You are on page 1of 65

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.

4 1
หน่วยที่ 1 สังคมวิทยา
สังคมวิทยา (Sociology) เป็นสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
- อธิบายความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคมอย่างเป็นระบบ
- ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์ กลุ่มคน สังคม รวมทั้งกฎเกณฑ์และกระบวนการทางสังคม
0 down (1798 - 1857) จึงได้ชื่อว่าเป็น บิดาแห่งสังคมวิทยา
- ริเริ่มโดยชาวฝรั่งเศส ชื่อว่า _________
- เพื่ออธิบายการขยายตัวของสังคมในช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม
1. มนุษย์กับสังคมและวัฒนธรรม
Ø มนุษย์
วิชาสังคมวิทยาแบ่งสัตว์ออกเป็น 2 ประเภท
1. สัตว์โลก เป็นสัตว์ที่ไม่จำเป็นต้องอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม ต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
u /1120
เพื่อความอยู่รอดและดำรงเผ่าพันธุ์ เช่น _____________________________________
2. สั ต ว์ ส ั ง คม (Social Animal) เป็ น สั ต ว์ ท ี ่ ต ้ อ งอยู ่ ร ่ ว มกั น เป็ น กลุ ่ ม เพื ่ อ พึ ่ ง พาอาศั ย ซึ ่ ง กั น และกั น
spoi Est
มีการกระทำร่วมกัน เช่น _____________________________________________
swiorswurzoor
สรุป มนุษย์เป็นสัตว์สังคม เพราะมนุษย์ต้อง_____________________________________
v ความเหมือนและความแตกต่างของมนุษย์กับสัตว์สังคมอื่น
ความเหมือน : 1) ความต้องการทางกายภาพและชีวภาพ 2) การผลิตสมาชิกใหม่ 3) การปรับตัวให้เข้า
กับสิ่งแวดล้อมได้
ความแตกต่ า ง : 1) มนุ ษ ย์ ม ี ม ั น สมองขนาดใหญ่ จ ึ ง ฉลาดกว่ า 2) มี ค วามสามารถในการเรี ย นรู้
3) มีความเป็นอิสระในการดำรงชีพ 4) มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรม
สรุป you hitz
มนุษย์ à สมองใหญ่ à เรียนรู้ได้ง่าย à มี_________
ENUIGN
สัตว์ à สมองเล็ก à เรียนรู้ได้ยาก à มี__________

v ลักษณะพิเศษของมนุษย์ (คนเท่านั้น สัตว์มีไม่ได้ แม้จะเป็นสัตว์สังคมก็ตาม)


1. มนุษย์สร้างสัญลักษณ์ (ภาษา ทั้งวจนภาษาและอวัจนาภาษา จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมด้วย)
minifuns/ mssnow
- สัญลักษณ์ คือ สิ่งที่ใช้แทนสิ่งอื่นที่เกิดจาก__________________ โดยผ่านกระบวน
การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ซึ่งไม่สามารถเกิดขึ้นได้เอง เพราะเกิดโดยคนเท่านั้น
2. มนุษย์มีวัฒนธรรม

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 2
v ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
Fide ได้แก่ ความต้องการเพื่อให้ชีวิตพื้นฐานรอด เช่น ปัจจัยสี่ อากาศ การพักผ่อน
1. ด้าน____
M18dIn ได้แก่ ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกสบาย เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
2. ด้าน____
Sm ได้แก่ ความต้องการความรัก ความอบอุ่น เพื่อน ครอบครัว การยกย่องจากผู้อื่น
3. ด้าน____
&sda ได้แก่ การเรียนรู้ทางวัฒนธรรม
4. ด้าน____
Ø สังคมมนุษย์
- สังคม (Society) หมายถึง กลุ่มคน ที่มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
1) ประชากรจำนวนมากพอสมควร
2) อยู่ในอาณาเขตเดียวกันในระยะเวลานานพอสมควร
3) มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน
4) มีวัฒนธรรม
5) มีการจัดระเบียบทางสังคม
6) มีอำนาจเหนือกลุ่มเล็ก ๆ ที่อยู่ในอาณาเขตของตน
v สาเหตุที่มนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม
1) ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน
dowasceti
2) ตอบสนอง________________ของมนุ ษย์ และความอยู่รอด (ระยะเวลาการเป็นทารกนาน)
3) เพื่อให้มีความเป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ (ด้วยการสร้างและสืบทอด_______)
&
ea

Ø วัฒนธรรม (Culture)
·i wirrzu rsitt Wirin
v วัฒนธรรม ในทางสังคมวิทยา มี 2 ความหมาย คือ
fam
1) วัฒนธรรมในความหมายโดยแคบ คือ ________ของมนุ ษย์ที่เกิดจากการเรียนรู้และสั่งสอน
provis
2) วัฒนธรรมในความหมายโดยกว้าง คือ ____________ที ่มนุษย์สร้างขึ้น
v ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรม
1) เป็นสิ่งทีด่ ีหรือไม่ดกี ็ได้ 184
2) เป็นสิ่งที_่ writi -
______สร้างขึ้น (หากเป็นสิ่งที่ธรรมชาติสร้าง เรียกว่า กายภาพ)
3) เกิดจากการเรียนรู้หรือ____________________
sun indictde
muz wowmt (วัฒนธรรมจึงเป็นมรดกทางสังคม)
4) แต่ละท้องถิ่นจะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน (จึงเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละสังคม)
5) มีการเปลี่ยนแปลงปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมไปเรื่อย ๆ ทำให้เกิดเป็นวิวัฒนาการ
v ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม
1) วัฒนธรรมเก่าถูกยกเลิกหรือสูญสิ้นไป
2) การยืมและแพร่กระจายจากวัฒนธรรมอื่น
3) การคิดค้น/ค้นพบ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 3
v ประเภทของวัฒนธรรม
En
1) วัฒนธรรมทางวัตถุ (____ธรรม) คือสามารถจับต้องได้ เช่น เครื่องดนตรี อาหาร วิทยุ ฯลฯ
2) วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ คือไม่สามารถจับต้องได้ แบ่งเป็น
a
2.1) ____ธรรม คือ คุณธรรมความดีงาม หลักการดำเนินชีวิต เช่น ความอดทน ความ
เสียสละ ↳alnod

2.2) ____ธรรม คือ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคม เช่น กฎหมาย ระเบียบ ข้อตกลง
wrgewig
2.3) ____ธรรม
e คือ มารยาทและประเพณีต่าง ๆ เช่น การไหว้

Action
Staf
Furt
วัฒนธรรมทีเ่ ปลี่ยนแปลงยากสุด คือ________ &write sidewa
เพราะ________________________

v รูปแบบวัฒนธรรม
nice was
1) วัฒนธรรมหลัก เป็นของคนส่วนใหญ่ในสังคม เช่น การพูดภาษาไทย การไหว้ ___________
2) วัฒนธรรมย่อย เป็นของคนเฉพาะกลุ่ม เช่น การพูดภาษาถิ่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน (สามารถพัฒนาเป็น
awserfan auste
วัฒนธรรมหลักได้ หาก______________________)
vos

v หน้าทีข่ องวัฒนธรรม
- หล่อหลอมบุคลิกภาพให้กับสมาชิกของสังคม เช่น ความเชื่อ ความสนใจ ความรู้ ท่าทาง
- เป็นตัวกำหนดความสัมพันธ์หรือพฤติกรรมของมนุษย์
- เป็นตัวควบคุมทางสังคม โดยใช้บรรทัดฐาน
- ใช้ในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
v ความสำคัญของวัฒนธรรม
- มนุษย์กับวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ต้องอยู่ควบคู่กันไป
Ide
- มนุษย์สร้างวัฒนธรรม แล้วใช้วัฒนธรรมเป็นตัวสร้าง______มนุ ษย์
- สังคมและวัฒนธรรมจึงมีส่วนช่วยส่งเสริมซึ่งกันและกัน

2. โครงสร้างของสังคม
โครงสร้างทางสังคม หมายถึง การจัด_______________residenti ของคนในสังคม
I

a wrf is ne
- ดังนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เป็นโครงสร้างสังคมได้ คือ ____________
v ลักษณะของโครงสร้างสังคม
- มีกลุ่มคนทีต่ ิดต่อสัมพันธ์กัน (สำคัญที่สุด)
- มีกฎเกณฑ์
- มีวัตถุประสงค์
- มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 4
v องค์ประกอบของโครงสร้างสังคม

โครงสรŒางสังคม

กลุ‹มสังคม สถาบันสังคม การจัดระเบียบสังคม

กลุ‹ม____ กลุ‹ม____ สถานภาพ การ______ การ______


และ_____ ทางสังคม ทางสังคม

ค‹านิยม บรรทัดฐาน

Ø กลุ่มสังคม (Social Group)


·stain
กลุ่มสังคม คือ กลุ่มคนที_่ __________อย่ างมีระเบียบตั้งแต่สองคนขึ้นไป และจะต้อง
- มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกัน
- อยู่ร่วมกันในสถานที่หนึ่งนานพอสมควร
insider Eng
- มีการ________________กั น (ถ้าขาดข้อนี้จะไม่ใช่กลุ่มสังคม แต่เป็นกลุ่มคน)
ตัวอย่าง กลุ่มสังคม เช่น ครอบครัว สมาคม ชุมชน ชนชั้นสังคม ฯลฯ
กลุ่มคนที่มารวมกันเพียงชั่วคราว ไม่ถือเป็นกลุ่มสังคม เช่น การชมคอนเสิร์ต การเดินห้างสรรพสินค้า ไทยมุง
noton it asideser
การใช้บริการรถประจำทาง การประท้วง เนื่องจาก__________________________________
in

v ประเภทของกลุ่มสังคม
1) กลุ่มปฐมภูมิ คือ กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์แบบส่วนตัว ใกล้ชิดกัน เช่น ความสัมพันธ์ในครอบครัว
เพื่อนสนิท สังคมชนบท เป็นต้น
2) กลุ่มทุติยภูมิ คือ กลุ่มคนที่ความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ ไม่ใกล้ชิดหรือ เฉพาะด้าน เช่น
ความสัมพันธ์ของนายจ้างกับลูกจ้าง สังคมเมือง เป็นต้น
Ø สถาบันสังคม (Social Institution)
สถาบันสังคม หมายถึง
inwonistin ่ทำให้สังคมเป็นระเบียบที่ได้รับการยึดถือจากสมาชิกของสังคมอย่างมั่นคง เป็น
1) _________ที
เวลานานภายใต้กฎเกณฑ์ที่แน่นอน
2) กลุ่มของบรรทัดฐาน ที่ใช้เป็นหลักในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของสมาชิกในสังคม

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 5
3) แบบอย่างพฤติกรรม ที่ตั้งขึ้นจนเป็นที่ยอมรับในสังคมและใช้แนวปฏิบัติสืบต่อมา เพื่อสนองความ
ต้องการพื้นฐานของสังคม
สรุป สถาบันทางสังคม เป็นแนวทาง (นามธรรม) และเปลี่ยนแปลงได้ยาก
not trio nosumtio nir rosteras dar
ที่เกิดขึ้นมาเพื่อ____________________________ของคนในสั งคม
v ประเภทของสถาบันสังคม
นักสังคมวิทยาแบ่งสถาบันสังคมออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่
1) สถาบันครอบครัว 2) สถาบันศาสนา
3) สถาบันการศึกษา 4) สถาบันเศรษฐกิจ
5) สถาบันการเมืองการปกครอง 6) สถาบันนันทนาการ
7) สถาบันสื่อสารมวลชน
v หน้าที่สำคัญของสถาบันต่าง ๆ
สถาบัน มูลเหตุการณ์เกิด กลุ่มสังคมในสถาบัน แบบแผน หน้าที่
สนองความต้องการของ มี 2 แบบ - ประเพณีการหมั้น 1. ผลิ ต _______Fatig
มนุ ษ ย์ ท ั ้ ง ทาง_____ as
vising 1) ครอบครั ว _____ - ประเพณีการแต่งงาน แก่สังคม
Sm
และ_____ (มีพ่อ แม่ ลูก) 2. อบรมเลี้ยงดูสมาชิก
2) ครอบครัว_____1818 ให้เป็นพลเมืองที่ดี
ครอบครัว
(อยู่ร่วมกับวงศาคณา 3. ขั ดเกลาทางสั งคม
ญาติ) แก่สมาชิกใหม่
4. ให้ ค วามรั ก ความ
อบอุ่น
สนองความต้องการของ - ครู อาจารย์ - การจัดกระบวนการ 1. ถ่ า ยทอดความรู้
มนุษย์ด้วย - นักเรียน ศึกษา ให้แก่สมาชิก
Saws
ก า ร _______แ
W
ละ - กระทรวงศึกษาธิการ - การจัดกิจกรรมการ 2. สร้างบุคลิกภาพที่ดี
การศึกษา การใช้ สติ ปั ญญาให้ เ กิ ด - วิทยากร เรียนการสอน แก่สมาชิก
ประโยชน์และทักษะการ - นั ก วิ จ ั ย ทางการ - แ บ บ แ ผ น ค ว า ม 3.
ใช้ชีวิต ศึกษา ประพฤติของนักเรียน ผ ล ิ ต ________ Salestin
ทางเศรษฐกิจ
สนองความต้องการของ - คณะสงฆ์ - ป ร ะ เ พ ณ ี ห รื อ 1. ก่อให้เกิด_____ daunche
Em
มนุษย์ด้าน_______ - ศาสนิกชน พิ ธ ี ก รรมต่ า ง ๆ ทาง อั น หนึ ่ ง อั น เดี ย วกั น
ศาสนา ของสังคม
ศาสนา 2. ถ่ายทอด_____ &Burt
3. เป็ น ที่ ย ึ ด เหนี ่ ย ว
จิตใจ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 6
สถาบัน มูลเหตุการณ์เกิด
สนองความต้องการของ
grin
มนุษย์ด้านความ____
กลุ่มสังคมในสถาบัน
- ฝ่ายนิติบัญญัติ
- ฝ่ายบริหาร
แบบแผน
- แ บ บ แ ผน ใ น ก า ร
เลือกตั้ง
ricrengineer
หน้าที่
1. สร้ า ง_______
ให้สังคม
OVDOny
และ___________ - ฝ่ายตุลาการ - แบบแผนพฤติกรรม
การเมืองการ 2. ตัดสินข้อขัดแย้งที่-
แก่ตนเอง - ข้าราชการการเมือง ของข้าราชการ เกิดขึ้นในสังคม
ปกครอง
นักการเมือง 3. บำบัดทุกข์บำรุงสุข
- แบบแผนพิ จ ารณา ให้ประชาชน
->

คดี s
สนองความต้องการของ - กลุ่มสังคมในบริษัท - แบบแผนในการผลิต 1. ผลิต_______InzUfMu
jis11y
มนุษย์ในด้าน______ โ ร ง แ ร ม ธ น า ค า ร สินค้า &
2. กระจาย______
ร้านค้า - การจัดระบบ ไปสู ่ ผ ู ้ บ ริ โ ภคหรื อ
การตลาด สมาชิกในสังคม
เศรษฐกิจ
- การกำหนดราคา
สินค้า
- แ บ บ แ ผน ใ น ก า ร
ประกอบอาชีพต่าง ๆ

3. การจัดระเบียบสังคม (Social Organization)


การจั ด ระเบี ย บสั ง คม คื อ _________ที
↑8WMU ่ ค วบคุ ม สมาชิ ก ในสั ง คมทำตามระเบี ย บแบบแผน
(การทำให้คนในสังคมอยู่ในกรอบเดียวกัน) เกิดขึ้นเพราะสังคมมีคนจำนวน____ wi และมีความต้องการที่_missi
___
เพื่อให้สังคมมีระเบียบและเกิดความสงบสุข
waneraiwith
ถ้าไม่ทำตามที่คนส่วนใหญ่ทำกันจะหลุดออกจากการจัดระเบียบ เรียกว่า ______________ (Diviate Behavior)

v กลไกในการจัดระเบียบสังคม
ได้แก่ สถานภาพและบทบาท ค่านิยม บรรทัดฐาน การขัดเกลาทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
Ø สถานภาพและบทบาท
v สถานภาพ (Social Status)
&119 is
สถานภาพ หมายถึง _________ของบุ คคลในสังคม (บ่งบอกว่า “เราเป็นใคร” ในสังคม)
แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
evich
1) สถานภาพที่ได้มาแต่กำเนิด (Ascribed Status) เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ______
2) สถานภาพที่ได้มาภายหลัง หรือ สถานภาพ_________ pro (Achieved Status) เช่น การศึกษา
อาชีพ ยศ การสมรส (สามี ภรรยา การเป็นพ่อแม่)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 7
v บทบาท (Role)
delaeaot
บทบาท หมายถึ ง หน้ า ที ่ สิ ท ธิ _________ตามสถานภาพ (บ่ ง บอกว่ า “เราทำอะไร” ตาม
สถานภาพที่เราเป็น)
- บทบาทจะแสดงฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องมีคู่แสดงบทบาทเสมอ
- เราสามารถทำนายคาดการณ์บทบาทล่วงหน้าได้ เพราะบุคคลส่วนใหญ่มักจะแสดงบทบาทเดิมด้วย
วิธีการเดิม เช่น เราได้เข้าศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ à เป็นครู à สอนหนังสือ
v ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพและบทบาท
&Medlin
- สถานภาพและบทบาท เป็นสิ่งคู่กัน โดย_________จะเป็ นตัวกำหนด________ envin

- หากว่าคนหนึ่งคนมีหลายสถานภาพ จึงทำให้เขามีหลายบทบาทด้วย และเมื่อมีหลายบทบาทจึงเกิด


2NUIr
ความสับสนนำไปสู่ ______________ (Conflict Role) เช่น สามีเป็นตำรวจ ส่วนภรรยาเปิดบ่อน หรือ
พ่อเป็นครูฝ่ายปกครอง ส่วนลูกชายเป็นหัวหน้าแก๊งในโรงเรียน
- บางสถานการณ์อาจมีสถานภาพแต่ไม่มีบทบาท เช่น นักเรียนเป็นนักเรียน
แต่โดดเรียน!! (ไม่ควรทำนะครับ)
Mining at
การไม่เข้าใจบทบาทตามสถานภาพของสมาชิก แก้ไขได้ด้วย “_________________”
me

Ø การขัดเกลาทางสังคม (Socialization)
die
การขัดเกลาทางสังคม หรือ สังคมประกิต คือ กระบวนการของสังคมในการ_______แบบแผน Noc

พฤติกรรม วัฒนธรรม และบรรทัดฐานให้แก่สมาชิกในสังคม (พูดง่าย ๆ คือ เป็นการสอนสมาชิกในสังคม เพราะ


คนสามารถเรียนรู้ได้) แบ่งเป็น 2 ประเภท
1) การขัดเกลาทางสังคมโดยตรง คือ การบอกกล่าวโดยตรง สั่งสอนว่าสิ่งใดควรทำไม่ควรทำ เช่น
must on ends me music
_________________________
2) การขัดเกลาทางสังคมโดยอ้อม คือ เป็นการเรียนรู้จากการกระทำของคนอื่น หรือ การซึบซับจากสื่อ
โดยไม่มีใครมาบอก เช่น การระวังตัวจากการถูกลวนลามบนรถเมล์เพราะอ่านข่าว การเรียนรู้การเล่นจากเพื่อน
Ø ค่านิยม (Social Value)
aufontro าดีจึงปฏิบัติ แต่ที่จริงแล้วอาจจะเป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ เช่น
ค่านิยม เป็นความคิดที่_______มองว่
คนไทยมีความกตัญญู ไหว้ผู้ใหญ่ (ค่านิยมที่ดี) หรือ เด็กวิศวะต้องดื่มเหล้าเก่ง การให้สุราเป็นของกำนัล
(ค่านิยมที่ควรปรับปรุง)
erndt
ค่านิยม เป็นพื้นฐานสำคัญทีก่ ่อให้เกิด ___________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 8
Ø บรรทัดฐาน (Social Norm)
Janu หมายถึ ง กฎเกณฑ์ แบบแผน ความประพฤติ ท ี ่ ส มาชิ ก ใน
บรรทั ด ฐาน หรื อ ______
so
สังคม_______และใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อกัน ทำให้สังคมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
v ประเภทของบรรทัดฐาน
บทลงโทษ
ประเภท ความหมาย ตัวอย่าง
(การควบคุมทางสังคม)
เป็นสิ่งที่คนในสังคมทำ ๆ กันจน - ธรรมเนียมมารยาท เช่น ไหว้ ผู้ที่ไม่ทำตาม
1500 indire เมือ่ เจอผู้ใหญ่
กลายเป็น____________ - จะดูแปลก หรือ เสียมารยาท
- การแต่งกายในโอกาสต่าง ๆ WWRI dA
- มั ก ถู ก ______________
วิถีประชา 121:152
เช่น ใส่ชุดขาวหรือดำไปงานศพ ___________________
(Folkways) - การกิ น อาหาร เช่ น การกิ น - เป็ น การลงโทษแบบไม่ เ ป็ น
ข้าวเป็นอาหารหลัก ทางการ/ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร/
- วิถีชีวิตประจำวัน เช่น อาบน้ำ แบบอรูปนัย
dolarosa
- เป็นเรื่องของ__________ nat ผู้ที่ไม่ทำตาม
- ลูกต้อง________ต่ อพ่อ - จะดูเลวหรือชั่ว
ของสังคม แม่
- มักมีพื้นฐานมาจากศาสนา - มั กถู กสั งคมลงโทษอย่ างรุ นแรง
- นักเรียนต้องไม่ทุจริตในห้อง เช่ น ________________
จารีต สอบ ewuszudwi
Vrzt
___________________
(Mores) - หมอต้องรักษาความลับของ - เป็ น การลงโทษแบบไม่ เ ป็ น
คนไข้ ทางการ/ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร/
- ผู้หญิงห้ามแตะจีวรพระสงฆ์ แบบอรูปนัย
- มุสลิมควรถือศีลอด
เป็ น ระเบี ย บที ่ อ อกมาอย่ า งเป็ น - ต้องสวมหมวกนิรภัย ผู้ที่ไม่ทำตาม
กฎหมาย Yrdz
ทางการ บั ง คั บ ใช้ แ ก่ ______ - ห้ามขายยาบ้า - ถูกลงโทษตาม__________
by wit
(Laws) อย่างไม่มีทางเลือก มีบทลงโทษผู้ฝ่า - ต้องมีใบขับขี่ - เป็นการลงโทษแบบเป็นทางการ/
ผืนตามกระบวนการยุติธรรม เป็นลายลักษณ์อักษร/แบบรูปนัย

Ø การควบคุมทางสังคม (Social Control)


การควบคุมทางสังคม หรือ __________ทางสังคม หมายถึง กระบวนการที่ทำให้สมาชิกของ
สังคมยอมรับและทำตามบรรทัดฐาน

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


1. Dim 6.05m
2. odt. rguais
l
:

Ingers
3.
My navies.
4. X 9,15m
RyUN8
5. Ues 10. As
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 9
v ประเภทการควบคุมทางสังคม แบ่งตามเกณฑ์ต่าง ๆ ได้ดังนี้
1) การควบคุมจากภายในและภายนอก
- การควบคุมภายใน เช่น การมีจิตสำนึก การมีมโนธรรม
- การควบคุมภายนอก เช่น การใช้กฎหมาย การประณาม
2) การควบคุมอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
- การควบคุมอย่างเป็นทางการ โดยการใช้กฎหมาย
- การควบคุมอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การประณาม การประชาทัณฑ์ การนินทา
3) การควบคุมโดยการจูงใจและการลงโทษ
- การจูงใจ โดยการให้รางวัล เพื่อให้ปฏิบัติตาม เช่น การยกย่อง การมอบเหรียญ ประกาศนียบัตร
- การลงโทษ สำหรับผู้ฝ่าฝืน เช่น การดูถูก การเยาะเย้ย ติเตียน ปรับ จำคุก

