v2 
เมื่อ  0  45 จะได้ Rmax   และ hmax    0
g g 2g 4 g 
1 80
ดังนั้น ระยะสู งสุ ดที่กอ้ นหิ นลอยขึ้นไปถึงมีค่าเป็ น hmax  ( Rmax )  m  20 m
4 4
8

ตัวอย่างที่ 4.7 ขว้างลูกกอล์ฟจากหน้าต่างบ้านให้เคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ ว 10 m/s ในทิศทางทามุม 60 กับ


แนวระดับ ลูกกอล์ฟตกถึงพื้นในเวลา 2 วินาที ระยะทางในแนวราบที่ลูกกอล์ฟเคลื่อนที่ไปมีค่าเท่าใด
วิธีทา จาก x  (v0 cos 0 ) t จะได้ x  (10 cos 60 )(2) m  10 m
ระยะทางในแนวราบที่ลูกกอล์ฟเคลื่อนที่ไปจึงมีค่าเป็ น 10 m
ตัวอย่ างที่ 4.8 ลูกบอลลูกหนึ่ งกลิ้งตกลงมาจากโต๊ะราบซึ่ งสู ง 1.25 m ถ้าลูกบอลตกกระทบพื้นตรงจุดที่อยูห่ ่ าง
จากขอบโต๊ะตามแนวระดับ 2.0 m ความเร็ วลูกบอลขณะหลุดจากขอบโต๊ะมีค่าเท่าใด
วิธีทา จาก y  (v0 sin  0 ) t 
1 2
gt เมื่อ  0 0
2

จะได้ 1
1.25  0  (10)t 2 = 5t 2 จึงได้ t 
1.25
s  0.25 s  0.5 s
2 5
จาก x  (v0 cos0 ) t เมื่อ  0 0 จะได้ x  v0 t

จึงได้ 2  v0 (0.5) ดังนั้น v0 


2
m/s  4 m/s
0.5
ความเร็ วลูกบอลขณะหลุดจากขอบโต๊ะมีค่าเป็ น 4 m/s
ตัวอย่ างที่ 4.9 หิ นก้อนหนึ่ งถูกขว้างออกไปในแนวระดับจากที่สูง 9.8 m จากพื้น ก้อนหิ นตกกระทบพื้นดินทา
มุม 45 กับพื้น ความเร็ วต้นที่ใช้ขว้างก้อนหิ นมีค่าเท่าใด
วิธีทา ก้อนหิ นตกกระทบพื้นดินทามุม 45 กับพื้น แสดงว่าองค์ประกอบในแนวระดับ (v ) กับ x

องค์ประกอบในแนวดิ่ง (v ) ของความเร็ วขณะตกกระทบพื้นมีค่าเท่ากัน โดยองค์ประกอบ


y

ในแนวระดับนี้มีค่าเท่ากับความเร็ วต้น (v ) ที่ใช้ขว้างก้อนหิ นออกไป


0

องค์ประกอบในแนวดิ่งของความเร็ วขณะตกกระทบพื้นหาได้จากสมการการเคลื่อนที่แนวดิ่ง
vy2  u y2  2 gh โดยกรณี น้ ี ความเร็ วต้นในแนวดิ่งเป็ น 0 หรื อ u  0 y

จึงได้ vy  2 gh  2(10)(9.8) m/s  196 m/s  14 m/s


ความเร็ วต้นที่ใช้ขว้างก้อนหิ นออกไปจึงมีค่าเป็ น 14 m/s
ตัวอย่ างที่ 4.10 ชายคนหนึ่ งยืนห่ างจากผนัง 3.00 m ขว้างลูกดอกออกไปแนวระดับสู งจากพื้น 1.80 m ลูกดอก
ปั กผนังสู งจากพื้น 1.35 m เมื่อไม่คิดแรงต้านของอากาศ จงหา
(ก) เวลาที่ลูกดอกเคลื่อนที่
(ข) ความเร็ วต้นของลูกดอก
(ค) ขนาดของความเร็ วของลูกดอกขณะถึงผนัง
วิธีทา (ก) จาก y
1 2
gt จะได้ 1.80  1.35 
1
(10)t 2  5t 2 จึงได้ t 
0.45
s  0.3 s
2 2 5
เวลาที่ลูกดอกเคลื่อนที่จึงมีค่าเป็ น 0.300 วินาที
9

x 3.00
(ข) จาก x  v0 t จะได้ v0   m/s  10 m/s
t 0.300
ความเร็ วต้นของลูกดอกจึงมีค่าเป็ น 10.0 m/s
(ค) จาก v  u  gt จะได้ v  0  (10)(0.3) m/s  3 m/s ขณะที่ v
y y y x  10 m/s

