You are on page 1of 25

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่ วยที่ ๔

สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔ เรื่อง เสภาขุนช้ างขุนแผน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
เรื่อง เสภาเรื่อง ขุนช้ างขุนแผน ตอนขุนช้ างถวายฎีกา เวลา ๙ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ อง
ที่อ่าน
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.๔-๖/๒ วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต
ของสังคมในอดีต
ม.๔-๖/๓ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ น
มรดกทางวัฒนธรรม ของชาติ
ม.๔-๖/๔ สังเคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ม.๔-๖/๖ ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่ก ำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อา้ งอิง
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านออกเสียงบทเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา จะต้องอ่านอย่างถูกต้อง ไพเราะเหมาะสม
วิเคราะห์วจิ ารณ์ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น และลักษณะเด่น โดยเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถี
ชีวติ ของสังคมในอดีต คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ มีการสังเคราะห์ขอ้ คิด เพือ่
นำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง และท่องจำบทอาขยานที่มีคณ ุ ค่า เพือ่ นำไปใช้อา้ งอิง
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑) การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
๒)หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น
- จุดมุง่ หมายการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
- การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
๓) การวิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต
ของสังคม
ในอดีต
๔) การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
- ด้านวรรณศิลป์ - ด้านสังคมและวัฒนธรรม
๕) การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม
๖) บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
- บทอาขยานตามที่ก ำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ
สาระการเรียนรู้ท้องถิน่
1) ความเป็ นมาและประวัติผแู้ ต่งบทเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
2) เนื้อหาและคำศัพท์จากเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
๑) ทักษะการเปรี ยบเทียบ
๒)ทักษะการเชื่อมโยง
๓) ทักษะการสร้างความรู้
๔) ทักษะการตีความ
๕) ทักษะการวิเคราะห์
๖) ทักษะการสังเคราะห์
๗) ทักษะการประเมิน
๘) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. มีวินยั ๒. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓. มุ่งมัน่ ในการทำงาน ๔. รักความเป็ นไทย
ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
๑. การท่องบทอาขยานเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา (ชิ น้ งานที่ ๑)
๒. การเขียนบท และแสดงบทบาทสมมติ เรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา (ชิ น้ งานที่ ๒)
การวัดและการประเมินผล
การประเมินก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๑ เรื่ อง เสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวาย
ฎีกา
การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑) ตรวจใบงานที่ ๑.๑ เรื่ อง สรรพสารน่ารู ้ ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๒)ตรวจใบงานที่ ๒.๑ เรื่ อง รู้ความตามท้องเรื่ อง ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๓) ตรวจใบงานที่ ๒.๒ เรื่ อง ค้นคำไขความ ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๔) ตรวจใบงานที่ ๓.๑ เรื่ อง ศิลป์ และรสแห่งภาษา ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๕) ตรวจใบงานที่ ๔.๑ เรื่ อง วิถีไทย ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๖) ตรวจใบงานที่ ๔.๒ เรื่ อง แง่งามความคิด ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๗) ประเมินการอ่านออกเสี ยงบทร้อยกรอง ๘) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
๙) ประเมินการนำเสนอผลงาน ๑๐) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
๑๑) สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ๑๒) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๑ เรื่ อง เสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวาย
ฎีกา
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
๑) ตรวจการท่องบทอาขยานเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๒)สังเกตการแสดงบทบาทสมมติ เรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
กิจกรรมการเรียนรู้
นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๑ เรื่ อง เสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒ เรื่อง ความเป็ นมาและประวัติผู้แต่ ง
ขั้นนำ
1. ครู แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน คละกันตามความสามารถ แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับหลักการอ่านออกเสี ยงบทร้อยกรอง ตามที่เคยได้เรี ยนมา
2. ครู ให้นกั เรี ยนฟังซีดีการอ่านบทร้อยกรอง จากนั้นร่ วมกันวิเคราะห์วา่ เหมือนกับที่นกั เรี ยนเคยเรี ยนมา
หรื อไม่ อย่างไร
3. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน ๒-๓ กลุ่ม อ่านออกเสี ยงบทร้อยกรองเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวาย
ฎีกา ตามหลักที่เคยเรี ยนมาให้เพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรี ยน ครู และเพื่อนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้องและ
ให้ขอ้ เสนอแนะ
ขั้นสอน
ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มจับคู่กนั เป็ น ๒ คู่ แล้วให้แต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความรู ้เรื่ อง เสภาเรื่ อง ขุนช้าง
ขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ตามประเด็นที่ก ำหนดให้ จากหนังสื อเรี ยน หนังสื อค้นคว้าเพิ่มเติม และแหล่ง
ข้อมูลสารสนเทศ
1. นักเรี ยนแต่ละคู่กลับเข้ากลุ่มเดิม (๔ คน) ผลัดกันนำความรู ้ที่ได้จากการศึกษามาอธิ บายให้เพื่อนอีกคู่หนึ่ง
ฟัง ตามประเด็นที่ก ำหนด แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละคู่ผลัดกันซักถามข้อสงสัย และผลัดกันอธิ บายจนทุกคน
มีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาเป็ นองค์ความรู ้ของกลุ่ม
นักเรี ยนแต่ละคนทำใบงานที่ ๑.๑ เรื่อง สรรพสารน่ ารู้ ตอนขุนช้ างถวายฎีกา แล้วผลัดกันอธิ บายคำตอบ
ในใบงาน จากนั้นร่ วมกันสรุ ปเป็ นคำตอบของกลุ่ม
ขั้นสรุ ป
1. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานในใบงานที่ ๑.๑ หน้าชั้นเรี ยน
2. นักเรี ยนร่ วมกันวิเคราะห์คุณค่าและความสำคัญของเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ประวัติความเป็ นมา และประวัติผแู ้ ต่งเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน

 ครูมอบหมายให้ นักเรียนแต่ ละกลุ่มฝึ กท่ องบทอาขยานเสภาเรื่อง ขุนช้ างขุนแผน ตอนขุนช้ าง


