You are on page 1of 19

อาสภิวาจา – “ชาตินี้เป็นจักชาติสุดท้ายของเรา เหนือฟ้าใต้ล้าเราคือผู้ประเสริฐที่สุด” เป็นการแสดงเจตุจานงของพระพุทธเจ้า

ลักษณะของชมพูทวีป – อุตรกุรุ/อมรโคยาน/บพพวิเทห/ชมพู-ทวีป ศูนย์กลางเทือกเขาพระสุเมรุ มีแม่น้ามหานทีศรีธันดรล้อมรอบ


สัณฐาคาร – กษัตริย์ไม่มีอานาจใดๆ ทุกอย่างเป็นไปตามรัฐสภา
อปริหานิยธรรม – 1.ต้องมาประชุมกันเป็นเนืองนิตย์ 2.ต้องมา/เลิกให้เพรียกพร้อมกัน 3.ยึดมั่นในบทบัญญัติ (รัฐธรรมนูญ) 4.เคารพผู้ใหญ่ 5.ให้เกียรติสตรี 6.เคารพบูชาศาสนสถาน 7.ให้มี
คุ้มครองอารักขาผู้ทรงศีล
*พรามหณ์เชื่อในพรหมลิขิต แต่พุทธเชื่อในกรรมลิขิต*
*วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนายอมรับโลกสสารวัตถุ แต่โลกที่พ้นสสารวัตถุยังไม่ยอมรับ*
ลัทธิอัตตกิลมถานุโยค – การบาเพ็ญทุกขกิรยิ า
อริยสัจ 4 – ความจริงอันประเสริฐ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
ทุกข์(ปกิณกาทุกข์)(ปริญญา) – สภาวะทุกข์
สมุทัย(ตัณหา)(ปหานะ) – เหตุแห่งทุกข์
นิโรธ(นิพพาน)(สัจฉิกิรยิ า) – การดับทุกข์
มรรค(อริยมัค มรรคมีองค์ 8)(ภาวนา) - หนทางแห่งการดับทุกข์
อริยมรรค/มรรคมีองค์ 8
สัมมาทิฏฐฐิ – ความเห็นชอบ (ปัญญา)
สัมมาสังกัปปะ – ดาริชอบ (ปัญญา)
สัมมาวาจา – การเจรจาชอบ (ศีล)
สัมมากัมมันตะ – การกระทาชอบ (ศีล)
สัมมาอาชีวะ – เลี้ยงชีพชอบ (ศีล)
สัมมาวายามะ – เพียรพยายามชอบ (สมาธิ)
สัมมาสติ – ระลึกชอบ (สมาธิ)
สัมมาสมาธิ – จิตตั้งมั่นชอบ (สมาธิ)
ทั้งหมดนี้เราเรียกว่า “มัชฌิมาปฏฐิปทา” การเดินทางสายกลาง
การที่มีทั้ง อธิปัญญาสิกขา อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา เรียกว่า “ไตรสิกขา”
ศีลสิกขา - กากับด้วย เบญจศีล + เบญจธรรม
จิตสิกขา – ตั้งมั่นให้จิตดีงาม ให้พ้นจาก นิวรณ์ 5 (กิเลส)
ปัญญาสิกขา - เป็นแนวทางให้บรรลุมรรคผลและนิพพาน
ปัจจัยสนับสนุนของการศึกษา
1.องค์ประกอบภายนอก (ปรโตโฆสะ)
2.องค์ประกอบภายใน (โยนิโสมนสิการ)
- อุบายมนสิการ คิดอย่างมีอุบาย
- ปถมสิการ การคิดอย่างเป็นระบบ
- การณมนสิการ คิดอย่างมีเหตุผล
- อุปปาทกมนสิการ คิดอย่างมีเป้าหมาย
ปฏฐิจจสมุปบาท(อิทัปปัจจยตา) - กฏฐแห่งเหตุผล
ปัจฉิมโอวาท – คาพูดสุดท้ายของพระพุทธเจ้าก่อนจะนิพพาน “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายย่อมมีเสื่อมไปเป็นธรรมดาพวกเธอทั้งหลายจงยังประโยนช์ของตกและเพื่อผู้อื่นไปโดยไม่
ประมาทเถิด”
ลักษณะที่เป็นคาสั่ง – วินัย/ศีล
ลักษณะที่เป็นคาสอน – ธรรม
ทั้งสองอันให้ประโยชน์คือความสุขแก่บุคคล สังคมและโลก
ทิฏฐฐธัมมิกัตถะ – ประโยชน์ในปัจจุบัน
อุฏฐฐานสัมปทา – ความขยันหมั่นเพียร
อารักขสัมปทา - รักษาทรัพย์ที่หามาได้
กัลป์ยาณมิตตตา - คบเพื่อนดี
สมชีวิตา - เลี้ยงชีพพอสมควร
สัมมาปรายิกัตถะ – ประโยชน์ภายหน้า
สัทธาสัมปทา – ความเชื่อที่ถูกต้อง
สีลสัมปทา – ศีลบริสุทธิ์ ไม่เบียดเบียน
จาคสัมปทา – การบริจาค
ปัญญาสัมปทา - พร้อมด้วยปัญญา
ปรมัตถะ – ประโยชน์อย่างยิ่ง
การดับกิเลศ
อริยมรรค