4. สังคมไทย
สังคมไทย มีลักษณะร่วมของคนในสังคม โดยมีปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่าง ๆ ดังนี้
1) ปัจจัยด้านธรรมชาติ ทำให้สังคมไทยเป็นสังคม______interior จึงทำให้ชีวิตผู้คนผูกพันกับสภาพลมฟ้า

with downrans
อากาศเป็นสำคัญ เกิดขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับเกษตรกรรม เช่น_____________________
2) ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่
- ศาสนา (ศาสนาพุทธ : หลักธรรมคำสอนต่าง ๆ / ศาสนาพราหมณ์ : พิธีแรกนาขวัญ
สงกรานต์ การใช้สายสิญจน์)
- อิทธิพลจากตะวันตก เช่น เทคโนโลยี การสร้างบ้าน การแต่งกาย
Ø ลักษณะทั่วไปของสังคมไทย
สังคมไทย ประกอบด้วยสังคมเมือง (เช่น กรุงเทพมหานคร) และสังคมชนบท (ต่างจังหวัด) ซึ่งมี
ประชากรเพศหญิง___กว่ Wil ing
าเพศชาย และมีประชากรวัยชรา___ในขณะที ่ประชากรเด็ก____
*dDS ทำให้สังคมไทย
เริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) นอกจากนี้สังคมไทยยังมีลักษณะทั่วไปต่าง ๆ ดังนี้
1) เป็นสังคมเกษตรกรรมและสังคมชนบท
2) คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จึงทำให้
- คนไทยเน้นความสงบสุข เช่น สันโดษ เสียสละ กฎแห่งกรรม สังสารวัฏ
- ความเชื่อเรื่องกรรม ทำให้คนไทยชอบทำบุญ และยอมรับเรื่องความแตกต่างทางชนชั้นว่า
เป็นเรื่องธรรมดา
3) มีโครงสร้างการแบ่งชนชั้น (หลัง พ.ศ.2475 การแบ่งชนชั้นเกิดจากปัจจัยทาเศรษฐกิจและสังคม
ได้แก่ ตระกูล ตำแหน่งทางการเมือง ตำแหน่งทางราชการ ความมั่งคั่ง การศึกษา อาชีพ)
4) เทิดทูนและยึดมั่นในสถาบันกษัตริย์
5) มีการรวมอำนาจและความเจริญไว้ทสี่ ่วนกลาง (กทม.)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 10
6) เป็นสังคมระบบอุปถัมภ์ จึงทำให้เกิดการเล่นพรรคเล่นพวก
7) มีโครงสร้างแบบหลวม (คนไม่ค่อยเคารพกฎเกณฑ์ ไม่มีวินัย)
8) เปลี ่ ย นแปลงเร็ ว โดยเฉพาะในเมื อ งใหญ่ ๆ เพราะอิ ท ธิ พ ลของระบบทุ น นิ ย ม และกระแส
To si
ยุค___________ซึ ่งเป็นสังคมแบบวัตถุนิยมและบริโภคนิยม

Ø ความแตกต่างของสังคมชนบทและสังคมเมือง
ประเด็น สังคมชนบท สังคมเมือง
- ชีวิตอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติมาก และใช้ชีวิตเผชิญ - เมืองไม่ค่อยสัมผัสกับธรรมชาติ
กับธรรมชาติโดยตรง - ประชากรหนาแน่น บ้านเรือนอยู่ใกล้ชิดกัน
ลักษณะทั่วไป - ผู้คนประกอบอาชีพ______ IEMUI/I ต้องพึ่งพาอาศัย - ผูค้ นในเมืองประกอบอาชีพ________ O MURUra
กันโดยตรง (เช่น การลงแขก) พาณิชยกรรม จึงต้องแข่งขันกันสูง
- บ้านเรือนกระจัดกระจาย - มีการจัดระเบียบชุมชน กำหนดพื้นที่เมือง
- เป็นสังคมชาวบ้าน ผู้คนมีชีวิตความเป็นอยู่และ - ผู้คนมากมาย หลากหลาย และแตกต่าง
วัฒนธรรมที่เรียบง่าย - ผู ้ ค นอยู ่ ก ั น หนาแน่ น ไม่ ร ู ้ จ ั ก กั น จึ ง เป็ น
- ผู้คนรู้จักกันเป็นส่วนตัว ผูกพันกันทางจิตใจ จึง ความสัมพันธ์แบบ_______ perc
Uzu is
เป็นความสัมพันธ์แบบ_______ - ผู ้ ค นมี ก ารศึ ก ษา อาชี พ และฐานะทาง
- ผู้คนเป็นเกษตรกรเหมือนกัน ไม่มีความต่างกันนัก เศรษฐกิจแตกต่างกัน
ลักษณะสังคม - ผูกพันกับศาสนา - คนเมืองจึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
- ผู้คนเน้นการปฏิบัติตามจารีต เปลี่ยนแปลงได้น้อย - มีการเคลื่อนไหวทางสังคมสูง เช่น เปลี่ยน
- ยกย่องคนที่คุณงามความดี ตำแหน่งหน้าที่การงาน
- เป็นสังคมปิด สถานภาพของคนจะตายตัว - เปลี่ยนแปลงเร็ว (จากอิทธิพลจากตะวันตก)
- ศูนย์กลางของชุมชน คือ วัด - เป็นสังคมเปิด สถานภาพคนเปลี่ยนแปลง
- ผู้คนประกอบอาชีพเกษตร - ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม
ลักษณะเศรษฐกิจ - มีรายได้_i__ - คนเมืองให้ความสำคัญกับเวลามาก
- มีรายได้___ Es มีการออมทรัพย์มาก
- คนชนบทมักไม่สนใจเรื่องการเมืองการปกครอง - คนเมืองให้ความสนใจเรื่องการเมืองการ
ลักษณะการปกครอง ปกครองมากกว่าคนชนบท
- การปกครองมักจะว่ากันตามกฎหมาย
- สภาพแวดล้ อ มดี มี อ ากาศบริ ส ุ ท ธิ ์ ธรรมชาติ - เป็นศูนย์รวมความเจริญ โดยเฉพาะด้าน
สวยงาม วัตถุ
ข้อดี - ชาวชนบทมีน้ำใจ เมตตาต่อกัน - มี ความสะดวกสบายในเรื ่ องต่ าง ๆ เช่ น
- เป็นสังคมเบ็ดเสร็จ คือ อยู่ได้ด้วยตัวเอง แม้จะ การเดินทาง สาธารณูปโภค
ไม่ได้ติดต่อกับชุมชนภายนอก - มาตรฐานการครองชีพสูง

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 11
ประเด็น สังคมชนบท สังคมเมือง
- มาตรฐานการดำรงชีวิตต่ำ - สภาพแวดล้อมไม่ดี ปัญหามลพิษมาก
ข้อเสียเปรียบ - ขาดความสะดวกสบายเรื่องการเดินทาง - คนอาศัยอยู่มาก แออัด เกิดปัญหาชุมชน
- ขาดเงินทุน ความรู้ เทคโนโลยีที่ทันสมัย แออัด

Discerni
สังคมชนบทและสังคมเมืองต้อง______________
- ชนบทพึ่งเมือง ด้านผลผลิตทางอุตสาหกรรม ตลาด เทคโนโลยีและบริการต่าง ๆ
- เมืองพึ่งชนบท ด้านผลผลิตทางเกษตรกรรม แรงงาน และพลังงานต่าง ๆ

Ø สถาบันสังคมที่สำคัญของไทย
1. สถาบันครอบครัวไทย เป็นครอบครัวเดี่ยวอย่างเห็นได้ชัด ให้ความสำคัญต่อระบบอาวุโส นิยมมี
คู่ครองคนเดียว
2. สถาบันเศรษฐกิจไทย ส่วนใหญ่เป็นสังคมเกษตรกรรม มีหัตถกรรมที่แสดงถึงภูมิปัญญาไทย เน้น
อุตสาหกรรมขนาดกลางและย่อม (SMEs) มีมูลค่าด้านธุรกิจการค้ามากขึ้น มีการบริโภคมากขึ้นตามยุคบริโภค
นิยม หลงในกระแสวัตถุนิยมและทุนนิยม
3. สถาบันการเมืองไทย อยู่ภายใต้ระบบอุปถัมภ์ (ผู้คนต่างเคารพนับถือ เชื่อฟังผู้ใหญ่ที่เป็นผู้อุปถัมภ์)
ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น
4. สถาบันศาสนาไทย มีเสรีภาพในการที่จะนับถือศาสนา ผู้คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ แต่เน้น
พิธีกรรมมากกว่าเข้าถึงหลักธรรม
5. สถาบั น การศึ ก ษาไทย มี แ หล่ ง การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ห ลากหลายมากขึ ้ น เช่ น โรงเรี ย น ครอบครั ว สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทำให้มีการศึกษา 3 รูปแบบ คือ ในระบบ (ในโรงเรียน) นอกระบบ และอัธยาศัย

Ø ค่านิยมของสังคมไทย
ค่านิยม เป็นตัวบ่งชี้ถึงความเป็นสังคมไทยได้ดีที่สุด
ค่านิยมไทยที่สำคัญและควรปลูกฝัง ค่านิยมไทยที่ควรแก้ไข
1) Isnow s 1) UVI mis
2) Poster i 2) irriz
3) ↑ erow wid 3)
4) 4)
5) 5)
6) 6)
7) 7)
8) 8)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 12
5. วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น
Ø วัฒนธรรมไทย
v ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
1) เป็นวัฒนธรรมแบบ________
We wor เพราะได้รับอิทธิพลจากชาติอื่น ๆ ด้วย
2) เป็นวัฒนธรรมทีน่ ิยมความสนุกสนาน มีการละเล่นต่าง ๆ ประจำท้องถิ่นอย่างหลากหลาย
3) เป็นวัฒนธรรมที่นับถือระบบเครือญาติ และระบบอาวุโส
4) เป็นวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากอาชีพเกษตรกรรม ประเพณีและการละเล่นมีที่มาจากการเกษตร
5) เป็นวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนา เชื่อในบาปบุญคุณโทษ การทำบุญ การกุศล
6) เป็นวัฒนธรรมทีย่ ึดพิธีกรรม
v การเลือกรับวัฒนธรรมจากภายนอก
ต้องดูว่าสามารถผสมผสานหรือเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทยหรือไม่ มีส่วนสนับสนุนให้วัฒนธรรมไทย
ก้าวหน้ามากขึ้นเพียงใด อยู่ร่วมกับวัฒนธรรมเดิมได้หรือไม่ โดยหากเราไม่เลือกรับวัฒนธรรมใดเลยจะทำให้เกิด
“ความล้าหลังทางสังคม” และในขณะเดียวกันเราก็ควรอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยด้วย
v การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การสร้างจิตสำนึกให้ทุกคนรู้จักหวงแหนและส่งเสริมคุณค่าของวัฒนธรรมระดับ
ท้องถิ่นและระดับชาติไปด้วยกัน
Ø ภูมิปัญญาไทย
Noise
ภูมิปัญญา หมายถึง _______ที
j
่เกิดจากการสั่งสม ถ่ายทอด คิดค้น สร้างสรรค์ขึ้นมา เพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาและการปรับตัว โดยแบ่งเป็นภูมิปัญญาชาติ และภูมิปัญญาท้องถิ่น (ภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบกันเป็น
ภูมิปัญญาชาติได้)