จาก v  v  v จะได้ v  (10)  (3) m/s  109 m/s


2
x
2
y
2 2

ขนาดของความเร็ วของลูกดอกขณะถึงผนังจึงมีค่าเป็ น 10.4 m/s


ตัวอย่างที่ 4.11 เครื่ องบินรบทิ้งระเบิดลงมาขณะกาลังบินด้วยความเร็ ว 720 km/h ในแนวราบ ที่ความสู ง 2 km
จากพื้นดิน ดังรู ป จงหา (ก) ระยะตามแนวราบที่ระเบิดเคลื่อนที่ไปได้จนตกกระทบพื้น และ (ข) ขนาดและ
ทิศทางของความเร็ วของระเบิดขณะตกกระทบพื้น
720 km/h วิธีทา
(ก) จาก gt และ x  (v0 cos  0 ) t
1 2
y  (v0 sin  0 ) t 
2
เมื่อ  0  0 จะได้ y  1 gt 2 และ x  v0 t
2 km 2
จาก y  gt จะได้ 2000  1 (10)t 2  5t 2
1 2
2 2

จึงได้ t  2000 s  400 s  20 s


5
 720 
จาก x  v0 t จะได้ x   (20) m  4000 m  4 km
 3.6 
ระยะตามแนวราบที่ระเบิดเคลื่อนที่ไปได้จนตกกระทบพื้นจึงมีค่าเป็ น 4 km
(ข) องค์ประกอบในแนวราบ (v ) ของความเร็ วของระเบิดขณะตกกระทบพื้นมีค่าเท่ากับ
x

200 m/s คือ มีค่าเท่ากับความเร็ วต้น เมื่อความเร็ วต้นอยูใ่ นแนวราบ


องค์ประกอบในแนวดิ่งของความเร็ วของระเบิดขณะตกกระทบพื้นหาค่าได้จากสมการ
การเคลื่อนที่แนวดิ่ง vy2  u y2  2gh โดยกรณี น้ ี ความเร็ วต้นในแนวดิ่งเป็ น 0 หรื อ u  0 y

จึงได้ vy  2 gh  2(10)(2000) m/s  200 m/s


ขนาดของความเร็ วของระเบิดขณะตกกระทบพื้นจึงมีค่าเป็ น
v  vx2  v y2  2002  2002 m/s  200 2 m/s  283 m/s

ทิศทางทามุม   tan 1 (vy / vx )  tan 1 (200 / 200)  tan 1 (1)  45 กับแนวราบ


ดังรู ป
10

200 m/s

2 km

200 m/s
45 4 km
200 m/s

ข้ อสั งเกต องค์ประกอบในแนวดิ่งของความเร็ วของระเบิดขณะตกกระทบพื้น หาค่าได้อีกวิธีหนึ่งจากสมการ


v  u  gt ซึ่ งจะได้ v  0  (10)(20) m/s  200 m/s เช่นกัน แต่อาจเกิดความผิดพลาดได้
y y y

ถ้าคานวณค่า t ผิดพลาดไป อย่างไรก็ตาม การที่คานวณค่า v ได้เท่ากัน เป็ นการตรวจสอบว่า


y

เวลาที่คานวณได้ถูกต้องแล้ว
ตัวอย่างที่ 4.12 ชายคนหนึ่งยืนบนที่สูง ขว้างก้อนหิ นออกไปด้วยความเร็ วต้น 15 m/s ทิศทามุม 45๐ กับแนวราบ
ถ้าก้อนหิ นตกไกล 30 เมตร จากจุดขว้าง ดังรู ป ตาแหน่งที่กอ้ นหิ นเริ่ มเคลื่อนที่อยูส่ ู งจากพื้นเท่าใด
x
45๐ วิธีทา จาก x  (v0 cos  0 ) t จะได้ t 
v0 cos  0
30
จึงได้ t  s  2 2s
15cos 45
จาก y  (v0 sin  0 ) t 
1 2
gt
2
โดยที่องค์ประกอบในแนวดิ่งของความเร็ วต้นมีทิศพุง่ ขึ้น
30 m จะได้ 1
h  (15sin 45 ) (2 2)  ( 10)(2 2) 2 m
2
1
 30  (10)(8) m  30  40 m   10 m
2
เครื่ องหมายลบ แสดงว่าอยูต่ ่ากว่าจุดขว้าง
ตาแหน่งที่กอ้ นหิ นเริ่ มเคลื่อนที่จึงอยูส่ ู งจากพื้น 10 เมตร
ตัวอย่างที่ 4.13 ในการทดสอบหัวท่อดับเพลิงที่ความดัน 800 kPa ด้วยอัตราการไหล 0.280 m3/s น้ าจะไหลแยก
ออกทางท่อทางออก ด้วยความเร็ ว 36 m/s ทิศทางดังรู ป จงหาว่าน้ าที่พงุ่ ออกจากท่อแต่ละข้างตกกระทบพื้นห่าง
จากปากท่อแต่ละข้างเท่าใด
11