ถวายฎีกา แล้วมาประเมินผลนอกเวลาเรียนเป็ นรายบุคคล โดยให้ ครอบคลุมประเด็นตามที่ ก ำหนด
กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๓-๔ เรื่อง สรุ ปเนือ้ หาและคำศัพท์
ขั้นนำ
นักเรี ยนรวมกลุ่มเดิม (จากเรื่ องที่ ๑) แล้วครู แจกบัตรคำชื่อตัวละครในเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้าง
ถวายฎีกาให้นกั เรี ยนกลุ่มละ ๑ ใบ แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันบอกลักษณะ และความสำคัญของตัวละคร
นั้นๆ เพื่อเป็ นการ ทบทวนความรู้เดิมของนักเรี ยน
ขั้นสอน
1. ครู ติดแผนภูมิตวั อย่างบทประพันธ์จากเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ให้นกั เรี ยนดูบน
กระดาน แล้วให้นกั เรี ยนช่วยกันถอดความบทประพันธ์ดงั กล่าว ตามความเข้าใจของนักเรี ยน
2. ครู อธิบายวิธีการค้นหาความหมายของคำศัพท์ และวิธีถอดความบทประพันธ์ เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้
ความเข้าใจมากยิง่ ขึ้น
3. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอ่านเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา จากหนังสื อเรี ยน
แล้วช่วยกันถอดความ พร้อมทั้งหาความหมายของคำศัพท์เพิ่มเติมจากหนังสื อค้นคว้าเพิ่มเติม ห้องสมุด
และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
4. ครู สุ่มนักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมาถอดความบทประพันธ์ พร้อมบอกความหมายของคำศัพท์ในบทที่
กำหนด ครู และนักเรี ยนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำใบงานที่ ๒.๑ เรื่อง รู้ ความตามท้ องเรื่อง ตอนขุนช้ างถวายฎีกา และทำใบ
งาน ที่ ๒.๒ เรื่อง ค้นคำไขความ ตอนขุนช้ างถวายฎีกา แล้วครู และนักเรี ยนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบ
งาน
ขั้นสรุ ป
ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาและคำศัพท์จากเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา และนำ
ความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาความรู ้เสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาต่อไป
นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานในใบงานที่ ๒.๑ - ๒.๒ หน้าชั้นเรี ยน โดยครู และเพื่อนนักเรี ยน
ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้องและให้ขอ้ เสนอแนะ
กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๕-๖ เรื่อง วรรณศิลป์ และรสแห่ งวรรณคดี
ขั้นนำ
1. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากเรื่ องที่ ๑) เลือกผูน้ ำกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ครู เน้นย้ำให้สมาชิก
ทุกคนในกลุ่มร่ วมมือกันในการทำกิจกรรม
2. ครู ติดแผนภูมิตวั อย่างบทประพันธ์เสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ให้นกั เรี ยนดู แล้วให้
นักเรี ยนช่วยกันวิเคราะห์วา่ บทประพันธ์ดงั กล่าวใช้ภาษาอย่างไร มีความไพเราะหรื อไม่ และปรากฏรส
วรรณคดีอะไรบ้าง
3. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยนตอบเป็ นรายกลุ่ม ครู และเพื่อนนักเรี ยนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง และให้ขอ้
เสนอแนะ
ขั้นสอน
๑. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและกำหนดขอบเขตในการศึกษาความรู ้ในด้านวรรณศิลป์ จาก
เสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู ้ตามแผนที่ได้
วางไว้จากหนังสื อเรี ยน หนังสื อค้นคว้าเพิ่มเติม และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๒. ครู สุ่มนักเรี ยนอธิบายคุณค่าวรรณศิลป์ และรสวรรณคดีของเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวาย
ฎีกา ตามที่ก ำหนดเป็ นรายกลุ่ม
๓. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำใบงานที่ ๓.๑ เรื่อง ศิลป์ และรสแห่ งภาษา ตอนขุนช้ างถวายฎีกา เสร็ จแล้ว
ครู และนักเรี ยนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงาน
ขั้นสรุ ป
นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง วรรณศิลป์ และรสวรรณคดีของเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอน
ขุนช้าง ถวายฎีกา ครู ประเมินผลนักเรี ยนจากการทำใบงานที่ ๓.๑ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันปรับปรุ งและ
พัฒนาผลงานในใบงานที่ ๓.๑ ให้ถูกต้องสมบูรณ์

กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๗-๘ เรื่อง คุณค่าและข้ อคิด
ขั้นนำ
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา เพื่อทบทวน
ความรู้เดิมของนักเรี ยน
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากเรื่ องที่ ๑) ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ก ำหนด โดยครู คอย
กระตุน้ ให้นกั เรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในการตอบคำถาม
ขั้นสอน
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มจับคู่กนั เป็ น ๒ คู่ ให้แต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความรู ้เรื่ อง คุณค่าและข้อคิดจากเสภาเรื่ อง
ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา จากหนังสื อเรี ยน แล้วร่ วมกันสรุ ปสาระสำคัญ
2. นักเรี ยนแต่ละคนทำใบงานที่ ๔.๑ เรื่อง วิถไี ทย ตอนขุนช้ างถวายฎีกา เสร็ จแล้วร่ วมกันอภิปรายคำตอบ
ใน ใบงาน ผลัดกันซักถามข้อสงสัย และผลัดกันอธิ บายจนมีความเข้าใจชัดเจน
3. นักเรี ยนแต่ละคู่รวมกลุ่มเดิมผลัดกันอภิปรายคำตอบในใบงานที่ ๔.๑ ให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งฟัง ผลัดกันซัก
ถามข้อสงสัย แล้วสรุ ปเป็ นคำตอบของกลุ่ม และออกมานำเสนอใบงานที่หน้าชั้นเรี ยน
4. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำใบงานที่ ๔.๒ แง่ งามความคิด ตอนขุนช้ างถวายฎีกา เสร็ จแล้วนำใบ
งาน ส่ งครู ตรวจ
ขั้นสรุ ป
นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง คุณค่าและข้อคิดจากเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
 ครูมอบหมายให้ นักเรียนแต่ ละกลุ่มเขียนบท และแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง ขุนช้ างขุนแผน ตอนขุนช้ าง
ถวายฎีกา โดยให้ ครอบคลุมประเด็นตามที่ ก ำหนด
นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง เสภาเรื่อง ขุนช้ างขุนแผน ตอนขุนช้ างถวายฎีกา
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
๑) หนังสื อเรี ยน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๖
๒) หนังสื อค้นคว้าเพิ่มเติม
(๑) ธเนศ เวศร์ภาดา. (๒๕๔๙). หอมโลกวรรณศิลป์ : การสร้ างรสสุ นทรีย์แห่ งวรรณคดีไทย. กรุ งเทพฯ
: ปาเจรา.
(๒) ประจักษ์ ประภาพิทยากร. (๒๕๐๘). นามานุกรม ขุนช้ าง-ขุนแผน. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
(๓) ประจักษ์ ประภาพิทยากร. (๒๕๒๕). ประเพณีและไสยเวทวิทยาในขุนช้ างขุนแผน. กรุ งเทพฯ :
องค์การค้าของคุรุสภา.
(๔) รื่ นฤทัย สัจจพันธุ์. (๒๕๔๔). เล่ าเรื่องขุนช้ างขุนแผน จากเสภาเรื่องขุนช้ างขุนแผน. เชียงใหม่ :
ธารปั ญญา.
(๕) ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุ งเทพฯ :
นานมีบุ๊คส์พบั ลิเคชัน่ ส์.
๓) ซี ดีการอ่านทำนองเสนาะ
๔) บัตรคำ
๕) แผนภูมิตวั อย่างบทประพันธ์จากเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๖) ใบงานที่ ๑.๑ เรื่ อง สรรพสารน่ารู ้ ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๗) ใบงานที่ ๒.๑ เรื่ อง รู้ความตามท้องเรื่ อง ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๘) ใบงานที่ ๒.๒ เรื่ อง ค้นคำไขความ ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๙) ใบงานที่ ๓.๑ เรื่ อง ศิลป์ และรสแห่งภาษา ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๑๐) ใบงานที่ ๔.๑ เรื่ อง วิถีไทย ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๑๑) ใบงานที่ ๔.๒ เรื่ อง แง่งามความคิด ตอนขุนช้างถวายฎีกา
๙.๒ แหล่ งการเรียนรู้
๑) ห้องสมุด
๒)แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://๒๐๓.๑๗๒.๒๔๔.๑๙๔/ictwork ๕๑/pranee/p ๒.html
- http://www.thaigoodview.com/library/contest ๒๕๕๑/thai ๐๔/o ๔/suriyothai/index.htm

การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินการท่ องบทอาขยานเสภาเรื่อง ขุนช้ างขุนแผน
ตอนขุนช้ างถวายฎีกา (ชิ้นงานที่ ๑)
คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรั บปรุ ง (๑)
๑. ความถูกต้ องของบท ท่องจำบทอาขยานได้ถูก ท่องจำบทอาขยาน ท่องจำบทอาขยาน ท่องจำบทอาขยาน
อาขยาน ต้องครบถ้วนตลอดทั้ง ได้ถูกต้อง มีที่ผดิ ๑-๒ ที่ ได้ถูกต้อง มีที่ผดิ ๓-๔ ที่ ได้ถูกต้อง มีที่ผดิ ๕-๖ ที่
บท
๒.ท่ วงทำนองการ อ่านคำประพันธ์ได้ถูก อ่านคำประพันธ์ได้ถูก อ่านคำประพันธ์ได้ถูก อ่านคำประพันธ์ได้ถูก
อ่านคำประพันธ์ ต้อง เหมาะสม ต้อง เหมาะสม ต้อง เหมาะสม ต้อง เหมาะสม
เหมาะสมกับลักษณะ ตามท่วงทำนองของ ตามท่วงทำนองของ ตามท่วงทำนองของ ตามท่วงทำนองของ
คำประพันธ์ ลักษณะคำประพันธ์ ลักษณะคำประพันธ์ ลักษณะคำประพันธ์ ลักษณะคำประพันธ์
ตลอดทั้งบท เป็ นส่ วนใหญ่ เพียงส่ วนน้อย ไม่ถูกต้อง
๓.การบอกคุณค่ าของการ บอกคุณค่าของบท บอกคุณค่าของบท บอกคุณค่าของบท บอกคุณค่าของบท
ท่ องบทอาขยาน อาขยานที่อ่าน พร้อม อาขยานที่อ่าน พร้อม อาขยานที่อ่าน พร้อม อาขยานที่อ่าน พร้อม
บอกเหตุผลประกอบได้ บอกเหตุผลประกอบได้ บอกเหตุผลประกอบได้ บอกเหตุผลประกอบได้
ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง แต่ไม่ชดั เจน
เป็ นส่ วนใหญ่ เพียงส่ วนน้อย
๔.การให้ ข้อเสนอแนะ ให้ขอ้ เสนอแนะใน ให้ขอ้ เสนอแนะใน ให้ขอ้ เสนอแนะใน ให้ขอ้ เสนอแนะใน
การนำบทอาขยานไป การนำบทอาขยานไปใช้ การนำบทอาขยานไปใช้ การนำบทอาขยานไปใช้ การนำบทอาขยานไปใช้
ใช้ อ้างอิง อ้างอิงถูกต้อง อ้างอิงถูกต้อง อ้างอิงถูกต้อง อ้างอิงถูกต้อง
๔ ประเด็นขึ้นไป ๓ ประเด็น ๒ ประเด็น ๑ ประเด็น
เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ - ๑๐ พอใช้
ต่ำกว่า ๘ ปรับปรุ ง
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินการเขียนบท และแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง ขุนช้ างขุนแผน
ตอนขุนช้ างถวายฎีกา (ชิ้นงานที่ ๒)
คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรั บปรุ ง (๑)
๑. การวิเคราะห์ และ วิเคราะห์และวิจารณ์ วิเคราะห์และวิจารณ์ วิเคราะห์และวิจารณ์ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ อง ขุนช้าง
วิจารณ์ วรรณคดี เรื่ อง ขุนช้างขุนแผน เรื่ อง ขุนช้างขุนแผน เรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้ถูก
และวรรณกรรม ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนขุนช้างถวายฎีกา ต้องตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น แต่
ตามหลักการ ได้ถูกต้องตามหลัก ได้ถูกต้องตามหลัก ได้ถูกต้องตามหลัก ไม่ยกตัวอย่างประกอบ
วิจารณ์ เบือ้ งต้ น การวิจารณ์เบื้องต้น การวิจารณ์เบื้องต้น การวิจารณ์เบื้องต้น
ครบทุกประเด็นและ และยกตัวอย่าง และยกตัวอย่าง
ยกตัวอย่างประกอบ ประกอบชัดเจนเป็ น ประกอบชัดเจนเป็ น
ชัดเจน ส่ วนใหญ่ บางส่วน
ทุกประเด็น
๒. การวิเคราะห์ วิเคราะห์ลกั ษณะเด่น วิเคราะห์ลกั ษณะเด่น วิเคราะห์ลกั ษณะเด่น วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของเรื่ อง ขุน
ลักษณะเด่ นของ ของเรื่ อง ขุนช้าง ของเรื่ อง ขุนช้าง ของเรื่ อง ขุนช้าง ช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
วรรณคดีเชื่อมโยง ขุนแผน ตอนขุนช้าง ขุนแผน ตอนขุนช้าง ขุนแผน ตอนขุนช้าง โดยเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู้ทาง
กับการเรียนรู้ทาง ถวายฎีกา โดยเชื่อม ถวายฎีกา โดยเชื่อม ถวายฎีกา โดยเชื่อม ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของ
ประวัติศาสตร์ และ โยงกับการเรี ยนรู้ทาง โยงกับการเรี ยนรู้ทาง โยงกับการเรี ยนรู้ทาง สังคม ในอดีตได้ถูกต้อง
วิถีชีวติ ของสั งคม ประวัติศาสตร์ และวิถี ประวัติศาสตร์ และวิถี ประวัติศาสตร์ และวิถี แต่ไม่ยกตัวอย่างประกอบ
ในอดีต ชีวิตของสังคม ชีวิตของสังคม ชีวิตของสังคม
ในอดีตได้ถูกต้อง และ ในอดีตได้ถูกต้อง และ ในอดีตได้ถูกต้อง และ
ยกตัวอย่างประกอบ ยกตัวอย่างประกอบ ยกตัวอย่างประกอบ
ชัดเจนทุกประเด็น ชัดเจนเป็ นส่วนใหญ่ ชัดเจนเป็ นบางส่ วน
๓. การวิเคราะห์ และ วิเคราะห์และประเมิน วิเคราะห์และประเมิน วิเคราะห์และประเมิน วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้าน
ประเมินคุณค่า คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ วรรณศิลป์ ของเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน
ด้ านวรรณศิลป์ ของเรื่ อง ขุนช้าง ของเรื่ อง ขุนช้าง ของเรื่ อง ขุนช้าง ตอนขุนช้างถวายฎีกา ใน
ของวรรณคดี ขุนแผน ตอนขุนช้าง ขุนแผน ตอนขุนช้าง ขุนแผน ตอนขุนช้าง ฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของ
และวรรณกรรม ถวายฎีกา ใน ถวายฎีกา ใน ถวายฎีกา ใน ชาติได้ถูกต้อง แต่ไม่มีตวั อย่าง
ในฐานะที่เป็ น ฐานะที่เป็ นมรดกทาง ฐานะที่เป็ นมรดกทาง ฐานะที่เป็ นมรดกทาง ประกอบ
มรดกทาง วัฒนธรรมของชาติได้ วัฒนธรรมของชาติได้ วัฒนธรรมของชาติได้
วัฒนธรรมของ ถูกต้อง ครบถ้วน ถูกต้อง มีตวั อย่าง ถูกต้อง มีตวั อย่าง
ชาติ ทุกประเด็น มีตวั อย่าง ประกอบชัดเจน ประกอบชัดเจน
ประกอบชัดเจน เป็ นส่ วนใหญ่ เป็ นบางส่วน
คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรั บปรุ ง (๑)
๔. การสั งเคราะห์ ข้อคิด สังเคราะห์ขอ้ คิดจากเรื่ อง สังเคราะห์ขอ้ คิดจากเรื่ อง สังเคราะห์ขอ้ คิดจากเรื่ อง สังเคราะห์ขอ้ คิดจากเรื่ อง
จากวรรณคดีและ ขุนช้างขุนแผน ขุนช้างขุนแผน ขุนช้างขุนแผน ขุนช้างขุนแผน
วรรณกรรมเพือ่ นำไป ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนขุนช้างถวายฎีกา
ประยุกต์ ใช้ ในชีวติ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง
จริง ได้อย่างถูกต้อง และมี ได้อย่างถูกต้อง และมี ได้อย่างถูกต้อง และมี ได้อย่างถูกต้อง แต่
เหตุผล เหตุผลเป็ นส่วนใหญ่ เหตุผลเป็ นบางส่วน เหตุผลไม่ชดั เจน
๕. การแสดงบทบาท แสดงบทบาทสมมติได้ แสดงบทบาทสมมติได้ แสดงบทบาทสมมติได้ แสดงบทบาทสมมติได้
สมมติ สมจริ งทุกตัวละครและ สมจริ งทุกตัวละครและ สมจริ งทุกตัวละครและ สมจริ งทุกตัวละครและ
แสดงได้ต่อเนื่องกัน แสดงได้ต่อเนื่องกัน แสดงได้ต่อเนื่องกัน แสดงได้ต่อเนื่องกัน
มีการออกเสี ยงบท ร้อย มีการออกเสี ยงบท ร้อย มีการออกเสี ยงบท ร้อย มีการออกเสี ยงบท ร้อย
กรองได้ถูกต้องไพเราะ กรองได้ถูกต้องค่อนข้าง กรองได้ถูกต้อง แต่ไม่ กรองไม่ถูกต้อง
ชัดเจน ไพเราะ ไพเราะ

เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ


๑๘ - ๒๐ ดีมาก
๑๔ - ๑๗ ดี
๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ำกว่า ๑๐ ปรับปรุ ง

แบบทดสอบก่ อนเรี ยน-หลังเรี ยน หน่ วยการเรี ยนรู้ ที่ ๑


คำชี ้ แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่ส ุดเพียงข้อเดียว
๑. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกีย่ วกับเรือ่ ง เสภาขุนช้างขุนแผน ๕. ข้อใดเป็ นการกระทำตามกฎมณเฑียรบาลในการถวายฎีกา
ก. มีเค้าเรือ่ งมาจากเรือ่ งจริงทีเ่ กิดขึน้ ในสมัยอยุธยา ของประชาชนในสมัยโบราณ
ข. ได้รบั ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็ นสุดยอดของ ก. เฮ้ยใครรับฟ้องของมันที ตีเสียสามสิบจึงปล่อยไป
กลอนนิทาน ข. ระวางโทษเบ็ดเสร็จเจ็ดสถาน ถึงประหารชีวติ เป็ นผุยผง
ค. มีผแู้ ต่งหลายคน บางตอนปรากฏชือ่ ผูแ้ ต่ง แต่บางตอน ค. ดำริพลางทางเสด็จยาตรา ออกมาพระทีน่ งจั ั ่ กรพรรดิ
ไม่ปรากฏชือ่ ผูแ้ ต่ง ง. พระสูตรรูดกร่างกระจ่างองค์ ขุนนางกราบราบลง
ง. เป็ นเรือ่ งทีส่ ะท้อนสภาพสังคมและวัฒนธรรมสมัยอยุธยา เป็ นขนัด
และรัตนโกสินทร์ตอนต้น ๖. กูกช็ วมั
ั ่ วรักแต่สองนาง ละวางให้วนั ทองน้องโศกศัลย์
เมือ่ ตีได้เชียงใหม่กโ็ ปรดครัน จะเพ็ดทูลคราวนัน้ ก็คล่องใจ
๒. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับเสภาเรือ่ ง ขุนข้างขุนแผน คำว่า “สองนาง” ในบทประพันธ์ขา้ งต้นหมายถึงใคร
ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ก. นางลาวทอง กับ นางสายทอง
ก. เป็ นตอนทีน่ ิยมนำไปใช้แสดง “เสภารำ” มากทีส่ ดุ ข. นางศรีมาลา กับ นางสร้อยฟ้า
ข. เนื้อหาตอนนี้มที ม่ี าจากพงศาวดารคำให้การชาวกรุงเก่า ค. นางลาวทอง กับ นางสร้อยฟ้า
ค. เป็ นหนึ่งใน ๘ ตอนทีไ่ ด้รบั ยกย่องจากสมาคมวรรณคดี ง. นางลาวทอง กับ นางแก้วกิรยิ า
ว่าแต่งได้ดเี ยีย่ ม ๗. ได้ยนิ เสียงฆ้องย่ำประจำวัง ลอยลมล่องดังถึงเคหา
ง. เป็ นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ- คะเนนับย่ำยามได้สามครา ดูเวลาปลอดห่วงทักทิน
เลิศหล้านภาลัย คำว่า “ทักทิน” ในบทประพันธ์ขา้ งต้นมีความหมายตรงกับ
ข้อใด
๓. คำว่า “ถวายฎีกา” หมายความว่าอะไร ก. ฤกษ์มหาโจร
ก. ยืน่ คำร้องทุกข์ต่อหน่วยงานรัฐ ข. วันดีตามหลักโหราศาสตร์
ข. ราษฎรยืน่ คำร้องทุกข์ถวายพระเจ้าแผ่นดิน ค. วันชัวร้
่ ายตามหลักโหราศาสตร์
ค. ยืน่ คำร้องทุกข์ต่อศาลเพือ่ เรียกร้องความเป็ นธรรม ง. เวลาทีเ่ หมาะสำหรับการประกอบพิธไี สยศาสตร์
ง. แจ้งความแก่หน่วยงานรัฐให้ดำเนินคดีกบั บุคคลใด ๘. ข้อใดใช้ภาพพจน์ต่างจากข้ออื่น
บุคคลหนึ่งเป็ นกรณีพเิ ศษ ก. ครานัน้ พระองค์ผทู้ รงภพ ฟงั จบแค้นคังดั ่ งเพลิงไหม้
เหมือนดินประสิวปลิวติดกับเปลวไฟ ดูด๋เู ป็ นได้อวี นั ทอง
๔. คำทีข่ ดี เส้นใต้ในข้อใด หมายถึง จมืน่ ไวย ข. อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนิลเกิดขึน้ ในอาจม
ก. วันนัน้ แพ้กเู มือ่ ดำน้ำ ก็กริว้ ซ้ำจะฆ่าให้เป็ นผี รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ใจไม่ซ่อื สมศักดิ ์เท่าเส้นผม
ข. เอาเถิดเป็ นไรก็เป็ นไป ไม่เอากลับมาได้มใิ ช่กู ค. คิดคะนึงถึงมิตรแต่ก่อนเก่า นิจจาเจ้าเหินห่างร้างพิสมัย
ค. แล้วกลับความถามข้างวันทองพลัน เออเมือ่ มันฉุด ถึงสองครัง้ ตัง้ แต่พรากจากพีไ่ ป ดังเด็ดใจจากร่างก็ราวกัน
คร่าพามึงไป ง. เจ้าพลายงามตามรับเอากลับมา ทีน้หี น้าจะดำเป็ นน้ำหมึก
ง. ฉุดมันขึน้ ช้างอ้างถึงกู ตะคอกขูอ่ วี นั ทองให้ตกใจ กำเริบใจด้วยเจ้าไวยกำลังฮึก จะพาแม่ตกลึกให้จำตาย