v ลักษณะภูมิปัญญาท้องถิ่น
1) เป็นรูปธรรม เป็นเรื่องเฉพาะด้าน เช่น อาหาร อาชีพ ศิลปะ ดนตรี
2) เป็นนามธรรม เป็นโลกทัศน์ ปรัชญา คุณค่า ความหมายของทุกสิ่งในชีวิต มี 3 ด้าน
- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ เพื่อสังคมอยู่ได้
- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก คือ สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอื่นรอบตัว
- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นอำนาจเหนือธรรมชาติ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 13
Ø วัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่นในภาคต่าง ๆ ของไทย
หัวข้อ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต้
- เลี้ยงข้าวแลงขันโตก - รับบัวโยนบัว - บุญคูนลาน - ลากพระ (ชักพระ)
- ตานก๋วยสลาก จ.สมุทรปราการ - บุ ญ บั ้ ง ไฟ (เม.ย.- - สารทเดือนสิบ
- บวชลูกแก้วเป็นสามเณร - ทำขวัญข้าว (ระลึกถึง พ.ค.) เพื่อขอฝน warat) mis licens
จ._________
(ปอยส่างลอง) พระแม่โพสพ) - ผีตาโขน จ._____rig - เทศกาลกินเจ
Ilajosion
จ.______ - บู ช าพระพุ ท ธบาท จ. - บุญพระเวส (เทศนม fie
จ._____
- การทำบุ ญ ทอดผ้ า ป่ า สระบุรี หาชาติ) - ประเพณีชาวมุสลิม เช่น
↑ IINs IWUr
แถว จ.________ I - งานสมโภชพระพุทธชิน - แห่ปราสาทผึ้ง จ.เลย การจัดงานศพ
- ทำขวั ญ ผึ ้ ง อ.คี ร ี ม าศ werrific
ราช จ._______ สกลนคร หนองคาย - แห่เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว
Fr
จ.________ - แห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำ นครพนม - แห่ผ้าขึ้นธาตุ
- แข่ ง เรื อ จ.พิ จ ิ ต ร war dura
โพ จ._______ - ไหลเรือไฟ จ.นครพนม - ลาซัง
พิษณุโลก น่าน - ตักบาตรพระร้อย ศรีสะเกษ มหาสารคาม
- อ ุ ้ ม พ ร ะ ด ำ น้ ำ จ._______Warni - บุญข้าวสาก (อุทิศให้
ประเพณี
จ.______swurzi - ตักบาตรเทโว ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว)
- ตี เ หล็ ก น้ ำ พี้ ต.น้ ำ พี้ จ.______ Na - เลี้ยงผีปู่ย่า
อ . ท อ ง แ ส ง ขั น - งานทิ้งกระจาด - แห่นางแมว
·wom
จ._______ Newc
จ._______
- ฟ้อนผี (ให้บรรพบุรุษ) - นมัสการหลวงพ่อ
1) หลวงพ่ อ โต วั ด ป่ า
เลไลย์ จ.________ wire
2) ห ล ว ง พ ่ อ โ ส ธ ร
Besid
จ._____
3) หลวงพ่อวัดบ้านแหลม
rozz
จ.________
4) ห ล ว ง พ ่ อ วั ด ไ ร ่ ขิ ง
วัดมงคลจินดาราม
warnyw
จ._______
ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม อาหารพื้นบ้าน ศิลปวัฒนธรรม
- หนั ง สื อ สมุ ด ข่ อ ยเรื ่ อ ง - เมืองโบราณที่ - มี ว ิ ธ ี ป รุ ง หลายแบบ - ศิลปะไชยา
จิ ก คำ พู ด ว่ า มนุ ษ ย์ มี พระนครศรีอยุธยา เช่นแกงอ่อม หมกยำ ส่า จ._______
Fr
คุณค่าเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว - เมืองโบราณที่สิงห์บุรี คั่ว ป่น หลน ซุบ ลาบ หัตถกรรม
โดยกำเนิด แต่ต้อง พิธีกรรม ก้อย แจ่ว หลาม - ใช้ใบตาลมาจักสาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น แสวงหาความดีด้วย - พิธีทรงเจ้าของชาวมอญ - ถนอมอาหาร เช่ น - เครื่องถม เครื่องเงิน
- “แข่งเฮือแข่งแป แข่งกัน อ.เกาะเกร็ด จ.นนทบุรี หมัก ตากแห้ง ห น ั ง ต ะ ลุ ง
I
ได้ แข่ ง บุ ญ แข่ ง วาสนา ตำรายาพื้นบ้าน หัตถกรรม And wauns
จ.________
แข่งกันไม่ได้” - ยาแก้ไข้ ยาแก้ท้องเสีย - ย้อมผ้าไหมด้วย แก่น พืชสมุนไพร
แ ก ้ โ ล ห ิ ต แ ก ้ ไ อ แ ก้ แกแล (ทำให้สีติดนาน) - เถาคัน ตีเมียเบื่อย่าง
ท้องเฟ้อ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 14
หัวข้อ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต้
พิธีกรรม เพลงพื้นบ้าน ศาสนา เครื่องดนตรี
- สื บ ชะตาคน สื บ ชะตา - เพลงอีแซว จ.สุพรรณบุรี - มีการกำหนดข้อห้าม - ปีช่ วา อังกะลุง
บ้าน สืบชะตาเมือง - ลำตัด ลิเก เสภา รำโทน (ข้อขะลำ) และข้อควร
ศิลปะพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้านของเด็ก ปฏิบัติ (คอง)
- เครื ่ อ งปั ้ น ดิ น เผาทุ่ ง - ไล่จับ กระต่ายขาเดียว เครื่องดนตรี
หลวง มอญซ่อนผ้า ม้าก้านกล้วย - โหวด โปงลาง
rat
อ.คีรีมาศ จ.______ เครื่องดนตรี
- การทำเครื่องเขิน - ปี่ ขลุ่ย ระนาด กลอง
อาหารไทยล้านนา ทัด กลองยาว
- ถั่วเน่าเมอะ ถั่วเน่าแข็บ เพลงไทยเดิม
เครื่องดนตรี - ลาวคำหอม เขมรไทร
- สะล้อ ซอ ซึง ปี่ โยค เขมรทรงพระดำเนิน
มอญดูดาว จีนเก็บบุปผา
แขกสาหร่าย ญี่ปุ่นรัญจวน
- เกษตรผสมผสาน - วนเกษตร (ปลู ก พื ช - เกษตรผสมผสาน วน - เกษตรยั่งยืน
- ธนาคารข้าว หลายอย่ า งหมุ น เวี ย น เกษตร เกษตรอินทรีย์ - กองทุน/ธุรกิจชุมชน
- บวชป่า ผ้าป่าต้นไม้ เพื่อให้มีรายได้ตลอดปี) - การแพทย์ - ระบบบัญชีชาวบ้าน
ภูมิปัญญาที่ได้รับ
- สืบชะตาแม่น้ำน่าน - สวนป่าสมุนไพร - หมอลำ : ฉวี ว รรณ - แกะหนังตะลุง
การยกย่อง
- ผ้าทอไทลื้อ - กองทุน/ธุรกิจชุมชน พันธุ จ.ร้อยเอ็ด
- การแกะสลักไม้ - เพลงอีแซว (ขวัญจิต
ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี)

Ø ตัวอย่างภูมิปัญญาสังคมอื่น
v จีน
1) อาหารจีน
- ยึดหลักหยินหยาง และเบญจธาตุ เพื่อปรับสมดุลอวัยวะภายในทั้งห้า คือ หัวใจ ตับ ม้าม ปอด และไต
- หยินเป็นอาหารที่อุดมด้วยโพแทสเซียม หยางเป็นอาหารที่อุดมด้วยโซเดียม
- เบญจรส ประกอบด้วย เผ็ด(แก้หวัด) หวาน เปรี้ยว ขม(ขับร้อน) และเค็ม
2) อักษรจีน : เขียนจากขวาไปซ้าย
3) บ้านจีน : สร้างด้วยดินเหนียวผสมหญ้า คล้ายตึก
v เกาหลี - กิมจิ (ผักดอง) - ระบำหน้ากาก
v ญี่ปุ่น - บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป - ลัทธิบูชิโด (ซามูไร)
v ตะวันตก - อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีต่าง ๆ
v UNESCO

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 15
- ประกาศว่ามี 5 ประเทศที่สนับสนุนภูมิปัญญาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง คือ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์
ฝรั่งเศส และโรมาเนีย
- ฟิลิปปินส์ (การแกะสลัก การทำนาบนไหล่เขาของเผ่าบอนตอกและอีฟูกัว เสื้อบารอง
เต้นรำบายานิฮาน)
- ฝรั่งเศส (ภาษาฝรั่งเศสที่ไพเราะ ปรมาจารย์ศิลปะ 37 แขนง เช่น ช่างทำวิกผมปลอม
ช่างทำพัด ช่างทำผ้าลูกไม้)

6. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยและแนวโน้ม
Ø ประเภทการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
- เป็นการเปลี่ยนแปลงที_่ new wi
__________ ของคน (โครงสร้างสังคม)
- เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานภาพ บทบาท
- เป็นการเปลี่ยนแปลงจำนวนคน
- เช่น ผู้หญิงมีสถานภาพสูงขึ้น ผู้หญิงมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น ความสัมพันธ์ของคนเป็นแบบทุติย
ภูมิมากขึ้น
2) การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
awes
- เป็นการเปลี่ยนแปลงสิ่งที_่ __________
- เป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดของคน
- เช่น การนำเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น ผู้หญิงไม่นิยมนุ่งผ้าถุง
ข้อสังเกต
- สังคมประชาธิปไตยจะเปลี่ยนแปลง___กว่
NI าสังคมคอมมิวนิสต์
- สังคมที่ติดต่อกับคนภายนอกจะเปลี่ยนแปลง____กว่
Wi าสังคมปิด
- สังคมชนบทผูกพันกับขนบธรรมเนียมประเพณีจะเปลี่ยนแปลง____กว่ Ul าสังคมเมือง
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมเริ่มมีอย่างเป็นแบบแผนตั้งแต่การประกาศใช้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504
↳otwo
aft in fr เป็นนายกรัฐมนตรี)
(สมัย______________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 16
Ø แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย
ให้นักเรียนวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ดังหัวข้อต่อไปนี้
v ครอบครัว
↳ster:
En wie must rainier
_____________________________________________________
_____________________________________________________
Sawsit:war water note wasrun
_____________________________________________________
v เศรษฐกิจ
Ejoz: nutrientat
_____________________________________________________
Pratt:sliver waves
_____________________________________________________
_____________________________________________________
v การเมือง
Era:Virus.
Enriquett
_____________________________________________________
Sewer:
_____________________________________________________
_____________________________________________________
v ศาสนา
Soda: Editing now
_____________________________________________________
Training is
_____________________________________________________
_____________________________________________________
v การศึกษา
Enz:uumsonmaintai
_____________________________________________________
frawinggridsinate
_____________________________________________________
_____________________________________________________
v นันทนาการ
Ent: not innsdodewaist
_____________________________________________________
freuwirt? wertuns
_____________________________________________________
_____________________________________________________
v สื่อสารมวลชน
↳ode;did it inzwide demos
_____________________________________________________
Siwurio:air windo
_____________________________________________________
_____________________________________________________
นักเรียนคิดว่าแนวโน้มดังกล่าวเกิดจากปัจจัยใดบ้าง
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 17
7. ปัญหาสังคมไทย
Ø ปัญหาสังคม จะต้อง
- เกิดขึ้นจาก_____
de
- มีผลกระทบต่อส่วนรวม (2-3 คนขึ้นไป)
- คนส่วนรวมเห็นว่าต้องแก้ไข
- เป็นปัญหาที่สามารถร่วมมือกันแก้ไขได้ (สำเร็จหรือไม่สำเร็จก็ได้)
ปัญหาที่เกิดจากปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ไม่อาจควบคุมได้ ไม่เป็นปัญหาสังคม

