You are on page 1of 16

พหุ น าม

OUTLINE
เอกนาม พหุนาม
เอกนามคล้าย การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบเอกนาม การคูณพหุนาม
เอกนามกับพหุนาม
พหุนามกับพหุนาม

การหารพหุนาม
การหารเอกนามด้วยเอกนาม
การหารพหุนามด้วยเอกนาม
นิพจน์ (expression) คือ ข้อความที่เขียนให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ต่าง ๆ แต่ในทางพีชคณิต
จะมีการใช้ตัวอักษร เช่น a, b, c, A, B, C แทนจานวนต่าง ๆ ที่เราต้องการ โดยมีตัวอย่าง
1 2
เช่น 3 , 3x , x , 4x  y เป็นต้น
7

โดยเรียกตัวอักษรว่า ตัวแปร (Variable) และตัวเลขเรียกว่า ค่าคงตัว (Constant)

ข้อตกลงในการเขียนผลคูณระหว่างค่าคงตัวและตัวแปร
1) กรณีที่มีค่าคงตัวมากกว่า 1 ตัว ให้หาผลคูณของค่าคง
เช่น 2  3 4  x เขียนเป็น 24x
ตัวก่อน แล้วเขียนผลลัพธ์ไว้หน้าตัวแปร
2) กรณีที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว ให้เขียนเรียงลาดับตัวอักษรและเขียนเรียงชิดติดกันไป
และใช้รูปเลขยกกาลังถ้ามีตัวแปรซากัน
7 7 2
เช่น 5
 m m n เขียนเป็น 5
mn

3 a  b  a  b  c  4 เขียนเป็น 12a 2b2c

3) กรณีที่ค่าคงตัวเป็น 1 ไม่ต้องเขียนค่าคงตัว ถ้าค่าคงตัวเป็น -1


ให้เขียนเฉพาะเครื่องหมายลบหน้าตัวแปรทังหมด

เช่น 1 x  y เขียนเป็น xy

 1  y  z  x เขียนเป็น  xyz


เอกนาม
เอกนาม (monomial) คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตังแต่หนึ่งตัวขึน
ไป และเลขชีกาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจานวนเต็มบวก
ตัวอย่างนิพจน์ที่เป็นเอกนาม ตัวอย่างนิพจน์ที่ไม่เป็นเอกนาม

1 1
4x
2x , x 4 ,
3z 6
, 7x ,
2 y
xy , 3
3
2  5x , 2 x  5 y  z
2
ส่วนที่เป็นค่าคงตัว เรียกว่า “สัมประสิทธิ์ของเอกนาม”
เอกนาม
ส่วนที่เป็นตัวแปร โดยผลบวกของเลขชีกาลังของตัวแปรทังหมดในเอกนาม
เรียกว่า “ดีกรีของเอกนาม”

เช่น 2
2xy เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................
2
1
 xy 2 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. 3
มีดีกรีเป็น.............................
2 2
 4 มีดีกรีเป็น.............................
2 a b เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น.............................
2 3 4 7
8
8 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. 0
มีดีกรีเป็น.............................
xyz 2 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น.............................
1 4
มีดีกรีเป็น.............................
3 3
เอกนามคล้าย
เอกนาม 2 เอกนามใด ๆ จะเป็นเอกนามคล้ายกันก็ต่อเมื่อ
1. เอกนามทังสองมีตัวแปรชุดเดียวกัน
2. เลขชีกาลังของตัวแปรแต่ละตัวในเอกนามทังสองเท่ากัน
ตัวอย่างเอกนามที่คล้ายกัน ตัวอย่างเอกนามที่ไม่คล้ายกัน

………………………….คล้
4x 9x
ายกันกับ…………………………. ………………………….ไม่
5x คล้ายกันกับ………………………….
5y
2 2 2 2
2yx
………………………….คล้ายกันกับ………………………….
3x y 2x y 2xy
………………………….ไม่คล้ายกันกับ………………………….
a
………………………….คล้ า ยกั น กั บ a
…………………………. 24x 2 4
y 12xy 2
………………………….ไม่คล้ายกันกับ………………………….
b 2 b 2
การบวกและการลบเอกนาม

การบวกและการลบเอกนามใด ๆ มีหลักการดังนี
1. เอกนามที่จะนามาบวกหรือลบกันจะต้องเป็นเอกนามที่คล้ายกัน
2. ผลลัพธ์ที่ได้มาจากการนาสัมประสิทธิ์ของเอกนามมาบวกหรือลบกัน ส่วนตัวแปรยังเป็นชุดเดิม

