You are on page 1of 20

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

PAT3 3.สภาพสมดุล
และสภาพยืดหยุ่น
2

PAT3 3.สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น

ข้อสอบPAT3 สมดุลของแรงสามแรง
1. กาหนดให้มวลแต่ละก้อนมีขนาด 5 kg แขวนด้วยเชือกดังรูป จงหาขนาดของแรงในเชือก BC ซึ่งอยู่ในแนวนอน
(PAT3 ต.ค.59)

1. 86.60 N A 60o 60o D


2. 50.00 N B C
3. 35.36 N
4. 28.87 N 5 kg 5 kg
5. 14.44 N

2. กล่องมีน้าหนัก 100 kN ถูกแขวนด้วยเคเบิล AB และ AC ที่จุด A ดังรูป ถ้าระบบอยู่ในสภาวะสมดุล จง


คานวณหาขนาดแรงตึงในเคเบิล AB และแรงตึงในเคเบิล AC (PAT3 มี.ค.54)
C
1. AB = 50 kN และ AC = 50 3 kN B
2. AB = 50 3 kN และ AC = 50 kN
3. AB = 25 kN และ AC = 25 3 kN 30 o 60o
A
4. AB = 50 kN และ AC = 25 3 kN
5. AB = 25 kN และ AC = 50 3 kN
D

100 kN
3

3. สายเคเบิล 3 เส้น คล้องผ่านห่วง C โดยมีแนวเส้นตัดกัน เคเบิลแต่ละเส้นทามุมดังแสดงในรูป เคเบิล CE คล้อง


ผ่านรอก D ที่ไม่มีความฝืด และมีกล่อง มวล 30 กิโลกรัม แขวนที่ปลายเคเบิล ณ จุด E จงหาแรงดึงในสายเคเบิล
AC และ BC ที่ทาให้ระบบอยู่ในสภาวะสมดุล และค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 เมตร/วินาที2
(PAT3 ต.ค.53)
 sin 45o   sin 60o 
1. 300  นิวตัน , 300  นิวตัน A
 sin 75o   sin 75o 
   
 sin 60o   sin 45o 
2. 300  นิวตัน , 300  นิวตัน 45o C D
 sin 75 
o
 sin 75 
o
   
 sin 45o   sin 30o  o 15o
3. 300  นิวตัน , 300  นิวตัน 30
 sin 15o   sin 15o  E
   
 sin 30o   sin 45o  B
30 kg
4. 300  นิวตัน , 300  นิวตัน
 sin 15o   sin 15o 
   
 sin 45 
o
 sin 15 
o

5. 300  นิวตัน , 300  นิวตัน


 sin 75o   sin 75o 
   
4

4. ห่วงโซ่มีความยาวทั้งหมด 1.25 เมตร ถูกนาไปคล้องกับแท่งไม้ ซึ่งมีหน้าตัดขนาด 25 x 25 cm2 ดังแสดงในรูป หาก


นาเอาแท่งไม้พร้อมโซ่ไปคล้องกับตะขอ จงคานวณหาขนาดของแรงดึงในห่วงโซ่ หากกาหนดให้แท่งไม้มีมวลเท่ากับ 175
กิโลกรัม (PAT3 มี.ค.59)

1. 900 N
2. 950 N
3. 990 N
4. 1,000 N
5. 1,010 N

5. ทรงกลมผิวเรียบสม่าเสมอมวล 20 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นเอียงดังรูป จงหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทาต่อ


วัตถุที่จุดสัมผัส A และ B (กาหนดให้ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 เมตร/วินาที2) (PAT3 ก.ค.53)

100
1. N A  N , NB  200 N
sin 75 o
100
2. NA  200 N , NB  N
sin 75 o
200
3. NA 
sin 75 o
N , NB  100 N A
4. NA  100 N , NB 
200
sin 75 o
N 75o B 30 o

5. NA  100 N , NB  200 N
5

6. เส้นเชือก AB มีความยาว 6 m ถูกยึดโยงกับผนังที่จุด A และ B ดังแสดงในรูป หากนาถังน้า C ที่มีมวลขนาด