Ø สาเหตุของปัญหาสังคม
1) การเสียระเบียบทางสังคม คือ สังคมจัดระเบียบไม่ดีจึงเกิดปัญหา เช่น ปัญหารถติด(วางผังเมืองไม่ดี)
ปัญหาคุณภาพชีวิตประชากร
2) พฤติกรรมเบี่ยงเบน คือ การไม่ทำตามกรอบ เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาทุจริตคอรัปชั่น
Ø ปัญหาสำคัญของสังคมไทย
1) ปัญหาครอบครัวขาดความอบอุ่น (เกิดจากสภาพสังคมเปลี่ยนไป จึงเป็นปัญหาพื้นฐานที่ทำให้เกิด
ปัญหาอื่นตามมา)
2) ปัญหาอาชญากรรม
3) ปัญหายาเสพติด เกิดจากความอยากรู้อยากลองและการชักชวนของเพื่อน แก้โดยการให้ความรู้แก่
เยาวชน ส่งเสริมความอบอุ่นในครอบครัว โครงการโรงเรียนสีขาว
4) ปัญหาความยากจน พบมากในสังคมชนบท
5) ปัญหาโสเภณี ไม่ได้เกิดจากความยากจนเสมอไป แต่อาจเกิดจากค่านิยมที่ผิดได้เช่นกัน
6) ปัญหาการว่างงาน พบมากในสังคมเมือง
7) ปัญหาโรคเอดส์ เกิดจากการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน การไม่ป้องกันขณะมีเพศสัมพันธ์
8) ปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งดิน น้ำ อากาศ
9) ปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง
10) ปัญหาชุมชนแออัด เกิดในสังคมเมืองเท่านั้น

วิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมที่ดีที่สุด คือ
ส่งเสริมการศึกษาให้ประชาชนตระหนัก ถึงสาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ไข

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 18
8. คุณลักษณะพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

นักเรียนคิดว่า “พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย” จะต้องมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง


↑ cinidoisifonow she mineries 112 inter adaridwar warmin
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 19
หน่วยที่ 2 พระพุทธศาสนา
1. สภาพสังคมชมพูทวีปสมัยพุทธกาล
- ชมพูทวีป ตามรูปศัพท์หมายถึง “เกาะแห่งต้นหว้า”
dri ซึ่งพูดภาษาทมิฬ เตลุคุ มาลาบาร์ และกะนะริส
- ชนพื้นเมืองเดิม คือ ชาว________
01
- ต่อมาชาว_____อพยพเข้ ามาขับไล่ชนพื้นเมืองไปทางทิศใต้และทิศตะวันออก และตนเข้า
ครอบครองภาคเหนือ
i
ชาวอารยันเรียกตนเองว่า “อารยัน” หรือ “อริยกะ” หมายถึง _______
wrio
และเรียกชาวดราวิเดียนว่า ทัสยุ ทาส มิลักขะ อนาริยกะ หมายถึง _______

Ø ด้านการเมืองการปกครอง
Fo
- การปกครองสมัยเดิมแบ่งออกเป็น “แว่นแคว้น” ต่าง ๆ โดยแต่ละแว่นแคว้นจะเรียกว่า “_____”
หากว่าใหญ่มากจะเรียกว่า “มหาชนบท”
- แต่ละชนบทจะประกอบด้วย นิคม(เมือง) และคาม(ตำบล)
- ชมพูทวีปแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
acti
1) แว่นแคว้นส่วนกลาง เรียกว่า มัชฌิมชนบท (มัธยมชนบท) เป็นที่อยู่ของชาว___ (ผิวขาว)
de (ผิวดำ)
2) แว่นแคว้นชั้นนอก เรียกว่า ปัจจันตชนบท เป็นที่อยู่ของพวก________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 20
v แคว้นที่มีชื่อเสียง
1) แคว้นมคธ
เมืองหลวง ราชคฤห์
กษัตริย์ พระเจ้าพิมพิสาร(พ่อ) พระเจ้าอชาตศัตรู(ลูก)
ความสำคัญ 1) สถานที่ที่พระพุทธเจ้า_____ mirt (ต.อุรุเวลาเสนานิคม)
2) สถานที่ที่เกิดพระโมคคัลลานะ และ พระสารีบุตร (หมู่บ้านนาลันทา)
3) สถานที่สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 1 (ถ้ำสัตตบรรณคูหา)
4) สถานที่สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 3 (วัดอโศการาม)
2) แคว้นโกศล
เมืองหลวง สาวัตถี
กษัตริย์ พระเจ้ามหาโกศล(รุ่นเดียวกับพระเจ้าสุทโธทนะ) พระเจ้าปเสนทิโกศล(สหายพระเจ้าพิม
พิสาร)
wis um war andmu (อนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้าง)
ความสำคัญ 1) สถานที่ตงั้ ของวัด_________________
2) สถานที่ตั้งวัด_____________
I awick (นางวิสาขาสร้าง)
3) พระพุทธเจ้าจำพรรษาที่วัดพระเชตวัน 19 พรรษา และวัดบุพพาราม 6 พรรษา
3) แคว้นวังสะ
เมืองหลวง โกสัมพี
กษัตริย์ พระเจ้าอุเทน
ความสำคัญ 1) พระพุทธเจ้าเคยประทับที่วัดกุกกุฏราม วัดโฆสิตาราม วัดปาวาริการาม วัดพัทริกา
ราม
4) แคว้นอวันตี
เมืองหลวง อุชเชนี
กษัตริย์ พระเจ้าจัณฑปัชโชต
ความสำคัญ 1) สถานที่ตั้งพระสถูปสาญจี
2) ภิกษุชาวอวันตี เช่น พระมหากัจจายนะ พระนันทกุมาร
5) แคว้นวัชชี
เมืองหลวง เวสาลี
กษัตริย์ ปกครองแบบสามัคคีธรรม ต่อมาถูกพระเจ้าอชาตศัตรูรวมเข้ากับแคว้นมคธ
ความสำคัญ 1) สถานที่ที่พระนางมหาปชาบดีโคตรมี (พระน้านาง) บวชเป็นภิกษุณีรูปแรก
2) สถานที่สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 2

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 21
v การปกครองแคว้นต่าง ๆ มี 2 ระบบ คือ
1) ราชาธิปไตย
king อำนาจสิทธิขาดผู้เดียว มีรัชทายาทสืบสันตติวงศ์ แต่กม็ ีธรรมเป็นหลักในการ
- _________มี
ปกครอง เช่น ทศพิธราชธรรม
- แคว้นใหญ่ๆ ส่วนมากปกครองด้วยระบบนี้ เช่น แคว้นมคธ มีพระเจ้าพิมพิสารปกครอง แคว้นโกศล
มีพระเจ้าปเสนทิโกศลปกครอง แคว้นอวันตี มีพระเจ้าจันปัชโชตปกครอง แคว้นวังสะ มีพระเจ้าอุเทนปกครอง
2) สามัคคีธรรม
- เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย กล่าวคือ ไม่มีพระมหากษัตริย์ผู้มีอำนาจสิทธิ์ขาด ไม่มีการสืบ
สันตติวงศ์
- การบริหารประเทศขึ้นอยู่กับ ________Sens (สัณฐาคาร) ประกอบด้วย ประมุขรัฐสภาและ
คณะกรรมการรัฐสภา
- ประมุขรัฐสภา อาจเป็นคนเดียว เช่น พระเจ้าสุทโธทนะแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ
หรือเป็นกลุ่มก็ได้ เช่น กษัตริย์ลิจฉวีแห่งเมืองเวสาลี แคว้นวัชชี
- กรรมการรัฐสภา มาจากหัวหน้าครอบครัวใหญ่ๆ ระดับเมือง ระดับอำเภอ
ousunwe มีสาระสำคัญ คือ
- หลักธรรมที่การปกครองยึดถือปฏิบัติคือ ____________
1) หมั่นประชุมกันอย่างเนืองนิตย์
2) พร้อมเพียงกันประชุม พร้อมเพียงกันเลิกประชุม
3) ไม่บัญญัติสิ่งใหม่อันขัดต่อหลักการเดิม ไม่ล้มล้างบัญญัติเก่าที่ยังใช้ได้อยู่
4) เคารพนับถือและเชื่อฟังผู้ใหญ่
5) ปกครองสตรี มิให้ถูกข่มเหงรังแก
6) เคารพในปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ
7) คุ้มครองป้องกันภัยแก่ สมณ ชี พราหมณ์ ผู้เป็นที่พึ่งทางใจของประชาชน
Ø ด้านสังคม
- มีการแบ่งชนชั้นออกเป็น "วรรณะ" ซึ่งกำหนดไว้ตายตัว ใครเกิดในวรรณะใดจะต้องทำตาม_______
ทางศาสนากำหนด ถ้าฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ
- วรรณะ แบ่งออกเป็น 4 วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร
วรรณะ หน้าที่ สีประจำวรรณะ ที่เกิด (จากพระพรหม)
พราหมณ์ P Ivor vir dir
กษัตริย์ mar/109150/ nuo 11d6 "W
แพศย์
unoIwos / Enquir subs 2
ศูทร Murwnd di in

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 22
Ø ด้านความเชื่อและศาสนา คนส่วนมากนับถือศาสนา___________ wileosi
v ความเชื่อเรื่องการล้างบาป
- เชื่อเรื่องการล้างบาปแม่น้ำ______
&607 โดยเฉพาะที่เมืองพาราณสี (เมืองพระศิวะ) และเมืองคยา
(เมืองพระวิษณุ)
- เชื่อกันว่าแม่น้ำคงคา มีต้นน้ำไหลมาจากสวรรค์ ผ่านทางมวยผมของพระศิวะ
- คนอินเดียนิยมมาดื่มน้ำ อาบน้ำ และนำเถ้าถ่านอัฐิหรือศพมาลอยกันในแม่น้ำ เพราะเชื่อว่าตายแล้ว
จะได้ขึ้นสวรรค์

v ความเชื่อเรื่องโลกกับชีวิต
- มีความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตถึง 62 ลัทธิ
1) เรื่องการเกิดและการตาย
- บ้างก็เชื่อว่าตายแล้วเกิด บ้างก็เชื่อว่าตายแล้วสูญ
2) เรื่องชีวิตหลังการตาย
- บ้างก็ว่ายังมีความจำได้ บ้างก็ว่าจำไม่ได้ บ้างก็ว่าสรุปไม่ได้
3) เรื่องสถานะของสรรพสิ่ง
- บ้างก็ว่าเที่ยงแท้ บ้างก็ว่าเที่ยงแท้บางส่วน
4) เรื่องสถานภาพของโลก
- บ้างก็ว่าโลกมีจุดจบ บ้างก็ว่าไม่มีจุดจบ บ้างก็ว่ามีที่สุด บ้างก็ว่าสรุปไม่ได้
5) เรื่องความสุขทุกข์
- บ้างก็ว่าเกิดขึ้นเอง (ไม่มีเหตุ ไม่มปี ัจจัย) บ้างก็ว่ามีเหตุมีปัจจัย
6) เรื่องเป้าหมายสูงสุด
- บ้างก็ว่าคือกามารมณ์ บ้างก็ว่าการได้ชั้นฌานต่าง ๆ
7) บางกลุ่มคิดว่าไม่ควรตั้งทฤษฎีใดเลย
v กลุ่มความเชื่อแบบต่าง ๆ
1) ศาสนาพราหมณ์
1) วิวัฒนาการก่อนมาเป็นศาสนาพราหมณ์
- ลัทธิบูชาธรรมชาติ : โดยชาวอารยันบูชาธรรมชาติเบื้อง__ Who เช่น พระอาทิตย์ พระจันทร์