สังควัตถุ 4 – หลักในการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้อื่น
ทาน – การให้
ปิยวาจา – วาจาไพเราะ
อัตถจริยา – ช่วยเหลือเต็มที่
สมานัตตตา – วางตรเสมอต้นเสมอปลาย
พรหมวิหาร 4 – หลักในการเป็นผู้นา
เมตตา - ปรารถนาดี
กรุณา - ผู้อื่นพ้นทุกข์
มุติทา - ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี
อุเบกขา – ใจเป็นกลาง
หลักธรรมในอริยสัจ 4
ทุกข์ : ขันธ์ 5
รูปขันธ์(เบญขันธ์) – รูป
ปฐวีธาตุ – ธาตุดิน
อาโปธาตุ – ธาตุน้า
เตโชธาตุ – ธาตุไฟ
วาโยธาตุ - ธาตุลม
นามขันธ์ – เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ทุกเวทนา - ทุกข์ใจ
สุขเวทนา - สบายใจ
อุเบกขเวทนา – เฉยๆ
สัญญาขันธ์ – ความจาได้หมายรู้
สังขารขันธ์ – สภาพที่ปรุงแต่งจิต โดยมีเจตาเป็นตัวนา
กุศล – แต่งจิดให้ดี
อกุศล – แต่งจิดให้ช่วย อัพยากฤต - แต่งจิดให้เป็นกลาง
วิญญาณ 6
จักขุ – การเห็น
โสต – การได้ยิน
ฆาน – การได้กลิ่น
ชิวหา – การรับรส
กาย – การสัมผัส
มโน – การคิด
นิยาม 5 – ความเป็นไปอันแน่นอนของธรรมชาติ
อุตุนิยาม – อุณหภูม/ิ ปรากฏฐการณ์
พีชนิยาม - สิ่งมีชีวิตในเรื่องต่างๆ
จิตนิยาม – การทางานของจิต
กรรมนิยาม – พฤติกรรมของมนุษย์/กระบวนการกระทา
ธรรมนิยาม – เกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุเป็นผลกัน
(อิทัปปัจจัยยตา)