การบวกเอกนาม

ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) × (ชุดของตัวแปรที่คล้ายกัน)


ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี

1) 3x  4 x 2)  7 xy 2
  2 xy 2
3) s 3t 3   5s 3t 3 

4)  4ab    ab  5)  
2 y 3
 3 y 3
  
3 y 3

วิธีทา 1) 3x  4 x = 3  4 𝑥 2)  7 xy   2 xy
2 2
=   7   2 xy 2

= 5xy 2
= 7x
3) s 3t 3   5s 3t 3  = 1   5  s t
3 3

= 4s3t 3

4)  4ab    ab  =  4   1  ab


= 5ab

5)  
2 y 3
 3 y 3
  
3 y 3
=   2   3   3   y 3

= 2 y 3

*** สาหรับเอกนามไม่คล้ายกัน เช่น xy กับ 2 y 3 นัน ไม่สามารถเขียนผลบวกในรูปเอกนามได้ แต่เขียน


ผลบวกในรูปการบวกได้เป็น xy  2 y 3
การลบเอกนาม

การลบเอกนาม อาศัยหลักการเช่นเดียวกับการลบจานวนสองจานวนที่กล่าวว่า
“การลบ คือ การบวกด้วยจานวนตรงข้ามของตัวลบ” ตามข้อตกลงดังนี

ตัวตัง – ตัวลบ = ตัวตัง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ

การลบเอกนามสองเอกนามที่คล้ายกัน  เขียนการลบให้อยู่รูปการบวก
เช่น 4a 2  3a 2  4a 2   3a 2  แล้วจึงใช้หลักการบวกเอกนามที่คล้ายกัน
ผลลบของเอกนามที่คล้ายกัน = (ผลลบของสัมประสิทธิ์) × (ชุดของตัวแปรที่คล้ายกัน)

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี

1) 5xy  2 xy 2) 6a 2b   3a 2b  3)  2 x   4 x
2 4

4)  3mn   (3mn) 5) 9 x  4 x   8 x 

วิธีทา 1) 5xy  2 xy = 5 xy   2 xy 

= 5   2  xy
= 3xy
2) 6a 2b   3a 2b  = 6a 2b  3a 2b 5) 9 x  4 x   8 x  =  9 x    4 x   8 x

= 9a 2b = 5x

3)  2 x   4 x
2 2 =    
2 x 2
 4 x 2

= 6x 2 *** สาหรับเอกนามไม่คล้ายกัน เช่น 4x ลบด้วย 5xy


นัน ไม่สามารถเขียนผลลบในรูปเอกนามได้ แต่เขียนผล
4)  3mn   (3mn) =  3mn   3mn
ลบในรูปการลบได้เป็น 4 x  5xy
= 0
พหุนาม

พหุนาม (Polynomial) คือ จานวนที่เขียนในรูปเอกนาม หรือผลบวกของเอกตังแต่ 2 เอกนามขึนไป


เช่น  3 , 8s , 5 y  7 , 10 x  3 , x2  3 , 8x2  9 x  4 เป็นต้น
4

ดีกรีของพหุนาม
ดีกรีของพหุนาม คือ ดีกรีที่สูงที่สุดของเอกนามซึ่งอยู่ในพหุนามชุดนัน
เช่น
5 x 2 y  3xy 2  7 x 2 y 3 เป็นพหุนามดีกรี 5
2 4 2 4a 2b 2
 a b  1  3abc เป็นพหุนามดีกรี 6
3 c
พหุนามในรูปผลสาเร็จ
พหุนามในรูปผลสาเร็จ คือ พหุนามที่ไม่มีเอกนามคล้ายกันประกอบอยู่
เช่น

3x2  14  7 x2  2 =  3x 2
 7 x 2   14  2 

= 4 x 2  16

พจน์ (term)
เอกนามแต่ละเอกนามที่อยู่ในพหุนาม เรียกว่า ……………………………………………..

พจน์ที่คล้ายกัน
พหุนามที่มีเอกนามที่คล้ายกัน เรียกว่า ……………………………………………..
ตัวอย่างที่ 4 จงทาให้เป็นผลสาเร็จและบอกดีกรีของพหุนาม
1) 7 x2  9 x  5x2  2 x  6 2) 4 xy  8 y  10 x  y

วิธีทา 1) 7 x 2  9 x  5 x 2  2 x  6 = 7x 2
 5x2   9 x  2 x   6

= 2 x2  7 x  6

ดีกรีของพหุนาม คือ 2
2) 4 xy  8 y  10 x  y = 4 xy   8 y   y   10 x

= 4 xy  9 y  10 x

ดีกรีของพหุนาม คือ 2

You might also like