10 kg ที่ติดตั้งรอกขนาดเล็ก ซึ่งไม่มีแรงเสียดทานมาห้อยบนเชือก AB แล้วปล่อยให้ถังน้าเคลื่อนที่ตามอิสระ จะ
คานวณหาตาแหน่งของถังน้าจากจุด A (x = ?) ที่ทาให้ถังน้าอยู่ในภาวะสมดุล (PAT3 ต.ค.58)
4.00 m
1. 2.00 m
2. 2.25 m X
3. 2.45 m A
4. 2.65 m 1.00 m
5. 2.70 m
B

7. ระบบดังรูปอยู่ในสภาวะสมดุล ถ้ารอกไม่มีความเสียดทาน ข้อใดเรียงลาดับขนาดของมวลทั้ งสามได้ถูกต้อง (PAT3


มี.ค.55)

1. MA > MB > MC
2. MA = MC > MB 90 o
30

3. MB > MC = MA
o

4. MC > MA > MB
5. MC > MB > MA
A
C
B
6

ข้อสอบPAT3 สมดุลต่อการหมุน
8. ที่ขนทรายมีทรายน้าหนัก 20 กิโลกรัม คนงานต้องออกแรงยก F เท่าไร (PAT3 เม.ย.57)

1. 20 นิวตัน
F
2. 80 นิวตัน
3. 120 นิวตัน
4. 160 นิวตัน
60 cm 40 cm
5. 200 นิวตัน

9. ถ้าออกแรงบีบขนาด 100 นิวตัน กระทาที่ด้ามทั้งสองของคีมแบบคอม้าดังรูป ค่าของแรงบีบชิ้นงานที่ปากคีมมีค่ากี่นิว


ตัน (PAT3 เม.ย.57)
7

10. คานยาว 5 เมตร รองรับที่ปลายทั้งสองข้างที่จุด A และ B บนคานมีแรงกระทา 2,000 นิวตัน และ 800 นิวตัน
ตามตาแหน่งดังรูป แรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ A เป็นกี่นิวตัน (PAT3 มี.ค.55)
2000 N
800 N

A B
2m 2m 1m

11. โครงสร้างรับแรงกระทาที่จุดต่างๆ ดังรูป จงหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่กระทาที่จุดรองรับ B (PAT3 มี.ค.54)

1. 40 kN 20 kN
2. 47.5 kN
3m
3. 95 kN
4. 107.5 kN B
5. 110 kN A
30 kN 50 kN 30 kN
2m 2m 2m 2m
8

12. โมเมนต์ขนาด 45 N m มีทิศตามเข็มนาฬิกากระทาต่อก้านเพลาของมอเตอร์ไฟฟ้าดังแสดงในรูป จงคานวณหา


ขนาดของแรงปฏิกิริยา -R และ R ซึ่งกระทาต่อที่รองรับ A และ B ในรูปซึ่งจะทาให้โมเมนต์ลัพธ์ที่กระทาต่อมอเตอร์
เป็นศูนย์ (PAT3 มี.ค.59)

1. 140 N M
2. 208 N
3. 260 N
15 cm
4. 300 N
5. 520 N A 60o 60o B

-R R

13. จงหาขนาดของโมเมนต์ที่จุด A ของคานที่กาหนดให้ (ไม่คิดน้าหนักของคาน) (PAT3 มี.ค.54)

L L
P
1. 3PL
30o
2. 5PL/2 A
3. PL/2 L
4. PL
5. 2PL
P

L/2
9

14. จากคานยื่นที่กาหนดให้ จงหาโมเมนต์รอบจุด A (ไม่ต้องคิดน้าหนักของคาน) (PAT3 มี.ค.53)


5m 5m 2m
1. 50 นิวตัน-เมตร ทิศตามเข็มนาฬิกา
2. 50 นิวตัน-เมตร ทิศทวนข็มนาฬิกา 30
3. 75 นิวตัน-เมตร ทิศทวนเข็มนาฬิกา
4. 80 นิวตัน-เมตร ทิศทวนเข็มนาฬิกา A
5. 80 นิวตัน-เมตร ทิศตามเข็มนาฬิกา
3m
30o

20
10

15. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรง F และโมเมนต์ของแรง F รอบจุด A ของโครงสร้างดังรูป ควรมีลักษณะเป็น


อย่างไร (ไม่คิดน้าหนักของชิ้นงาน) (PAT3 ก.ค.53)
F
45o

1m A
1m
F MA
1. 2.