๙. อีวนั ทองกูให้อา้ ยแผนไป อ้ายช้างบังอาจใจทำจูล่ ู่ ๑๒. ข้อใดเป็ นเหตุผลสำคัญทีน่ างวันทองไม่ยอมไปกับพลาย


ฉุดมันขึน้ ช้างอ้างถึงกู ตะคอกขูอ่ วี นั ทองให้ตกใจ งามบุตรชาย
คำว่า “จูล่ ่”ู ในบทประพันธ์ขา้ งต้น หมายถึงข้อใด ก. ขุนช้างตื่นขึน้ มิเป็ นการ เขาจะรุกรานพาลข่มเหง
ก. สูร่ ู้ ข. โกรธ ข. ต้องจำจนทนกรรมทีต่ ดิ ตาม จะขืนความคิดไปก็ใช่ท่ี
ค. ชัวร้
่ าย ง. ถลันเข้าไป ขืนความคิดไปก็ใช่ที
ค. คิดบ่ายเบีย่ งเลีย่ งเลีย้ วเบีย้ วบิดไป เพราะรักอ้ายขุน
๑๐. คำทีข่ ดี เส้นใต้ในข้อใด ไม่ได้หมายถึงขุนช้าง ช้างกว่าบิดา
ก. แสนถ่อยใครจะถ่อยเหมือนมันบ้าง ง. ด้วยเป็ นข้าลักไปไทลักมา เห็นเบือ้ งหน้าจะอึงแม่จงึ
ทุกอย่างทีจ่ ะชัวอ้่ ายหัวลื่น ห้าม
เวียนแต่เป็ นถ้อยความไม่ขา้ มคืน ๑๓. ข้อใดไม่ได้กล่าวถึงความเชือ่ ทางไสยศาสตร์และคาถา
น้ำยืนหยังไม่่ ถงึ ยังดึงมา อาคม
ข. นิจจาใจเจ้าจะให้พเ่ี จ็บจิต ก. ถือดาบฟ้าฟื้นยืนแกว่งไกว ตกใจกลัวว่าจะฆ่าฟนั
ดังเอากริชแกระกรีดในอกผัว ข. แล้วทำผงอิทธิเจเข้าเจิมพักตร์ คนเห็นคนทักรักทุก
เกรงผิดคิดบาปจึงหลาบกลัว หน้า
พีน่ ้ชี วเพราะหมิ
ั่ น่ ประมาทความ ค. เปา่ มนตร์เบือ้ งบนชอุ่มมัว พรายยัวยวนใจให้
่ ไคลคลา
ค. สำคัญคิดว่าผูร้ า้ ยให้นึกกลัว ง. สีขผ้ี ง้ึ สีปากกินหมากเวทย์ ซึง่ วิเศษสารพัดแก้ขดั สน
กอดผัวร้องดิน้ จนสิน้ เสียง ๑๔. ข้อใดกล่าวถึงความไม่คคู่ วรกันระหว่างขุนช้างกับนางวัน
ซวนซบหลบลงมาหมอบเมียง ทอง
พระหมืน่ ไวยเข้าเคียงห้ามมารดา ก. อสนีครืน้ ครันสนั ่ อง น้ำฟ้าหาต้องดอกไม้ไม่
่ นก้
ง. เลีย้ งมึงไม่ได้อา้ ยใจร้าย ข. ดอกมะเดือ่ ฤๅจะเจือดอกพะยอม ว่านักแม่จะตรอม
ชอบแต่เฆีย่ นสองหวายตลอดสัน ระกำใจ
แล้วกลับความถามข้างวันทองพลัน ค. ดังทองคำทำเลีย่ มปากกะลา หน้าตาดำเหมือนมิน
เออเมื่อมันฉุดคร่าพามึงไป หม้อมอม
ง. นิ่งนอนอยู่บนเตียงเคียงขุนช้าง มันแนบข้างกอดกลม
๑๑. ขึน้ ไปบนเรือนพระหมื่นไวย ประสมสอง
แจ้งข้อรับสังไปขมี
่ ขมัน ๑๕. พีผ่ ดิ พีก่ ม็ าลุแก่โทษ จะคุมโกรธคุมแค้นไปถึงไหน
ขุนช้างฟ้องร้องฎีกาพระทรงธรรม์ ความรักพีย่ งั รักระงมใจ อย่าตัดไมตรีตรึงให้ตรอมตาย
ให้หาทัง้ สามท่านนัน้ เข้าไป ว่าพลางทางแอบเข้าแนบอก ประคองยกของสำคัญมัน่
คำว่า “สามท่าน” ในบทประพันธ์ขา้ งต้น หมายถึงใครบ้าง หมาย
ก. ขุนช้าง ขุนแผน นางวันทอง เจ้าเนื้อทิพย์หยิบชืน่ อารมณ์ชาย ขอสบายสักหน่อยอย่า
ข. ขุนแผน จมืน่ ไวย พระหมืน่ ศรี โกรธา บทประพันธ์ขา้ งต้นเด่นด้านใช้รสวรรณคดีใด
ค. ขุนแผน จมืน่ ไวย นางวันทอง ก. เสาวรจนี
ง. ขุนแผน นางวันทอง นางลาวทอง ข. พิโรธวาทัง
ค. นารีปราโมทย์
ง. สัลลาปงั คพิสยั

เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรี ยน-หลังเรี ยน หน่ วยการเรี ยนรู้ ที่ ๑

