You are on page 1of 19

วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

ชื่อ-นามสกุล.............................................................................................................เลขที่................ชั้น.....................

เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง
พหุนาม
เอกนาม
นิพจน์ (expression) คือ ข้อความที่เขียนให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ต่าง ๆ แต่ในทางพีชคณิตจะมีการใช้ตัวอักษร เช่น a, b,
c, A, B, C แทนจานวนต่าง ๆ ที่เราต้องการ โดยมีตัวอย่าง เช่น .......................................................................................................

โดยเรียกตัวอักษรว่า....................................................และตัวเลขเรียกว่า....................................................

ข้อตกลงในการเขียนผลคูณระหว่างค่าคงตัวและตัวแปร
1) กรณีที่มีค่าคงตัวมากกว่า 1 ตัว ให้หาผลคูณของค่าคงตัวก่อน แล้วเขียนผลลัพธ์ไว้หน้าตัวแปร
เช่น 2  3 4  x เขียนได้เป็น....................................................
2) กรณีที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว ให้เขียนเรียงลาดับตัวอักษรและเขียนเรียงชิดติดกันไปและใช้รูปเลขยกกาลังถ้ามีตัว
7
แปรซากัน เช่น  m m n เขียนได้เป็น....................................................
5
3 a  b  a  b  c  4 เขียนได้เป็น....................................................
3) กรณีที่ค่าคงตัวเป็น 1 ไม่ต้องเขียนค่าคงตัว ถ้าค่าคงตัวเป็น -1 ให้เขียนเฉพาะเครื่องหมายลบหน้าตัวแปรทังหมด
เช่น 1 x  y เขียนได้เป็น....................................................
 1  y  z  x เขียนได้เป็น....................................................

นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป และเลขชี้กาลังของตัว
แปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจานวนเต็มบวก เรียกว่า................................................................

1
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

ตัวอย่างนิพจน์ที่เป็นเอกนาม ตัวอย่างนิพจน์ที่ไม่เป็นเอกนาม

ส่วนที่เป็นค่าคงตัว เรียกว่า .................................................


เอกนาม
ส่วนที่เป็นตัวแปรหรืออยู่ในรูปการคูณของตัวแปร โดย
ผลบวกของเลขชี้กาลังของตัวแปรทั้งหมดในเอกนาม
เรียกว่า...............................................................................

เช่น 2xy เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

 xy 2 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

22 a3b4 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

8 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

x เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

1
เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................
a 2

xyz 2 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................


3

2
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

เอกนามคล้าย
เอกนาม 2 เอกนามใด ๆ จะเป็นเอกนามคล้ายกันก็ต่อเมื่อ
1. เอกนามทั้งสองมีตัวแปรชุดเดียวกัน
2. เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวในเอกนามทั้งสองเท่ากัน

ตัวอย่างเอกนามที่คล้ายกัน ตัวอย่างเอกนามที่ไม่คล้ายกัน

……………………….คล้ายกันกับ………………………. ……………………….ไม่คล้ายกันกับ……………………….
……………………….คล้ายกันกับ………………………. ……………………….ไม่คล้ายกันกับ……………………….
……………………….คล้ายกันกับ………………………. ……………………….ไม่คล้ายกันกับ……………………….

การบวกและการลบเอกนาม

การบวกและการลบเอกนามใด ๆ มีหลักการดังนี้
1. เอกนามที่จะนามาบวกหรือลบกันจะต้องเป็นเอกนามที่คล้ายกัน
2. ผลลัพธ์ที่ได้มาจากการนาสัมประสิทธิ์ของเอกนามมาบวกหรือลบกัน ส่วนตัวแปรยังเป็นชุดเดิม

การบวกเอกนาม

ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน =…………………………………………………………………………………………………………………..........