1 2

MA 0 F
0 2 2 2 2

0 2 MA 0 2 F
3. 4.
1 1

F MA

0 2 2 F
5.

MA
11

16. จงหาค่ามุม  ที่จะทาให้ขนาดโมเมนต์ของแรง F รอบจุดหมุน A มีค่ามากที่สุดโดยไม่คิดน้าหนักของคาน และ


กาหนดให้ (PAT3 ต.ค.53)
F
d(sin ) d(cos )
 cos  ,   sin 
d d 

1. 45o

1m
2. 135o
3. 225o
4. 315o A
5. ถูกทั้งข้อ 2 และ 4
1m

17. เมื่อช่างทาสีปีนบันไดขึ้นไปได้ 2 เมตร บันไดจะเริ่มไถล ถ้าน้าหนักบันไดเป็น 150 นิวตัน และมวลของคนพร้อม


อุปกรณ์เป็น 80 กิโลกรัม ให้ใช้ g = 10 เมตรต่อวินาที2 คาตอบข้อใดเป็นจริง (PAT3 มี.ค.52)

1. บันไดซีกซ้ายเริ่มไถลก่อน
2. บันไดซีกขวาเริ่มไถลก่อน
3. บันไดเริ่มไถลทั้ง 2 ด้านพร้อมกัน 4 m

4. ไม่มีการไถล

2 m
12

18. จากคานดังรูปมีเชือกที่ผูกกับคานที่ทนแรงดึงได้ 100 นิวตัน จงหาว่าน้าหนักที่สามารถแขวนได้สูงสุดได้กี่กิโลกรัม


(PAT3 ธ.ค.56)
25
1. กิโลกรัม
7
30
2. กิโลกรัม
7
40 3m
3. กิโลกรัม
7
24
4. กิโลกรัม
7 4m 3m
32
5. กิโลกรัม
7

19. จงหาขนาดของแรงดึง T ในเคเบิลที่ใช้ดึงคานเหล็กยื่นเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุลโดยคานเหล็กมีน้าหนัก 300 กิโลนิว


ตัน ขนาดดังแสดงในรูป และแขวนกล่องบรรจุวัสดุหนัก 1,000 กิโลนิวตัน (PAT3 ต.ค.53)

1. 1,000 กิโลนิวตัน
2. 1,500 กิโลนิวตัน T
3. 1,800 กิโลนิวตัน
3m
4. 2,300 กิโลนิวตัน
5. 2,500 กิโลนิวตัน 0.3 m
1m 1m 1m 1m

1,000 KN
13

20. กาหนดให้กล่องสี่เหลี่ยมสูง 1 m ส่วนฐานเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้าง 40 cm มวล 10 kg วางบนพื้นราบซึ่งมี


สัมประสิทธิ์ความเสียดทานเท่ากับ 0.6 ถ้ามีแรงกระทาบนผนังกล่องในแนวขนานกับพื้น กรณีใดต่อไปนี้สามารถผลักมวล
ให้ล้มได้โดยไม่ไถล (PAT3 มี.ค.56)
1. แรงขนาด 30 N ที่ความสูง 60 cm
2. แรงขนาด 40 N ที่ความสูง 60 cm
3. แรงขนาด 80 N ที่ความสูง 40 cm
4. แรงขนาด 60 N ที่ความสูง 30 cm
5. แรงขนาด 80 N ที่ความสูง 80 cm

21. จากรูป จงหาขนาดของแรง P ที่กระทาในแนวราบผ่านจุดศูนย์กลางของทรงกระบอกที่มีมวล m รัศมี r แล้วทาให้


ทรงกระบอกเริ่มกลิ้งผ่านกล่องสี่เหลี่ยมที่มีความสูง h กาหนดให้ผิวสัมผัสไม่มีแรงเสียดทานใดๆ (กาหนดให้ค่าความเร่ง
เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ g) (PAT3 ก.ค.53)
mg(2r  h)
1. P 
r 2  h2

2. P 
mg r 2  h2
(2r  h)
P
mg(r  h) r
3. P 
2rh  h2
h
mg(r  h)
4. P 
2r 2  h2

mg 2rh  h2
5. P 
(r  h)
14

22. จากรูปกาหนดให้แรง 150 นิวตัน กระทาต่อล้อยางรถยนต์มวล 20 กิโลกรัม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร โดยแนว


