You are on page 1of 26

รายวิชา คณิตศาสตร์

เรื่อง การหมุน
ในระบบพิกัดฉาก
รหัสวิชา ค22101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ผู้สอน ครูนงค์นุช สุกใส
การหมุน
ในระบบพิกัดฉาก
การหมุน
การหมุน คือ การแปลงรูปเรขาคณิต โดยหมุนรูปต้นแบบ
ทาให้จุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่ไปตามแนวเส้นรอบวง
ของวงกลม ซึ่งมีจุดตรึงจุดหนึ่ง เป็นจุดศูนย์กลางและ
จุดที่สมนัยกันทามุมที่จุดศูนย์กลางเท่ากัน
การหมุน
การหมุนรูปเรขาคณิตในระนาบต้องมีจุดหมุน ทิศทาง
ที่จะหมุนไป และขนาดมุมที่ต้องการหมุนรูปต้นแบบนั้น
โดยที่รูปเกิดจากการหมุนก็มีลักษณะคงเดิมกับรูปต้นแบบ
โดยที่จุดหมุนอาจอยู่บนรูปต้นแบบหรือนอกรูปต้นแบบก็ได้
ซ้าย = ลบ Y ขวา = บวก
บน = บวก
( ลบ, บวก ) ( บวก, บวก )
X

( ลบ, ลบ ) ( บวก, ลบ )
ล่าง = ลบ
Y
B A ข้อ 1
B/
C /
C X
A/
.
P
มาลองดูกัน..หน่อย
การหมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉาก
จงหาพิกัดของภาพที่ได้จากการหมุนต่อไปนี้
บนระนาบรอบจุด O (0,0) ตามเข็มนาฬิกา
ด้วยมุมที่มีขนาด 180 องศา
1) A(3,4) 2) B(-3,-2)
3) C(-4,-1) 4) D(4,-3)
Y
6
4 A . (3,4)
2
-6 -4 -2 0 O 2 4 6 8 X
-2
A / . (-3,-4)-4
-6
Y
6
4
2 . /
B (3,2)
0O 2 X
B.
-6 -4 -2 4 6 8
(-3,-2-2)
-4
-6
Y
6
4
2 .4
(4,1) C/
-6 .(-4,-1)
-4 C -2 0O 2
-2
6 8 X

-4
-6
Y
6
(-4, 3)
.D / 4
2
-6 -4 -2 0O 2 4 6 8 X
-2
-4
. D (4,-3)
-6
ตัวอย่างที่ 1
ถ้า ∆A/B/C/ เป็นภาพที่ได้จากการหมุน ∆ABC ที่
กาหนดให้รอบจุดกาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมที่มี
ขนาด 180 องศา
จงหา 1) พิกัดของจุด A/, B/ และ C/ ซึ่งเป็นภาพที่ได้
จากการหมุนจุด A, B และ C
Y
A(9,5) B (-4,5) 6 การหมุน
4
2
(-4,1) C (4,-1)
-8 -6 -4 -2 O0 2 /
C 4. 6 8 X
-2
-4 . . A/
-6 /
B (4,-5) (9,-5)
ตัวอย่างที่ 2
จงหา ∆A/B/C/ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุน ∆ABC
รอบจุดกาเนิด O ทวนเข็มนาฬิกาด้วยมุมที่มีขนาด
90 องศา และหาพิกัดของจุด A/, B/และ C/
Y /
6 B. (4,6)
.C/
4 A/. (8,4)
(3,3)
2
X
-6 -4 -2 O0 2 4 6 8
-2 A (3,-3)
-4 B (6,-4)
-6
การหมุน -8 C (4,-8)
ตัวอย่างที่ 3
จงหา ∆A/B/O/ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุน ∆ABO
รอบจุดกาเนิด O ด้วยมุมที่มีขนาด 270 องศา
ตามเข็มนาฬิกา และหาพิกัดของจุด A/ และ B/
Y
(-4,4) 6
B./
.A/(-1,4)
4 B(4,4)
2
-6 -4 -2 0O 2
A(4,1)
4 6 8 X
-2
-4
-6 การหมุน
ใบงานที่ 6
การหมุนในระบบพิกัดฉาก
จงหา
1. จุดหมุน คือ
2. ทิศทางการหมุน คือ
3. ขนาดของมุมที่หมุน เท่ากับ
4. พิกัดของจุด A, B, C เป็น
Y
6 ข้อ 1
4
B(0,2) 2 . . A(3,2)
2 . 4 X
C(-1,-2) . -2 B (3,-1) .
-6 -4 -2 0 6 8
/
-4 C/(7,-2)
-6
Y ข้อ 2
.
6 C/(1,6)
4
. . .
A/(-3,2) 2 B(0,2) A(3,2)
X
-6 -4 -2
.
C(-1,-2) -2
0 2 4 6 8

-4
Y
6 ข้อ 3
4
B(0,2) 2 . . A(3,3)
X
C(-1,-2) . -2
-6 -4 -2 0 2 4 6 8
. /
B (3,-3)
. A (4,-6)
-4
-6 /
Y
6 ข้อ 4
4
B(-1,3)
2 A(4,2)
D(1,1) X
-4 -2 0 2 4 6 8 10
-2
C(-2,-2)
-4
B(-2,3)
ข้อ 5
ข้อ 6

You might also like