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี
1) 3x  4 x 2)  7 xy 2   2 xy 2 3) s 3t 3   5s 3t 3 

4)  4ab    ab  5)  2 y3   3 y3   3 y3 

3
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

วิธีทา 1) 3x  4 x

2)  7 xy 2   2 xy 2

3) s 3t 3   5s 3t 3 

4)  4ab    ab 

5)  2 y3   3 y3   3 y3 

*** สาหรับเอกนามไม่คล้ายกัน เช่น xy กับ 2 y3 นัน ไม่สามารถเขียนผลบวกในรูปเอกนามได้ แต่เขียนผลบวกใน


รูปการบวกได้เป็น .......................................................

การลบเอกนาม

การลบเอกนาม อาศัยหลักการเช่นเดียวกับการลบจานวนสองจานวนที่กล่าว่า “การลบ คือ การบวกด้วย


จานวนตรงข้ามของตัวลบ ” ตามข้อตกลงดังนี

ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ

4
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

การลบเอกนามสองเอกนามที่คล้ายกัน  ..................................................................................................................
เช่น 4a 2  3a 2  ………………………………………… แล้วจึงใช้หลักการบวกเอกนามที่คล้ายกัน

ผลลบของเอกนามที่คล้ายกัน =………………………………………………………………………………………………………..........................

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี

1) 5xy  2 xy 2) 6a 2b   3a 2b  3)  2 x2   4 x2

4)  3mn   (3mn) 5) 9 x  4 x   8 x 

วิธีทา 1) 5xy  2 xy

2) 6a 2b   3a 2b 

3)  2 x2   4 x4

4)  3mn   (3mn)

5) 9 x  4 x   8 x 

5
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

*** สาหรับเอกนามไม่คล้ายกัน เช่น 4x ลบด้วย 5xy นัน ไม่สามารถเขียนผลลบในรูปเอกนามได้ แต่เขียนผล


ลบในรูปการลบได้เป็น .......................................................

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี

1) 12mn  6mn  4mn 2) 5 x 2 y  9 xy 2  4 x 2 y

1 2 2
3) ab  2ab 2  a 2b  ab 2
2 3

วิธีทา 1) 12mn  6mn  4mn

2) 5 x 2 y  9 xy 2  4 x 2 y

1 2 2
3) ab  2ab2  a 2b  ab2
2 3

6
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

พหุนาม

พหุนาม (Polynomial) คือ จานวนที่เขียนในรูปเอกนาม หรือผลบวกของเอกตังแต่ 2 เอกนามขึนไป

เช่น ............................................................................................................................. ..................

ดีกรีของพหุนาม คือ ดีกรีที่สูงที่สุดของเอกนามซึ่งอยู่ในพหุนามชุดนัน

เช่น 5 x 2 y  3xy 2  7 x 2 y 3 เป็นพหุนามดีกรี ...............................


2 4a 2b 2
 a 4b 2  1  3abc เป็นพหุนามดีกรี ..............................
3 c

พหุนามในรูปผลสาเร็จ คือ พหุนามที่ไม่มีเอกนามคล้ายกันประกอบอยู่

เช่น

3x2  14  7 x2  2 =  3x 2
 7 x 2   14  2 

= 4 x 2  16

เอกนามแต่ละเอกนามที่อยู่ในพหุนาม เรียกว่า ……………………………………………..

พหุนามที่มีเอกนามที่คล้ายกัน เรียกว่า ……………………………………………..

ตัวอย่างที่ 4 จงทาให้เป็นผลสาเร็จและบอกดีกรีของพหุนาม

1) 7 x2  9 x  5x2  2 x  6 2) 4 xy  8 y  10 x  y 

วิธีทา 1) 7 x2  9 x  5x2  2 x  6

ดีกรีของพหุนาม เท่ากับ
7
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

2) 4 xy  8 y  10 x  y 

ดีกรีของพหุนาม เท่ากับ

การบวกและการลบของพหุนาม
หลักการของบวกและการลบพหุนามเหมือนกับการบวกและการลบเอกนาม คือ นาสัมประสิทธิ์ของเอกนามที่คล้ายกัน
มาบวกหรือลบกัน