ส่วนชาวดราวิเดียนบูชาธรรมชาติเบื้อง___ s เช่น แผ่นดิน ภูเขา ต้นไม้ สัตว์ น้ำ และไฟ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 23
- ลัทธิบูชาดวงวิญญาณบรรพบุรุษ : มีการทำพิธ_ี du ni เพื่อไม่ให้บรรพบุรษตกนรกขุม “ปุตตะ”
_____
- การนับถือเทพเจ้า
2) สมัยศาสนาพราหมณ์
- ศาสนาพราหมณ์มีเทพเจ้ายิ่งใหญ่ 3 องค์ (พหุเทวนิยม) คือ
WuRE(ผู้สร้างและลิขิตชีวิตมนุษย์)
1) พระ____
our หรือพระนารายณ์ (ผู้พิทักษ์รักษาโลก
2) พระ____
โดยจะเสด็จอวตารลงมาช่วยโลก)
& หรือพระอิศวร (ผู้ทำลายโลก)
3) พระ____
- คัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ คือ พระเวท ประกอบด้วย
&
1) ____เวท - บทสวดอ้อนวอนสรรเสริญพระเจ้า
sur - หลักการบวงสรวง + ทำพิธีกรรม
2) ____เวท
3) ____เวท
I - บทเห่ขับกล่อมพระเจ้าในการทำพิธีบูชายัญ
Oldorti – คาถาอาคมทางไสยศาสตร์
4) ____เวท
คัมภีร์ไตรเพท ไม่รวม อาถรรพเวท
2) กลุ่มที่ไม่ใช่ศาสนาพราหมณ์
- พวกที่เบื่อหน่ายต่อการเอารัดเอาเปรียบในสังคม จึงปลีกตัวหาโมกษะ เช่น อาชีวก ปริพาชก ชฎิล
สมณะ
- ศาสนาพุทธ อยู่ในกลุ่มนี้
Ø แนวทางปฏิบัติให้พ้นทุกข์
1) หมกมุ่นเสพสุขทางกามารมณ์ เพราะเชื่อว่าตายแล้วทุกอย่างจบ จึงเป็นแนวความคิดของพวกวัตถุนิยม
2) บำเพ็ญตบะ คือการ______ตั
notid วเองด้วยตบวิธี เช่น ย่างตนด้วยไฟ ขุดหลุม อดอาหาร

Emi สงบด้วยโยควิธีของพวกโยคี
3) การฝึกโยคะ คือการฝึก_____ให้

2. พุทธประวัติ
Ø ชาติตระกูล
เจ้าชายสิทธัตถะทรงถือกำเนิดในวรรณะกษัตริย์ ประสูติเมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ก่อนพ.ศ. 80 ปี
v พระบิดา คือ____________ กษัตริย์แห่งศากยวงศ์ แคว้นสักกะ มีเมืองกบิลพัสดุ์เป็นเมืองหลวง
อยู่ทางตอนเหนือของดินแดนชมพูทวีป ในปัจจุบันเป็นประเทศเนปาล
v พระมารดา คือ____________ แห่งโกลิยะวงศ์ เป็นพระธิดาของกษัตริย์
แห่งแคว้นโกลิยะ มีเมืองเทวทหะเป็นเมืองหลวง ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเนปาล

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 24
Ø การมองโลก มองชีวิต และการเสด็จออกผนวชของเจ้าชายสิทธัตถะ
v การได้รับความสุขในทางโลก เจ้าชายสิทธัตถะทรงได้รับการศึกษาในด้านศิลปะศาสตร์แขนงต่าง ๆ
เช่นเดียวกับพระราชกุมารอื่น ๆ ในสมัยนั้น ในฐานะที่ทรงเป็นรัชทายาทที่จะต้องสืบราชสมบัติต่อจาก
พระราชบิดา ต่อมาได้อภิเษกสมรสกับ___________
v การเสด็จออกผนวช เมื่อทรงมีพระชนม์มายุได้ 29 พรรษา ได้เสด็จออกผนวชถือเพศเป็นบรรพชิต
(นักบวช) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหาหนทางดับทุกข์ให้มวลมนุษย์ มูลเหตุจูงใจให้เจ้าชายสิทธัตถะ
เสด็จออกผนวช ดังนี้
1) ทรงได้เห็นความจริงแห่งชีวิตของมนุษย์ ขณะเสด็จประพาส ณ พระราชอุทยานแห่งหนึ่งได้ทรง
เห็น__________ ได้แก่ คนแก่ คนเจ็บ คนตายและสมณะ ทำให้ทรงรู้สึกหดหู่ทางจิตใจ เพราะ
ความแก่ ความเจ็บป่วย และความตาย เป็นความทุกข์อย่างยิ่งของมนุษย์จึงทรงต้องการช่วยเหลือเพื่อน
มนุษย์ให้พ้นจากความทุกข์ โดยเสด็จออกผนวชเพื่อแสวงหาหนทางดับทุกข์ดังกล่าว
2) ทรงเห็นสภาพปัญหาสังคมสมัยนั้น เป็นสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น ผู้คนส่วนใหญ่ตกอยู่ภายใต้
อิทธิพลของกลุ่มคนที่เชื่อในคัมภีร์พระเวท (ศาสนาพราหมณ์) และการดลบันดาลของเทพเจ้า (พรหมลิขิต)
ทำให้เกิดระบบวรรณะและความไม่เป็นธรรมในสังคม
กลุ่มคนที่ถูกกำหนดให้อยู่ในวรรณะต่ำ คือวรรณะศูทรและพวกจัณฑาล ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาว
พื้นเมืองดราวิเดียน ได้รับการกดขี่เอารัดเอาเปรียบจากพวกพราหมณ์และชนชั้นปกครองซึ่งเป็นชนชาติ
อารยัน เจ้าชายสิทธัตถะจึงทรงต้องการแก้ปัญหาสังคมดังกล่าว โดยสอนให้ประชาชนเลิกเชื่อเรื่องพรหมลิขิต
และระบบวรรณะ
v สถานที่ที่ทรงออกผนวช ในคืนที่เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช พระนางยโสธรา พระมเหสี ทรงให้
กำเนิดพระโอรสมีพระนามว่า______ เจ้าชายสิทธัตถะทรงตัดสินพระทัยสละราชสมบัติและชีวิต
ในทางโลก โดยมุ่งหน้าไปยังริมฝั่งแม่น้ำอโนมา ทรงตัดพระเกศาด้วยพระขรรค์และอธิษฐานบวชเป็น
บรรพชิต หลังจากนั้นได้เสด็จมุ่งสู่แคว้นมคธ เพื่อหาสถานที่เงียบสงบศึกษาธรรมต่อไป
Ø การตรัสรู้
เมื่อทรงผนวชแล้ว พระสิทธัตถะโคตรมะ ทรงเดินทางไปยังแคว้นมคธ เพื่อศึกษาและแสวงหาหนทางดับ
ทุกข์ให้มวลมนุษย์ ทรงใช้เวลาถึง 6 ปี จึงตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
ก่อนพุทธศักราช 45 ปี เมื่อมีพระชนม์ได้ 35 พรรษา
v ขั้นตอนการแสวงหาสัจธรรม ทรงกระทำโดยลำดับ ดังนี้
ขั้นที่ 1 การฝึกปฏิบัติโยคะ ทรงได้ศึกษาวิธีฝึกปฏิบัติโยคะกับเจ้าสำนัก 2 ท่าน คือ__________
และ__________ จนสำเร็จฌานสมาบัติขั้นสูงสุด แต่ทรงเห็นว่าไม่ใช่หนทางหลุดพ้นจากความ
ทุกข์จึงทรงเปลี่ยนวิธีการใหม่
ขั้นที่ 2 การบำเพ็ญตบะ ทรงใช้วิธีทรมานร่างกายให้ลำบาก เช่น เปลือยกาย ตากแดดตากฝน ฉันมูลโค
และนอนบนหนามแหลมคม ฯลฯ แต่ก็ยังไม่บรรลุมรรคผล

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 25
ขั้นที่ 3 การบำเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง การกระทำในสิ่งที่ยากยิ่ง ได้แก่ กัดฟัน กลั้นลมหายใจ
และอดอาหาร แต่ก็ยังไม่ตรัสรู้จึงทรงเลิกปฏิบัติวิธีนี้ และกลับมาเสวยอาหารเหมือนเดิม
ขั้นที่ 4 การบำเพ็ญเพียรทางจิต คือ การใช้สติปัญญาใคร่ครวญด้วยเหตุผลเพื่อค้นหาหนทางดับทุกข์
ทรงเกิดความคิดว่าปัญหาชีวิตของมนุษย์ควรแก้ไขด้วยการปฏิบัติทางจิต มิใช่การปฏิบัติทางกาย และ
ต้องปฏิบัติแต่พอดีไม่ตึงหรือไม่หย่อนจนเกินไป เรียกว่า ________ (มัชฌิมาปฏิปทา) จนในที่สุด
ทรงบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
v พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
ในเช้ า วั น ขึ ้ น 15 ค่ ำ เดื อ น 6 ก่ อ นพุ ท ธศั ก ราช 45 ปี พระสิ ท ธั ต ถะโคตรมะ ทรงรั บ
ข้ า วมธุ ป ายาส จาก__________ เมื ่ อ เสวยแล้ ว ทรงนำถาดไปลอยที่
แม่ น ้ ำ เนรั ญ ชรา หลั ง จากนั ้ น ทรงรั บ หญ้ า คาจาก_____________
เพื่อนำมาปูประทับที่นั่งขัดสมาธิที่ใต้ต้นมหาโพธิ
ทรงบำเพ็ญเพียรทางจิตหรือเจริญสมาธิอย่างแน่วแน่ พิจารณาความ
เป็นไปของชีวิตและธรรมชาติของสรรพสิ่งทั้งหลาย จนสำเร็จฌาน (การหยั่งรู้ใน
สิ่งทั้งหลายตามที่เป็นจริง) หรือการรู้แจ้งโดยเริ่มตั้งแต่ทรงระลึกถึงอดีตชาติของ
พระองค์ได้ ทรงหยั่งรู้ว่าสัตว์โลกย่อมมีการเกิดและตายตามผลกรรมของตน
และการรู้แจ้งในการกำจัดกิเลสให้หมดสิ้นไป
สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ต่อมาได้ทรงเรียบเรียงเป็นขั้นตอน เรียกว่า _________ ได้แก่
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค แสดงถึงกระบวนการเกิดของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ของมนุษย์ เมื่อตรัสรู้
แล้วทรงเรียกพระองค์เองว่า ____________ แปลว่า ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง
สถานที ่ ต รั ส รู ้ ข องพระพุ ท ธเจ้ า มี ก ารสร้ า งอนุ ส รณ์ ส ถาน เรี ย กว่ า มหาเจดี ย ์ พ ุ ท ธคยา
ปัจจุบันอยู่ที่ตำบลพุทธคยา ใกล้แม่น้ำเนรัญชรา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย
Ø การประกาศศาสนา
v การเสวยวิมุตติสุข ภายหลังการตรัสรู้ พระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับพักผ่อนยังสถานที่ต่าง ๆ เรียกว่า
เสวยวิมุตติสุข (สุขที่เกิดจาก_______________) บริเวณใกล้เคียงกับสถานที่ตรัสรู้นั้น 7 แห่ง
เรียกสถานที่เหล่านั้นว่า สัตตมหาสถาน เพื่อพิจารณาใคร่ครวญถึงสัจธรรมที่ทรงค้นพบ
v การพิจารณาบุคคลที่สมควรได้ฟังธรรม ภายหลังตรัสรู้และเสวยวิมุตติสุขเป็นเวลา 7 สัปดาห์แล้ว
พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาว่าสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้ยากเกินกว่าที่มนุษย์ปุถุชนธรรมดาจะเข้าใจได้โดยง่าย
เพราะสัตว์โลกย่อมมีสติปัญญาแตกต่างกัน ดังที่ทรงเปรียบบุคคลเหมือนดอกบัว 4 เหล่า ดังนั้น จึงทรง
มุ่งไปที่บุคคลที่เรียกว่า เวไนยสัตว์ (คนที่สามารถแนะนำสั่งสอนได้) คือ _____________ หรือ
พราหมณ์ทั้ง 5 ที่เคยปรนนิบัติรับใช้พระพุทธองค์ก่อนหน้านี้