๑. ข ๒. ค ๓.ข ๔.ก ๕.ก


๖. ง ๗. ค ๘.ง ๙.ง ๑๐.ข
แบบทดสอบเรื่อง

ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา

คำชี แ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่
ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. พลายงามได้เลื่อนยศเป็ นอะไร 
ก. ขุนหมื่นไวย ข. จะเด็ด ค. จมื่นไวย ง. ขุนไวย
2. เรื่องเสภาขุนช้างขุนแผนเป็ นคำประพันธ์ประเภทกลอนเสภาทัง้ หมดกี่
ตอน 
ก. 42 ตอน ข. 43 ตอน ค. 44 ตอน ง. 45 ตอน 
3. ขุนแผนมีภรรยาทัง้ หมดกี่คน 
ก. 3 คน ข. 4 คน ค. 5 คน ง. 6 คน 
4. ใครคือผู้แต่ง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา 
ก. รัชกาลที่ 2 ข. รัชกาลที่ 3 ค. รัชกาลที่ 4
ง. ไม่ทราบนามผู้แต่งที่แน่ชัด
5. เดิมชื่อของนางวันทองคือ 
ก. พิมพิลาไลย ข. พิมพกา ค. พิมพิลาลักษณ ง. พิมพิ
วรรณ
6. เดิมชื่อของขุนแผนคือ 
ก. พลายแก้ว ข. พลายงาม ค. พลายชุมพล ง. พลายทอง 
7. บิดาของขุนช้างชื่ออะไร 
ก. เทพทอง ข. พันศรโยธา ค. ขุนศรีวิชัย ง. ทองประศรี 
8. คุ้นเคยกันมาอย่างดี รู้ทีกัน เข้าใจในทำนองของกันและกัน ความหมายนี ้
ตรงกับสำนวนใด 
ก. เห็นช้างขี ้ ขีต
้ ามช้าง ข. วัวเคยค้าม้าเคยขี่
ค. เข็นครกขึน
้ ภูเขา ง. ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ 
9. ขุนแผนมีลูกกับนางวันทองชื่อว่าอะไร 
ก. พลายแก้ว ข. พลายงามค. พลายชุมพล ง. พลายทอง 
10. ขุนแผนบวชตอนอายุกี่ปี 
ก. 13 ปี ข. 14 ปี ค. 15 ปี ง. 16 ปี  
1๑. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่อง เสภาขุนช้างขุนแผน
ก. มีเค้าเรื่องมาจากเรื่องจริงที่เกิดขึน
้ ในสมัยอยุธยา
ข. ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็ นสุดยอดของกลอนนิทาน
ค. มีผแ
ู้ ต่งหลายคน บางตอนปรากฏชื่อผู้แต่ง แต่บางตอนไม่ปรากฏชื่อ
ผู้แต่ง
ง. เป็ นเรื่องที่สะท้อนสภาพสังคมและวัฒนธรรมสมัยอยุธยา และ
รัตนโกสินทร์ตอนต้น
1๒. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเสภาเรื่อง ขุนข้างขุนแผน ตอน ขุนช้าง
ถวายฎีกา
ก. เป็ นตอนที่นิยมนำไปใช้แสดง “เสภารำ” มากที่สุด
ข. เนื้อหาตอนนีม
้ ีที่มาจากพงศาวดารคำให้การชาวกรุงเก่า
ค. เป็ นหนึ่งใน ๘ ตอนที่ได้รับยกย่องจากสมาคมวรรณคดีว่าแต่งได้ดี
เยี่ยม
ง. เป็ นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
1๓. คำว่า “ถวายฎีกา” หมายความว่าอะไร
ก. ยื่นคำร้องทุกข์ต่อหน่วยงานรัฐ
ข. ราษฎรยื่นคำร้องทุกข์ถวายพระเจ้าแผ่นดิน
ค. ยื่นคำร้องทุกข์ต่อศาลเพื่อเรียกร้องความเป็ นธรรม
ง. แจ้งความแก่หน่วยงานรัฐให้ดำเนินคดีกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็ น
กรณีพเิ ศษ
1๔. คำที่ขีดเส้นใต้ในข้อใด หมายถึง จมื่นไวย
ก. วันนัน
้ แพ้กูเมื่อดำน้ำ ก็กริว้ ซ้ำจะฆ่าให้เป็ นผี
ข. เอาเถิดเป็ นไรก็เป็ นไป ไม่เอากลับมาได้มิใช่กู
ค. แล้วกลับความถามข้างวันทองพลัน เออเมื่อมันฉุดคร่าพามึงไป
ง. ฉุดมันขึน
้ ช้างอ้างถึงกู ตะคอกขู่อีวันทองให้ตกใจ
15. ข้อใดใช้ภาพพจน์ต่างจากข้ออื่น
ก. ครานัน
้ พระองค์ผู้ทรงภพ ฟั งจบแค้นคัง่ ดังเพลิง
ไหม้
เหมือนดินประสิวปลิวติดกับเปลวไฟ ดูดู๋เป็ นได้อีวัน
ทอง
ข. อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนิลเกิดขึน
้ ใน
อาจม
รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ื สมศักดิเ์ ท่า
ใจไม่ซ่ อ
เส้นผม
ค. คิดคะนึงถึงมิตรแต่ก่อนเก่า นิจจาเจ้าเหินห่างร้างพิสมัย
ถึงสองครัง้ ตัง้ แต่พรากจากพี่ไป ดังเด็ดใจจากร่างก็ราว
กัน
ง. เจ้าพลายงามตามรับเอากลับมา ทีนห
ี ้ น้าจะดำเป็ นน้ำ
หมึก
กำเริบใจด้วยเจ้าไวยกำลังฮึก จะพาแม่ตกลึกให้
จำตาย
16. เสภาคืออะไร
        ก. การขับลำนำเป็ นเรื่องราว ใช้กรับเป็ นเครื่องประกอบจังหวะ
        ข. การร้องเป็ นทำนองสรภัญญะ ใช้กลองรำมะนาเป็ นเครื่องประกอบ
จังหวะ
        ค. การร้องเป็ นทำนองแหล่  ใช้ระนาดเป็ นเครื่องประกอบจังหวะ
        ง. การร้องเป็ นทำนองไทยเดิม ใช้ฉิ่งเป็ นเครื่องประกอบจังหวะ
17.           “ทุกวันนีล
้ ูกชายสบายยศ                   พร้อมหมดเมียมิ่ง
ก็มีสอง
    มีบ่าวไพร่ใช้สอยทัง้ เงินทอง                       พี่น้องข้างพ่อก็
บริบูรณ์”  คำที่ขีดเส้นใต้หมายถึงผู้ใด
ก. นางสร้อยทองและนางสายทอง                           ข. นางแก้ว
กิริยาและนางลาวทอง