36 m/s วิธีทา
30๐
ท่ อข้ างซ้ าย จาก y
1 2
gt จะได้ 0.75 
1
(10)t 2  5t 2
2 2
750 mm 600 mm
จึงได้ t  0.75 s  0.5 3 s  0.866 s

จาก x  v0 t จะได้ x  (36)(0.866) m  31.2 m

ท่ อข้ างขวา จาก y  (v0 sin  0 ) t 


1 2
gt จะได้ 0.60 1
 (36sin 30 ) t  ( 10)t 2
2 2
และ 0.60  18 t  5t 2 หรื อ 5t 2  18 t  0.60  0

18  (18)2  4(5)(0.60) 18  18.33


จึงได้ t  s  s  3.63 s
2(5) 10

จาก x  (v0 cos  0 ) t จะได้ x  (36 cos 30 ) (3.63) m  113.2 m

น้ าที่พงุ่ ออกจากท่อข้างซ้ายตกกระทบพื้นห่างจากปากท่อ 31.2 m ขณะที่น้ าที่พงุ่ ออกจากท่อข้างขวา


ตกกระทบพื้นห่างจากปากท่อ 113.2 m
ตัวอย่างที่ 4.14 กล่องเครื่ องมือไถลตกจากหลังคา หลังจากหลุดพ้นขอบชายคานาน 0.8 s กล่องเครื่ องมือ
ตกถึงพื้น ที่ระยะห่าง 1.6 m จากขอบชายคา ดังรู ป ถ้าขอบชายคาเอียงทามุม 37๐ กับแนวราบ จงหาว่า
ขอบชายคาอยูส่ ู งจากพื้นเท่าใด
วิธีทา จาก x  (v0 cos  0 ) t เมื่อ 0  37
37 จะได้ 1.6  (v0 cos37 )(0.8)  0.64v0
1.6
จึงได้ v0  m/s  25 m/s
0.64
จาก y  (v0 sin  0 ) t 
1 2
gt
2

จะได้ 1
h  (25sin 37 ) (0.8)  (10)(0.8) 2 m
1.6 m 2

 12  3.2 m  15.2 m
ดังนั้น ขอบชายคาอยูส่ ู งจากพื้น 15.2 เมตร
ตัวอย่ างที่ 4.15 นักเรี ยนคนหนึ่ งยืนห่ างจากกาแพง 15 3 m เตะลู กบอลอัดกาแพง โดยลู กบอลกระทบกาแพง

ที่จุดสู งจากพื้น 10 m ถ้ามุมที่ แนวการเคลื่ อนที่ ของลู กบอลทากับพื้นขณะลอยขึ้นจากพื้นเป็ น 30 จงหาว่า


ลูกบอลถูกเตะออกไปด้วยความเร็ วเท่าใด
12

3
วิธีทา จาก x  (v0 cos  0 ) t จะได้ 15 3  (v0 cos 30 ) t  v0t
2
30
จึงได้ t 
v0

จาก y  (v0 sin  0 ) t 


1 2
gt
2
2
 30  1  30   900 
จะได้ 10  (v0 sin 30 )    (10)    15  5  2 
 v0  2  v0   v0 
 900 
จึงได้ 5  2   15  10  5 และ v02  900
 v0 
ลูกบอลถูกเตะออกไปด้วยความเร็ ว v 0  900 m/s  30 m/s

การเคลื่ อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่ พิจารณาผ่านมา ไม่ได้พิจารณาผลจากแรงต้านจากอากาศและแรงอื่น ๆ


เช่ น แรงลม แรงหนื ด ความแตกต่างของสนามโน้มถ่วง (ซึ่ งมีผลเมื่อวัตถุ เคลื่ อนที่ข้ ึนไปสู งจากพื้นผิวโลก
มาก ๆ ) เป็ นต้น แรงเหล่านี้ ส่งผลให้แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุ ไม่เป็ นโค้งพาราโบลาที่สมบูรณ์ เช่ น น้ าที่ฉีด
ออกจากท่อน้ าดับเพลิงหรื อสายยางรดน้ าต้นไม้ แรงต้านจากอากาศหรื อแรงลมพัดจะทาให้แนวการเคลื่อนที่ของ
ลาน้ าไม่เป็ นโค้งพาราโบลา โดยเฉพาะเมื่ อปลายลาน้ าแตกเป็ นฝอย อย่างไรก็ตาม สมการการเคลื่ อนที่แบบ
โพรเจกไทล์ที่พิจารณาผ่านมา ใช้ทานายการเคลื่อนที่ของโพรเจกไทล์ได้อย่างน่าพอใจ สาหรับการเคลื่อนที่แบบ
โพรเจกไทล์ที่แรงต้านอากาศมีผลต่อการเคลื่อนที่นอ้ ย

You might also like