สมุทัย : วิตก 3 – ความคิด นึกคิด ดาริ


กุศลวิตก 3 – ความนึกคิดในเรื่องดี 3 ประการ
เนกขัมวิตก – คิดออกจากกาม
อพยาบาทวิตก – คิดมีเมตตากรุณา
อวิหิงสาวิตก - คิดมีกรุณาไม่ทาร้ายผู้อื่น
สมุทัย : อกุศลวิตก 3 – ความนึกคิดในเรื่องไม่ดี 3 ประการ
กามวิตก – โลภอยากได้ของผู้อื่น
พยาบาทวิตก – อาฆาตและเกลียดชัง
วิหิงสาวิตก – เบียบเบียน จ้องทาร้าย
นิโรธ : ภาวนา 4 - การทาให้มีขึ้น ให้เกิดขึ้น ให้เจริญขึ้น
กายภาวนา – อบรมกาย
สีลภาวนา – อบรมสีล
จิตตภาวนา – อบรมจิต
ปัญญาภาวนา – อบรมปัญญา
มรรค : สัทธรรม - หลักแก่นของพระพุทธศาสนา
ปริยัติ – ศึกษาเล่าเรียน
ปฏฐิบัติ – ไตรสิกขา
ปฏฐิเวธ – ผลจากการปฏฐิบัติ (มรรค ผล นิพพาน)
ปัญญาวุติธรรม 4 – ธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม (ปฏฐิบัติแล้วจะนามาซึ่งความสุขความเจริญงอกงาม)
สัปปุริสสังเสวะ – คบคนดี
สัทธัมมัสสวะ – การฟังธรรม
โยนิโสมนสิการ – การใช้เหตุผล
ธัมมานุธัมมปฏฐิบตั ิ – การปฏฐิบัติตามสมควร
พละ 5 – ธรรมอันเป็นพลังนาไปสู่ความมั่นคง
สัททา/ศรัทธา – ความเชื่อมั่นในพุทธศาสนา
วิริยะ – ความเพียร
สติ – ระลึกได้
สมาธิ – ความตั้งมั่นแห่งจิต
ปัญญา - ความรอบรู้
อุบาสกธรรม – หลักธรรมของอุบาสกอุบาสิกาที่ดี
มีศรัทธา – เชื่อเรื่องกรรมและผลของกรรม
มีศีล – รักษากายวาจา
ไม่ถือมงคลตื่นข่าว – ไมเชื่อคาพูดที่ไร้เหตุผล
ไม่แสวงหาบุญเขตนอกพระพุทธศาสนา
ขวนขวายในการอุปถัมป์บารุงพระพุทธศาสนา
มงคล 38 : ข้อที่ 12 การสงเคราะห์บุตร
ประเภทของลูก – อภิชาต คุณธรรม > พ่อแม่ – อนุชาต คุณธรรม = พ่อแม่ – อวชาต คุณธรรม < พ่อแม่
ปัจจัยในการสงเคราะห์บุตร
สงเคราะห์ด้วยอามิส – ปัจจัยดารงชีพ
สงเคราะห์ด้วยธรรม – เลี้ยงดูด้วยการให้โอวาทสั่งสอน
มงคล 38 : ข้อที่ 13 การสงเคราะห์สามี/ภรรยา
สมชีวิธรรม 4 – หลักการเลือกคู่ครอง (ใช้เซนส์ตอบได้)
ฆราวาสธรรม 4 – หลักการครองเรือน 1.ซื่อสัตย์ต่อกัน (สัจจะ) 2.รู้จักข่มใจ (ทมะ) 3.อดทนอดกลั้น (ขันติ) 4.รู้จักการเสียสละ (จาคะ)
มงคล 38 : ข้อที่ 24 ความสันโดษ
ทุกข์ – โลกธรรม 8 (ความธรรมดาของโลก)
ฝ่ายอิฏฐฐารมณ์ – ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข
ฝ่ายอนิฏฐฐารมณ์ – เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์
สมุทัย – หลักกรรม
ทิฏฐฐธรรมเวทนียกรรม – กรรมที่ส่งผลในชาตินี้
อุปปัชชเวทนียกรรม – กรรมที่ส่งผลในอนาคต/ชาติหน้า
อปราปริยเวทนียกรรม – กรรมที่ส่งผลในชาติต่อๆไป
อโหสิกรรม – กรรมที่ไม่มีผลอีกแล้ว
ชนกกรรม – กรรมที่ชักนาให้เกิดหลังจากสิ้นภพนี้ไปแล้ว
อุปัตถัมภกกรรม - กรรมสนับสนุนและซ้าเติมต่อจากชนกกรรม ถ้ากรรมดีก็ส่งผลดียิ่งขึ้น ถ้ากรรมชั่วก็ชั่วขึ้น
ครุกกรรม – กรรมหนัก ให้ผลก่อนกรรมอื่น เช่น ฌานสมาบัติ (ดี) อนัตริยกรรม (ชั่ว)
พลุหกรรม/อาจิณณกรรม – กรรมที่ทาบ่อยๆจนชิน เกิดหลังจากครุกกรรม
อาสันนกรรม – กรรมจวนเจียน กรรมที่ทาเมื่อใกล้ตายเกิดหลังจาก ครุกกรรม และ พลุหกรรม
กตัตตากรรม/กตัตตาวาปนกรรม - ส่งผลสุดท้ายท้ายสุดเพราะเป็นกรรมที่เกิดจากความไม่ตั้งใจ
มิจฉาวณิชา 5 – การค้าขายที่ไม่ชอบ
สัตถวณิชชา – ค้าอาวุธ
สัตตวณิชชา – ค้ามนุษย์
มังสวณิชชา – การค้าสาหรับฆ่าเป็นอาหาร
มัชชวณิชชา – ค้าของมึนเมาสิ่งเสพติด
วิสวณิชชา - ค้ายาพิษ