ค. นางสร้อยฟ้ าและนางศรีมาลา                             ง.  นางสาย
ทองและนางลาวทอง
18. เมื่อขุนช้างถวายฎีกาต่อสมเด็จพระพันวษา ทำไมต้องถูกเฆี่ยนถึง 30 ที
        ก. ขุนช้างละเมิดกฎหมายในการรักษาความปลอดภัยแก่พระมหา
กษัตริย์
        ข. ขุนช้างสร้างความรำคาญในการเสด็จประพาส
        ค. ขุนช้างไม่ร้จ
ู ักกาลเทศะความเหมาะสม
        ง. ขุนช้างชอบฟ้ องร้องเรื่องไร้สาระ
19. พฤติกรรมชองใครเกิดจากการใช้อารมณ์เหนือเหตุผล 
ก. ขุนช้าง     ข. ขุนแผน     ค. จมื่นไวย   ง. ทุกข้อที่กล่าวมา
20. “อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ       ดังเพชรนิลเกิดขึน
้ ในอาจม”   ผู้
ประพันธ์ใช้โวหารใดในการประพันธ์
        ก. อุปลักษณ์             ข. อุปมา                       ค. สัท
พจน์            ง. พรรณนาโวหาร
21. ข้อใดเป็ นวิธีที่ขุนช้างใช้ถวายฎีกา               
ก. ไปเข้าเฝ้ าที่ท้องพระโรง        ข. ลักลอบไปในห้องพระบรรทม
        ค. ฝากขุนนางผู้ใหญ่ไปถวาย     ง. ว่ายน้ำลอยคอถวายฎีกาที่เรือ
พระที่นั่ง
22. ข้อใดไม่ใช่ลางสังหรณ์ที่เกิดแก่นางวันทอง
        ก. ดุเหว่าเร้าเสียงสำเนียงก้อง                  ระฆังฆ้องขานแข่งในวัง
หลวง
        ข. ฝั นว่าพลัดไปในไพรเถื่อน                    เลื่อนเปื้ อนไม่ร้ท
ู ี่จะกลับ
หลัง
        ค. ลดเลีย
้ วเที่ยวหลงในดงรัง                    ยังมีพยัคฆ์ร้ายมาราวี
        ง. ใต้เตียงสียงหนูก็กก
ุ กก                        แมงมุงทุ่มอกที่ริมฝา
23.          “ว่าตัง้ แต่วันนีส
้ ืบต่อไป                                     หน้าที่
ของผู้ใดให้รักษา
      ถ้าประมาทราชการไม่นำพา                                     ปล่อยให้
ใครเข้ามาในล้อมวง”  คำว่า “ราชการ” หมายถึงเรื่องใด
ก. การอารักขาพระมหากษัตริย์                                        ข. การ
แสดงความเคารพต่อพระมหากษัตริย์
ค. การตัดสินคดีความ                                                         ง.
การดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
24. การกราบบังคมทูลเป็ นกลางของนางวันทองทำให้ส่งผลอย่างไร
                ก. ที่รูปรวยสวยสมมีถมไป                               ข. ให้ฟัน
ฟาดเสียให้เป็ นผี  
ค. เอาใบตองรองไว้ให้หมากิน                        ง. อกเอาขวานผ่าอย่า
ปรานี
         ข. อุปมา                                ค. สัทพจน์            ง.
พรรณนาโวหาร
7. ข้อใดเป็ นวิธีที่ขุนช้างใช้ถวายฎีกา              ก. ไปเข้าเฝ้ าที่ท้องพระ
โรง        ข. ลักลอบไปในห้องพระบรรทม
                                                                                ค. ฝาก
ขุนนางผู้ใหญ่ไปถวาย     ง. ว่ายน้ำลอยคอถวายฎีกาที่เรือพระที่นั่ง
8. ข้อใดไม่ใช่ลางสังหรณ์ที่เกิดแก่นางวันทอง
                ก. ดุเหว่าเร้าเสียงสำเนียงก้อง                          ระฆังฆ้อง
ขานแข่งในวังหลวง
                ข. ฝั นว่าพลัดไปในไพรเถื่อน                           เลื่อนเปื้ อน
ไม่ร้ท
ู ี่จะกลับหลัง
                ค. ลดเลีย
้ วเที่ยวหลงในดงรัง                            ยังมี
พยัคฆ์ร้ายมาราวี
                ง. ใต้เตียงสียงหนูก็กก
ุ กก                                  แมงมุง
ทุ่มอกที่ริมฝา
9.          “ว่าตัง้ แต่วันนีส
้ ืบต่อไป                                     หน้าที่ของ
ผู้ใดให้รักษา
      ถ้าประมาทราชการไม่นำพา                                     ปล่อยให้
ใครเข้ามาในล้อมวง”  คำว่า “ราชการ” หมายถึงเรื่องใด
ก. การอารักขาพระมหากษัตริย์                                        ข. การ
แสดงความเคารพต่อพระมหากษัตริย์
ค. การตัดสินคดีความ                                                         ง.
การดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
10. การกราบบังคมทูลเป็ นกลางของนางวันทองทำให้ส่งผลอย่างไร
                ก. ที่รูปรวยสวยสมมีถมไป                               ข. ให้ฟัน
ฟาดเสียให้เป็ นผี  
ค. เอาใบตองรองไว้ให้หมากิน                        ง. อกเอาขวานผ่าอย่า
ปรานี
เฉลย
1.ง             4.ค        7.ง     10.ค
2.ค              5.ง       8.ก
3.ค            6.ข        9.ค

You might also like