การบวกพหุนาม

หลักการบวกพหุนามมี 2 วิธี
1. การบวกตามแนวนอน  เขียนพหุนามทั้งสองในรูปการบวกและรวมพจน์ที่คล้ายกันเข้าด้วยกัน
2. การบวกตามแนวตั้ง  เขียนพจน์ที่คล้ายกันอยู่ในแนวตั้งที่ตรงกัน แล้วทาการบวกพจน์ที่คล้ายกัน

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลบวกของพหุนามต่อไปนี
1) 16 x 2  5 x  9    7 x 2  2 x  3
2)  2 x 2  1   x 2  x  2 
3) 13x 2  9 xy  y 3    2 x3  8x 2 y  2 y 3    2 x 2 y  5xy 2  y 3 
วิธีทา 1) การบวกตามแนวนอน เขียนพหุนามให้อยู่ในรูปการบวกดังนี

16 x 2
 5 x  9    7 x 2  2 x  3

8
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

การบวกตามแนวตั้ง ตั้งพจน์ที่คล้ายกันให้ตรงกันแล้วทาการบวกดังนี้
16 x 2  5x  9
+
7 x  2x  3
2

ดังนัน 16 x 2  5 x  9    7 x 2  2 x  3 
2) การบวกตามแนวนอน เขียนพหุนามให้อยู่ในรูปการบวกดังนี

 2x 2
 1   x 2  x  2 

การบวกตามแนวตั้ง ตั้งพจน์ที่คล้ายกันให้ตรงกันแล้วทาการบวกดังนี้

ดังนัน

9
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

3) การบวกตามแนวนอน เขียนพหุนามให้อยู่ในรูปการบวกดังนี

13x 2
 9 xy  y 3    2 x3  8 x 2 y  2 y 3    2 x 2 y  5 xy 2  y 3 

การบวกตามแนวตั้ง ตั้งพจน์ที่คล้ายกันให้ตรงกันแล้วทาการบวกดังนี้

ดังนัน
10
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

การลบพหุนาม

หลักการลบพหุนามมี 2 วิธี

1. การลบตามแนวนอน  เปลี่ยนการลบให้อยู่ในรูปการบวกของพหุนามที่เป็นตัวตั้งกับพหุนามตรง
ข้ามของพหุนามตัวลบ แล้วทาการบวกพจน์ที่คล้ายกัน
“พหุนามตัวตั้ง – พหุนามตัวลบ = พหุนามตัวตั้ง + พหุนามตรงข้ามกับตัวลบ”

2. การลบตามแนวตั้ง  ตั้งพจน์ที่คล้ายกันให้อยู่ตรงกัน ใช้หลักการลบพหุนามจะบวกพหุนามที่


เป็นตัวตั้งด้วยพหุนามนามตรงข้ามของพหุนามตัวลบ

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลลัพธ์ของ (3x 2  4 x  1)  (2 x 2  x  1)

วิธีทา พหุนามตรงข้ามของ 2 x2  x 1 คือ


การลบตามแนวนอน
(3x 2  4 x  1)  (2 x 2  x  1)

การลบตามแนวตั้ง
3x 2  4 x  1
+
2 x  x  1
2

ดังนัน (3x 2  4 x  1)  (2 x 2  x  1) 

11
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

ตัวอย่างที่ 6 จงทาให้เป็นผลสาเร็จ  2 x 2  3x  1   x 2  x  2    4 x3  x  1
วิธีทา พหุนามตรงข้ามของ x2  x  2 คือ
พหุนามตรงข้ามของ 4 x3  x  1 คือ
การลบตามแนวนอน

การลบตามแนวตัง

ดังนัน
12
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

การคูณพหุนาม

การคูณระหว่างเอกนามกับเอกนาม

การคูณระหว่างเอกนามกับเอกนาม  นาค่าคงตัวในแต่ละเอกนามมาคูณกัน
และนาตัวแปรในแต่ละเอกนามมาคูณกัน โดยใช้สมบัติของเลขยกกาลัง

ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลคูณของจานวนต่อไปนี
1.  x  x 
4 3
2.  4m  6m 
2 5
3.  3x y  4 x y 
4 5 7 2

วิธีทา 1.  x  x 
4 3

2.  4m  6m 
2 5

3.  3x y  4 x y 
4 5 7 2

13
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

การคูณระหว่างเอกนามกับพหุนาม

การคูณระหว่างเอกนามกับพหุนาม  ใช้สมบัติแจกแจงในการหาผลคูณระหว่างเอกนาม
กับทุก ๆ พจน์ของพหุนาม แล้วนาผลคูณที่ได้มาเขียนอยู่ในรูปการบวกหรือการลบ

ตัวอย่างที่ 8 จงหาผลคูณของจานวนต่อไปนี
1.  7 x   4 x 2  6 x  2. 6x 2
 7 x  9  3x 2 

วิธีทา

1.  7 x   4 x 2  6 x  =  7 x   4 x 2    7 x  6 x 

2. 6x 2
 7 x  9  3x 2  =

การคูณระหว่างพหุนามกับพหุนาม

การคูณระหว่างพหุนามกับพหุนาม  นาแต่ละพจน์ของพหุนามหนึ่งคูณกับทุก ๆ พจน์


ของอีกพหุนามหนึ่ง แล้วนาผลคูณที่ได้มาบวกหรือลบกัน ให้เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จ

การคูณในแนวนอน  ใช้สมบัติการแจกแจงในการหาผลคูณ
การคูณในแนวตั้ง  การตั้งคูณ โดยเรียงดีกรีของพหุนาม
จากมากไปหาน้อย หรือดีกรีน้อยไปหามาก

14
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม
ตัวอย่างที่ 9 จงหาผลคูณของจานวนต่อไปนี
1.  x  8 x  3 2.  x  2   x 2  3x  2 
วิธีทา 1. การคูณในแนวนอน  x  8 x  3

การคูณในแนวตัง
x 8

x 3

ดังนัน  x  8 x  3 =
2. การคูณในแนวนอน  x  2   x 2  3x  2 

15
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม
การคูณในแนวตัง

x 2  3x  2

x  2

ดังนัน  x  2   x 2  3x  2  =

การหารพหุนาม

การหารเอกนามด้วยเอกนาม

การหารเอกนามด้วยเอกนาม  นาค่าคงตัวในแต่ละเอกนามมาหารกัน และนาตัวแปรใน


แต่ละเอกนามมาหารกัน โดยใช้สมบัติของเลขยกกาลัง

ตัวอย่างที่ 10 จงหาผลหารต่อไปนี
1. x3 y 2  xy 2. 15x 2 y  3xy 3. 4x 6 y 4 z  x5 y 3

วิธีทา 1. x3 y 2  xy

16
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม
2. 15x 2 y  3xy

3. 4x 6 y 4 z  x5 y 3

การหารพหุนามด้วยเอกนาม

ตรวจคาตอบ
การหารพหุนามด้วยเอกนาม  นาเอกนามที่เป็นตัวหารไป
ผลหาร × ตัวหาร = ตัวตั้ง
หารทุกพจน์ของพหุนามที่เป็นตัวตั้ง แล้วนาผลหารที่ได้มาบวกกัน

ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลหารต่อไปนี
5 x 2 y  10 xy 2 16 x 4  28 x 3 5 x 3  9 x 2  18 x
1. 2. 3.
5 xy 4 x 3x

5 x 2 y  10 xy 2 5 x 2 y 10 xy 2 ตรวจคาตอบ
วิธีทา 1. = 
5 xy 5 xy 5 xy

17
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

16 x 4  28 x 3
2. ตรวจคาตอบ
4 x

5 x 3  9 x 2  18 x ตรวจคาตอบ
3.
3x

18
วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พหุนาม

19

You might also like