แรงกระทาอยู่ในแนวราบและผ่านจุดศูนย์กลางของล้อ และกล่องสี่เหลี่ยมที่ขวางล้ออยู่มีความสูง 10 เซนติเมตร ถ้าไม่คิด
แรงเสียดทานใดๆ ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง กาหนดให้ g = 10 เมตรต่อวินาที2 (PAT3 มี.ค.53)

150
r
h

1. ล้อกลิ้งข้ามกล่องได้พอดี
2. ล้อจะกลิ้งข้ามกล่องไปได้สบายเนื่องจากแรงที่ออกมีค่ามากกว่าแรงน้อยที่สุดที่ทาให้ล้อข้ามได้พอดี
3. ล้อไม่สามารถกลิ้งข้ามกล่องได้เพราะแรงที่ออกไม่มากพอ
4. ล้อกลิ้งข้ามกล่องไม่ได้เนื่องจากแรงที่ออกน้อยกว่าน้าหนักของกล่อง
5. คิดไม่ได้เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ
15

ข้อสอบPAT3 สภาพยืดหยุ่น
23. เมื่อนาแท่งเหล็กยาวมาดึงที่ปลายข้างหนึ่ง โดยที่ยึดปลายอีกข้างหนึ่งไว้ วัสดุจะเปลี่ยนแปลงตามเส้นทางการเดินของ
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงดึงกับความยาวที่ยืดออกจากจุด O ไปยังจุด a (ขีดจากัดการแปรผันตรง) ไปยัง
จุด b (ขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น) และไปยังจุด c ตามลาดับดังรูป เมื่อปล่อยแรงดึงแล้วแท่งเหล็กจะคืนตัวในเส้นทางใด
(PAT3 มี.ค.52)

b c

1. c b a O a

2. c b a d
3. c O
4. c d

O d

24. ฐานเครื่องจักรมีขนาดพื้นที่หน้าตัด 20 ตารางเซนติเมตร เกิดความเค้นอัด 4 จิกะนิวตันต่อตารางเมตรขึ้นบนฐาน


เนื่องจากน้าหนักของตัวเครื่องจักรเอง จงหาค่าน้าหนักของตัวเครื่องจักร (PAT3 ก.ค.52)
1. 8 กิโลนิวตัน
2. 80 กิโลนิวตัน
3. 800 กิโลนิวตัน
4. 8000 กิโลนิวตัน
16

25. มวล 2 ก้อน ถูกยึดติดด้วยลวดโลหะ B ดังรูป โดยลวดโลหะดังกล่าวมีความสามารถทนแรงดึงเท่ากับ 10,000 นิว


ตัน/ตารางเซนติเมตร ถ้ามวลทั้งสองถูกดึงขึ้นด้วยอัตราเร่ง 10 เมตร/วินาที2 จงคานวณหาพื้นที่หน้าตัดน้อยที่สุดของลวด
โลหะ B ที่จะสามารถทนแรงดึงที่เกิดขึ้นได้อย่างปลอดภัย กาหนดให้ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10
เมตร/วินาที2 และไม่คิดน้าหนักของลวดโลหะ B (พื้นที่หน่วยเป็นตารางเซนติเมตร) (PAT3 ก.ค.53)
T
1. 4 ตารางเซนติเมตร
2. 40 ตารางเซนติเมตร
3. 0.4 ตารางเซนติเมตร 1.5
4. 400 ตารางเซนติเมตร B
5. 2 ตารางเซนติเมตร
2

26. จากรูปเสาไม้ฝังอยู่ในพื้นสูงจากระดับพื้น 4 เมตร มีลวดสลิงยาวทั้งหมด 10 เมตรขึงอยู่ด้วยแรงตึงในลวดอยู่ที่ 10


นิวตันทั้งสองฝั่งของเสาไม้ ความยาวลวดแต่ละข้างของเสาเท่ากับ 5 เมตร จงหาค่า ความเครียด (Strain) x 10-8 ที่
เกิดขึ้นในเสาไม้ เสาไม้มีพื้นที่หน้าตัด 2 ตารางเมตร และมีค่ามอดูลัสของยัง (Young’s Modulus) = 100x106 นิวตัน
ต่อตารางเมตร (PAT3 ต.ค.52)