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 26
v การแสดงปฐมเทศนา พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมครั้งแรก (ปฐมเทศนา) โปรดปัญจวัคคีย์ ที่
ป่ า อิ ส ิ ป ตนมฤคทายวั น แขวงเมื อ งพาราณสี แคว้ น กาสี ในวั น เพ็ ญ ขึ ้ น 15 ค่ ำ เดื อ น 8
เรียกหลักธรรมนั้นว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
v สาระสำคัญของธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีดังนี้
1) วิธีปฏิบัติให้พ้นทุกข์ดังที่นิยมในสมัยนั้น ใช้แนวทางสุดโต่ง มีทั้งตึงเกินไปและหย่อนเกินไป
เช่น หมกมุ่นในกาม หรือทรมานร่างกาย ซึ่งไม่สามารถดับทุกข์ได้
2) หนทางดับทุกข์ของพระพุทธองค์ต้องเดินทางสายกลาง คือ _______________
3) ทรงอธิบายถึงหลักธรรมอริยสัจ 4 ที่ได้ตรัสรู้ ทรงนำไปปฏิบัติเพื่อดับทุกข์และได้ผลจริง
v พระสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา ภายหลังสิ้นสุดการแสดงธรรม โกณฑัญญะ หัวหน้าปัญจวัคคีย์ทั้ง5
ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นผู้เข้าใจหลักคำสอนของพระพุทธองค์อย่างแจ่มแจ้งเป็นคนแรก จึงขอบวชเป็น
พระสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา
ส่วนพราหมณ์ปัญจวัคคีย์ที่เหลืออีก 4 คนได้กราบทูลขอบวชในเวลา
ต่อมา หลังจากนั้นพระพุทธเจ้าได้แสดงธรรมอนัตตลักขณสูตร (พระสูตรว่า
ด้วยอนัตตา) เพิ่มเติมจนพระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 สำเร็จเป็นพระอรหันต์ทั้งหมด
Ø การประดิษฐานของพระพุทธศาสนา
v พระพุทธศาสนามีรากฐานมั่นคงในแคว้นมคธ การประกาศและเผยแพร่พระศาสนาในระยะแรกของพระ
พุทธองค์อยู่ในดินแดนแคว้นมคธเป็นส่วนใหญ่ มีผู้ศรัทธาขอบวชเป็นพระสงฆ์สาวกและอุบาสกผู้อุปถัมภ์
พระศาสนา ที่สำคัญมีดังนี้
1) ยสกุลบุตร บุตรเศรษฐีชาวเมืองพาราณสี พร้อมทั้งเพื่อนและบริวารอีก 54 คน ขอบวชเป็น
พระสงฆ์สาวก
2) ชฎิล (นักบวชเกล้ามวยผม) 3 พี่น้อง ตั้งสำนักเผยแพร่คำสอนของตนที่เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ
พร้อมทั้งบริวาร 1,000 รูป ขอบวชเป็นพระสงฆ์สาวก
3) พระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์แห่งเมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ทรงสร้าง
วัดเวฬุวัน (สวนไผ่) ถวายเป็นที่จำพรรษา เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา
4) ศิษย์ของสำนักสัญชัยเวลัฏฐบุตรแห่งเมืองราชคฤห์ 2 คน ขอบวชเป็นพระสงฆ์สาวก ต่อมาเป็นที่
รู้จักในนาม พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่พระศาสนาในเวลาต่อมา
v การเผยแพร่พระพุทธศาสนาที่เมืองสาวัตถี แคว้นโกศล มีผู้ศรัทธาอุปถัมภ์พระพุทธศาสนามากมาย จน
กรุงสาวัตถีกลายเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแห่งใหม่
1) อนาถบิณฑิกเศรษฐี สร้างวัดพระเชตวัน ให้เป็นที่จำพรรษาของพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกใน
สมัยนั้น ซึ่งตลอดพระชนม์ชีพของพระพุทธองค์ได้ทรงประทับที่วัดแห่งนี้นานกว่าที่อื่น
2) นางวิสาขามหาอุบาสิกา เศรษฐีนี สร้างวัดบุพพารามถวาย

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 27
3) พระเจ้าปเสนทิโกศล กษัตริย์แห่งแคว้นโกศล ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและเข้าเฝ้าทูลถาม
ปัญหาและสนทนาธรรมกับพระพุทธองค์เป็นนิตย
Ø การเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน
v พระพุทธเจ้าทรงประกาศและเผยแพร่พระศาสนาเป็นเวลา 45 ปี จนกระทั่งทรงมีพระชนม์ได้ 80 พรรษา
จึงเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ณ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ก่อน
พุทธศักราช 1 ปี
v พระสงฆ์สาวกองค์สุดท้ายที่ทรงบวชให้ ก่อนปรินิพพาน พระพุทธเจ้าได้เทศนาสั่งสอนแก่นักบวชนอก
ศาสนาคนหนึ ่ ง ชื ่ อ _____________ จนเกิ ด ความเลื่ อ มใสและขอบวชเป็ น พระภิ ก ษุ ใ น
พระพุทธศาสนา ถือว่าเป็นพระสงฆ์องค์สุดท้ายที่ทรงบวชให้
v ปั จ ฉิ ม โอวาท พระพุ ท ธพจน์ ท ี ่ ต รั ส สอนแก่ พ ระสงฆ์ ส าวกเป็ น ครั ้ ง สุ ด ท้ า ย ก่ อ นปริ น ิ พ พาน คื อ
______________________
Ø วิธีการสอนของพระพุทธเจ้า
v หลักการสอนของพระพุทธเจ้า
- อธิบายชี้แจงเหตุผลละเอียดจนคนฟังรู้แจ้ง (สันทัสสนา)
- ทำให้คนฟังเกิดศรัทธาเชื่อมั่นในตัวผู้สอน (สมาทปนา)
- กระตุ้นให้คนฟังพยายามกระตือรือร้น (สมัตเตชนา)
- ทำให้คนฟังสดชื่น ร่าเริง (สัมปหังสนา)
v วิธีการสอนของพระพุทธเจ้า
- บรรยาย เช่น ตอนปฐมเทศนา
- สนทนา
- แบบตอบปัญหา (ตอบแบบตรงไปตรงมา / ย้อนถามก่อนแล้วค่อยตอบ เช่น ตายแล้วไปเกิดที่ไหน
แล้วทำกรรมอะไรมา / แยกประเด็นตอบ เช่น เข้มงวดเกินไปไม่ดี เข้มงวดแบบธุดงควัตรดี)
- การ______________ เรียกว่า อัพยากตปัญหา เช่น โลกเที่ยงหรือไม่เที่ยง โลกมีที่สุด
หรือไม่ พระอรหันต์ตายไปแล้วยังคงอยู่หรือไม่
v เทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้า
1) ทรงสอนได้เหมาะสมกับระดับความรู้ของคนเรียน กล่าวคือ คนเรามีหลายประเภทจึงเปรียบเหมือน
ดอกบัว
- พวกปัญญา______ ฟังหัวข้อก็ทะลุปรุโปร่ง (อุคคติตัญญูบุคคล) เป็นบัวพ้นน้ำ
- พวกปัญญา______ แต่ต้องอธิบายหัวข้อก่อนจึงจะเข้าใจ (วิปจิตัญญูบุคคล) เป็นบัวปริ่มน้ำ
- พวกปัญญา______ ต้องอธิบายซ้ำหลาย ๆ ทีจึงจะเข้าใจ (เนยยบุคคล) เป็นบัวใต้น้ำ
- พวกปัญญา______ อาจสอนไม่ได้เลย (ปทปรมบุคคล) เป็นบัวในโคลนตม

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 28
2) ทรงสอนให้เหมาะสมกับทัศนคติผู้เรียน เช่น ตอนสอนพวกชฎิลที่บูชาไฟ พระพุทธเจ้าเทศน์ว่าไฟคือ
กิเลส ต้องดับไฟคือดับกิเลสเสีย
3) ทรงสอนโดยความเคารพ (ให้ความสำคัญกับผู้เรียน)
4) ทรงสอนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย เช่น อุปมา ยกนิทานประกอบ สอนจากเรื่องใกล้ตัวก่อน ใช้สื่อ
5) ทำตนให้เป็นตัวอย่าง เช่น การสาธิตให้ดู การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง
6) การใช้คำพูดให้คมคาย เช่น อาบน้ำให้ศักดิ์สิทธิ์ คือ การอาบกาย วาจา ใจ ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา
7) รู้จังหวะและโอกาส คือ รอให้พร้อมก่อนแล้วค่อยสอน
8) สอนแบบยืดหยุ่น คือ มีทั่งนุ่มนวลและเข้มงวด
9) เสริมแรง (ให้กำลังใจ) เช่น ตรัสชมเชยพรสงฆ์ หรือ การแต่งตั้งตำแหน่ง________ (ความเป็น
เลิศกว่าผู้อื่น)
v คุณสมบัติครูที่ดีของพระพุทธเจ้า
1) วางตัวน่ารัก น่านับถือ เมตตากรุณาเอื้ออารี (ปิโย)
2) จิตใจหนักแน่น เป็นที่พึ่งได้ ไว้วางใจได้ (ครุ)
3) ทรงความรู้และภูมิปัญญาอย่างแท้จริง (ภาวะนีโย)
4) มีศิลปะการสอน (วัตตา)
5) รับฟังคำซักถามและความเห็นของนักเรียน (วะจะ นักขะโม)
6) รู้จักสอนให้คนฟังรู้สึกว่าง่าย (คัมภีรัง กะถัง กัตตา)
7) ไม่แนะนำไปในทางเสื่อมเสีย (โน อัฏฐาเน นอโยชะเย)
Ø การเผยแผ่ศาสนาพุทธตามแนวพุทธจริยา
พุทธจริยา หมายถึง พระจริยาวัตรที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ได้แก่
v โลกัตถจริยา : พุทธจริยาเพื่อประโยชน์แก่_________
- สังเกตได้จาก “พุทธกิจ 5 ประการ” คือ
1) เวลา_____ เสด็จออกบิณฑบาต ถือโอกาสแสดงธรรมโปรดเวไนยสัตว์ (ปุเรภัตตกิจ)
2) เวลา_____ ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชน (ปัจฉาภัตตกิจ)
3) เวลา_____ ทรงประทานโอวาทแด่ภิกษุสงฆ์ (ปุริมยามกิจ)
4) เวลา_____ ทรงตอบปัญหาเทวดา (มัชฌิมยามกิจ)
5) เวลา_____ ทรงตรวจดูบุคคลที่พึงไปโปรดด้วยพระญาณ (ปัจฉิมยามกิจ)
- แม้ประชวรหนัก ยังโปรดสุภัททปริพาชกก่อนเสด็จปรินิพพาน
- พระพุทธเจ้าจะไม่ออกบิณฑบาตในที่แห่งเดียวซ้ำ ๆ
v ญาตัตถจริยา : พุทธจริยาเพื่อประโยชน์แก่___________
- เสด็จนิวัตเมืองกบิลพัสดุ์เพื่อโปรดพระพุทธบิดาและพระประยูรญาติทั้งหลายหลังตรัสรู้แล้ว
- ทรงโปรดพระพุทธบิดา : บรรลุพระอรหันต์