นิโรธ – วิมุตติ 5 (ความหลุดพ้นความไม่มีกิเลส)


วิกขัมภนวิมุตติ – หลุดพ้นด้วยการข่มกิเลสไว้
ตทังควิทมุตติ – หลุดพ้นด้วยธรรมที่เป็นคู่ปรับ/คู่ตรงข้าม
สมุจเฉทวิมุตติ – หลุดพ้นอย่างเด็ดขาด
ปฏฐิปัสสัทธิวิมุตติ – หลุดพ้นอย่างสงบ
นิสสรณวิมุตติ - ความหลุดพ้นเป็นภาวะปลอดโปร่ง
มรรค – ปาปณิกรรม 3 (สมบัติในการค้าขาย)
จักขุมา – ตาดี ดูของเป็น
วิธูโร – จัดเจนธุรกิจ
นิสสยสัมปันโน – พร้อมด้วยแหล่งทุน
มรรค – ทิฏฐฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 (ธรรมที่เป็นประโยชน์ในปัจจุบัน)
อุฏฐฐานสัมปทา – ความขยันหมั่นเพียรในธุรกิจ
อารักขสัมปทา – รักษาทรัพย์สินที่หามาได้
กัลป์ยาณมิตตตา – การรู้จักคบหาสมาคม
สมชีวิตา – การเลี้ยงชีพตามสมควร
มรรค – โภคอาทิยะ 5 (ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากการเป็นเจ้าของโภคทรัพย์)
ใช้เลี้ยงดูตัวเอง ครอบรัว
ใช้บารุงมิตรสหาย ผู้ร่วมงาน
เก็บไว้ใช้เป็นหลักประกันในยามจาเป็น
ใช้ทาพลีกรรม (สละทรัพย์สิน)
ใช้อุปถัมป์บารุงสมณพราหมณ์
พลีกรรม
ญาติพลี – สงเคราะห์เกื้อกูลญาติพี่น้อง
อติถพิ ลี – ต้อนรับแขก
ราชพลี – บารุงสนับสนุนด้วยการเสียภาษีอากร
เทวดาพลี – บารุงเทวดา
ปุพพเปตพลี – ทาบุญอุทิศแก่บุพการี
มรรค – อริยวัฑฒิ (หลักปฏฐิบัติที่นาไปสู่ความเจริญงอกงาม)
ศรัทธา – ความเชื่อ
ศีล – คนที่มีจิตเป็นปกติ
สุตะ – หมั่นศึกษาหาความรู้
จาคะ – การรู้จักความเสียสละ
ปัญญา – ความรู้ความเข้าใจถ่องแท้
มรรค – มงคลชีวิต
จิตเกษม จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มั่วหมอง – มนุษย์จึงได้ดารงตนตาม สัปปุริสธรรม 7
สิ่งที่ทาให้คนเราเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุด
กามโยคะ – ความพอใจในกามรูปรสกลิ่นเสียง
ภวโยคะ – ความยินดีพอในใจรูป
ทิฏฐฐิโยคะ – ความยึดถือความคิดเห็นที่ผิดๆ
อวิชชาโยคะ – ความไม่รู้ในอริยสัจ 4

You might also like