5 5
4
17

27. วิศวกรออกแบบเลือกใช้ท่อนเหล็กสาหรับรองรับโครงสร้างที่ไม่ยอมให้มีการเปลี่ยนรูปแบบถาวรได้ เขาทราบว่าวัสดุที่


เขาเลือกใช้สามารถรับความเค้นสูงสุดได้ 400 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร และรับแรงดึงครากได้ 240 นิวตันต่อตาราง
มิลลิเมตร แรงกระทาที่เกิดขึ้นต่อชิ้นส่วนนี้มีขนาดระหว่าง 120 ถึง 180 กิโลนิวตัน ระหว่างการใช้งานชิ้นส่วนซึ่งมีความ
ยาว 1.5 เมตรนี้ ไม่สามารถยึดหรือหดตัวมากเกินกว่า 1 มิลลิเมตร เพื่อให้การทางานของโครงสร้างถูกต้อง เหล็กมี
โมดูลัสความยืดหยุ่น 200 x 103 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร วิศวกรนายนี้ต้องเลือกใช้เหล็กที่มีขนาดพื้นที่หน้าตัดอย่าง
น้อยเท่าไร (PAT3 ก.ค.52)
1. 450 ตารางมิลลิเมตร
2. 750 ตารางมิลลิเมตร
3. 900 ตารางมิลลิเมตร
4. 1350 ตารางมิลลิเมตร
18

ฝึกทาเองดูPAT3 3.สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
28. เมื่อแขวนน้าหนัก 100 นิวตันตามรูป เพื่อให้สมดุลตามรูป น้าหนักถ่วง W ควรมีค่ากี่นิวตัน (PAT3 เม.ย.57)

53o 30o
w

100 N

29. ถ้ามวล A ขนาด 10 กิโลกรัม มวล C ขนาด 85 กิโลกรัม และระบบอยู่ในสมดุล จงหาระยะยืดของสปริงเป็น


เมตร ถ้าค่านิจของสปริง คือ 10,000 นิวตันต่อเมตร (PAT3 ต.ค.54)

k o
A 45
C

B
19

30. เครนมวล 3,000 กิโลกรัม ยกของมวล 104 กิโลกรัม ซึ่งสามารถหมุนได้รอบจุด A และวางพักหยุดบนตาแหน่ง B


ดังรูป อยากทราบว่าแรงปฏิกิริยาที่จุด B จะมีค่ากี่นิวตัน (PSU 49)

1. 1.4x104 A
2. 5.6x104
3. 1.4x105 4.0 m
4
4. 5.6x105
B 2.0 m 3000 kg 10 kg

5.0 m

31. จากรูปล้อยางรถยนต์มวล 20 กิโลกรัม รัศมี 50 เซนติเมตร มีแรง P มาดึงที่จุดศูนย์กลางของล้อ โดยทามุม 37o


กับแนวราบ ถ้ามีกล่องสี่เหลี่ยมความสูง 10 เซนติเมตรขวางล้ออยู่และกล่องถูกยึดกับพื้น จงหาขนาดของแรง P ที่ทาให้
ล้อกลิ้งข้ามกล่องได้พอดี (sin 37o = 0.6) (PAT3 มี.ค.54)
1. 300 N
2. 240 N
P
3. 210 N 37 o
4. 200 N
5. 120 N r
h
20

32. ลวดเหล็กกล้าสาหรับดึงลิฟต์เครื่องหนึ่งมีขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น 1.86x108 นิวตันต่อตารางเมตร และมีพื้นที่หน้าตัด


เท่ากับ 2.5 ตารางเซนติเมตร ถ้าลิฟต์มีมวล 800 กิโลกรัม และบรรทุกผู้โดยสาร 10 คน ซึ่งมีมวลเฉลี่ยคนละ 75
กิโลกรัม ลิฟต์ตัวนี้จะสามารถเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่งสูงสุดกี่เมตรต่อวินาที2 โดยลวดเหล็กกล้าที่ดึงลิฟต์จะไม่ยืดเกิน
ขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น กาหนดให้ g = 10 เมตรต่อวินาที2 (PAT3 ต.ค.52)

You might also like