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 29
- ทรงโปรดพระนางพิมพา : บวชและได้ชื่อใหม่ว่า “พระภัททากัจจานา” ต่อมาบรรลุพระอรหันต์ ได้รับ
ยกย่องว่าเป็นผู้บรรลุมหาอภิญญา คือ ระลึกชาติย้อนหลังได้หนึ่งอสงไขยกับอีกหนึ่งแสนกัป
- ทรงโปรดพระราหุล : ให้พระสารีบุตรจัดการบวชให้ ต่อมาบรรลุพระอรหันต์
- เสด็จโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
- ทรงชักนำให้ขัตติยกุมารจากศากยวงศ์ (ญาติฝ่ายพ่อ) และโกลิยวงศ์ (ญาติฝ่ายแม่) ออกบวช
- ทรงระงับสงครามแย่งน้ำในแม่น้ำโรหิณีระหว่างศากยวงศ์และโกลิยวงศ์ (เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ชาว
พุทธสร้างพระพุทธรูปปางห้ามญาติ)
v พุทธัตถจริยา : พุทธจริยาที่ทรงบำเพ็ญในฐานะที่ทรงเป็น__________
- ช่วยสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์
- ปูพื้นฐานกุศลกรรม
- ช่วยปิดทางอบาย เช่น กรณีโปรดองคุลีมาลไม่ให้ฆ่ามารดาตัวเอง
- ทรงบัญญัติพระวินัยให้ศาสนาพุทธมีความมั่นคง
- ทรงสถาปนาสถาบันสืบทอดพระพุทธศาสนา คือ พุทธบริษัท 4 ประกอบด้วย
1)________ 2)_______ 3)________ 4)_________
3. ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
Ø พระพุทธศาสนากับทฤษฎีที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติยึดทางสายกลาง
v ทฤษฎีเป็นสากล
- โดยเฉพาะหลัก_________ ที่เน้นว่า
1) โลกและชีวิตมีปัญหา
2) ปัญหามีสาเหตุ มิได้เกิดขึ้นลอย ๆ หรือบังเอิญ
3) มนุษย์สามารถแก้ปัญหาด้วยตนเอง เพราะมนุษย์มีศักยภาพในตัวเอง ฝึกได้
จึงเรียกว่า________
4) การแก้ปัญหาต้องใช้ปัญญาและความเพียร
v ข้อปฏิบัติยึดทางสายกลาง
- ทางสายกลางที่สำคัญ คือ มัชฌิมาปฏิปทา
Ø พระพุทธศาสนากับการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
v ศรัทธา
- ในศาสนาพุทธ ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อที่________________ คือ
1) เชื่อมั่นในความดีงามของมนุษย์ คือ ความดีมีหลักแหล่งและเราทำได้ ดูจากพระพุทธเจ้า
2) เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม คือ เชื่อว่ากรรมมีจริง (กัมมสัทธา) เชื่อเรื่องผลของกรรม (วิปาก
สัทธา) และเชื่อว่าสัตว์ทั้งปวงมีกรรมของตนเอง (กัมมัสสกตาสัทธา)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 30
v ปัญญา
- ปัญญามี 2 ประเภท คือ 1) ปัญญาทางโลก (โลกียปัญญา เช่น ความรู้ทั่วไป) 2) ปัญญาทาง
ธรรม (โลกุตตรปัญญา เช่น ความรู้ในหลักธรรม)
- ที่มาของปัญญา ได้แก่ 1) สหชาติปัญญา (ได้มาแต่เกิด) 2) โยคปัญญา (ได้มาจากการฝีกฝน
เรียนรู้)
- เหตุเกิดของปัญญา ได้แก่ 1) สุตมยปัญญา (การฟัง การอ่าน) 2) จินตามยปัญญา (หรือโยนิโส
มนสิการ คือ การคิดพิจารณา) 3) ภาวนามยปัญญา (การปฏิบัติ)
*พุทธเน้นปัญญาที่เกิดจากการ______
- เราควรพัฒนาปัญญา เพื่อให้รู้ว่า 1) อะไรทำแล้วเสื่อม (อปายโกศล) 2) อะไรทำแล้วดี (อาย
โกศล) 3) รู้สึกว่าควรทำอย่างไร (อุปายโกศล) กล่าวคือ เพื่อไม่ให้ประมาทเกินไป
Ø พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
v วิทยาศาสตร์
- หลักการทางวิทยาศาสตร์ : เรื่องของเหตุผลและข้อเท็จจริง ต้องมีการ______
- ขั้นตอนของวิทยาศาสตร์ : 1) กำหนดปัญหา 2) ตั้งสมมติฐาน 3) ทดลองและเก็บข้อมูล 4)
วิเคราะห์ผลการทดลอง 5) สรุปผล
- การคิดแบบวิทยาศาสตร์
1) ปรากฏการณ์ธรรมชาติมีกฎเกณฑ์ มีระเบียบอยู่ในตัวมันเอง
2) ข้อเท็จจริงในธรรมชาติ อาจพบได้จากการสังเกต ทดลอง และพิสูจน์ตามวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
3) สิ่งที่เป็นวิทยาศาสตร์ต้องวัดได้ ทดลองได้เท่านั้น
4) ผลของการทดลองต้องเป็นที่ยอมรับโดยสากล
5) ทฤษฎีเท่านั้นทีจ่ ะสามารถใช้เป็นเครื่องมืออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้ แต่ถ้ามีหลักฐาน
ใหม่ก็สามารถล้มล้างทฤษฎีเดิมได้
v ความสอดคล้องระหว่างศาสนาพุทธกับวิทยาศาสตร์
- ด้านความเชื่อ
1) วิทยาศาสตร์เชื่อในหลักเหตุผลและการทดลอง และศาสนาพุทธก็สอนให้คิดหรือใช้เหตุผล
ก่อนเชื่อ เห็นได้จาก “หลัก_________________” ได้แก่ อย่าเชื่อเพียงเพราะการฟัง
ตามมา, การถือสืบๆกันมา, การเล่าลือ, การอ้างตำรา, นึกเดาเอา, การคาดคะเน, การตรึกตาม
อาการ, ตรงกับความเห็นของตน, รูปลักษณ์น่าเชื่อ, ท่านเป็นครูของเรา
2) ถึงศาสนาพุทธจะสอนเรื่องศรัทธา แต่เป็นเพียงเครื่องชักจูงให้คนเข้าไปพิสูจน์ความจริง โดย
ตัวสำคัญที่ใช้ตัดสินความจริง คือ _______ (หลักธรรมที่มีศรัทธาจะมีปัญญากำกับด้วยเสมอ
เช่น พละ 5, อริยทรัพย์)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 31
3) ทั้งวิทยาศาสตร์และศาสนาพุทธ เชื่อตรงกันว่า “มนุษย์เกิดจาก_______” (มนุษย์เป็น
ผลผลิตของธรรมชาติ) ไม่ใช่ พระเป็นเจ้า
- ด้านความรู้
1) วิทยาศาสตร์เชื่อความรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านประสาทสัมผัส
2) ศาสนาพุทธเชื่อความรู้จากประสบการณ์ แต่เพิ่มประสบการณ์_____เข้าไปด้วย
- ด้านเสรีภาพทางความคิด ทั้งวิทยาศาสตร์และศาสนาพุทธให้เสรีภาพในการคิด
- ด้านสัจธรรมที่ค้นพบ
1) ศาสนาพุทธพบว่าสรรพสิ่งล้วน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (หลัก_________)
2) วิทยาศาสตร์พบว่า เมื่อนำวัตถุหรือสสารมาแบ่งเป็นส่วนเล็ก ๆ จนถึงระดับปรมาณูจะ
พบว่าเป็นของว่างเปล่า ไม่มีตัวตนแน่นอน ซึ่งในที่สุดก็จะเป็นสิ่งทีไ่ ม่มีแก่นสารอะไรเหลืออยู่เลย
v ความแตกต่างระหว่างศาสนาพุทธกับวิทยาศาสตร์
พระพุทธศาสนา วิทยาศาสตร์
1) ให้ความสำคัญกับความรู้ทาง_____ 1) ให้ความสำคัญกับความรู้ทาง______
และ คุณค่า และ มูลค่า
2) มุ่งศึกษาสภาวะภาย___ คือ ศึกษาตัวเราเอง 2) ศึกษาสิ่งภาย____ จากในประเทศ โลก
และนอกโลก
3) มีหลักการบางอย่างที่อยู่เหนือประสาทสัมผัส เช่น 3) ยอมรับความจริงในสิ่งทั้งหลายที่เห็นเป็นประจักษ์
สมาธิ จิต ญาณ ทิพยจักษุ ทิพยโสต ทางประสาทสัมผัส
4) มีจุดหมายที่แน่นอน คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง คือ 4) ปรับเปลี่ยนได้เสมอ หากมีผู้อื่นมาพิสูจน์ภายหลัง
สัจธรรม พระนิพพาน ซึ่งเปลี่ยนแปลงไม่ได้อีกแล้ว ว่าไม่จริง เช่น ช่วงแรกๆอะตอมไม่สามารถแบ่งแยก
แกได้ จนต่อมาพบว่าประกอบด้วยอิเล็กตรอน
โปรตรอน นิวตรอน ที่เคลื่อนรอบนิวเคลียส
5) สอนให้มองโลกในแง่ของความจริง 5) สอนให้มองชีวิตในแง่อภิรมย์ อย่างสร้างสรรค์
6) สอนให้บรรเทาความทะยานอยาก 6) มีความทะยานอยากเพิ่มขึ้นโดยไม่มีจุดอิ่มตัว
7) สอนให้คนควบคุม_________ 7) สอนให้คนหาทางควบคุม________
8) สอนเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว และความสุข 8) สอนแต่เรื่องเหตุผลและความจริง
ทางใจ
v วิธีคิดของศาสนาพุทธ (โยนิโสมนสิการ)
1) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย คือ สืบจากผลไปหาสาเหตุ
*2) วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ คือ แยกย่อยออกเป็นส่วน ๆ ให้เข้าใจ
*3) วิธีคิดแบบสามัญลักษณะ หรือ การคิดแบบรู้เท่าทัน__________ คือ คิดและรู้ความ
เป็นไปตามธรรมดาของสรรพสิ่งตามจริง
4) วิธีคิดแบบอริยสัจ คือ คิดตามเหตุผล หาสาเหตุแล้วแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 32
5) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรือ การคิดเชื่อมโยงหลักการและความมุ่งหมายให้สัมพันธ์กัน คือ
คิดถึงหลักการของเรื่องหรือสิ่งนั้นคืออะไร ความมุ่งหมายคืออะไร การกระทำนั้นๆตรงตามหลักการ
และความมุ่งหมายหรือไม่
6) วิธีคิดแบบคุณค่าแท้- คุณค่าเทียม คือ คิดวิเคราะห์ถึงประโยชน์ที่แท้จริงหรือประโยชน์เทียมของ
สิ่งๆนั้นคืออะไร เพื่อจะได้รู้จักเสพ รูจ้ ักใช้เพื่อคุณที่แท้จริง
7) วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออก คือ คิดทั้งในแง่บวก แง่ลบ และคิดเสนอแนวทางแก้ไข
8) วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเร้าคุณธรรม คือ คิดเพื่อให้เกิดกำลังใจสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามเพื่อตนเองและ
สังคม
*9) วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน คือ คิดแบบมีสติ รู้เท่าทันปัจจุบัน ไม่ฟุ้งซ่าน (มี______)
*10) วิธีคิดแบบวิภัชชวาท คือ การคิดแบบ______ประเด็นและแง่มุมต่าง ๆ หรือพยายามมอง
หลายมุม เพื่อให้ได้คำตอบหรือความเข้าใจที่ถูกต้องสมบูรณ์
Ø พระพุทธศาสนากับการฝึกอบรมตนเอง การพึ่งพาตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ
- ศาสนาพุทธเน้นว่าคนเป็นเวไนยสัตว์ คือ สามารถ______ได้
v ระดับของคนในศาสนาพุทธ
1) อันธพาลปุถุชน
- ผู้ที่ทำ พูด คิด ตามสัญชาตญาณอย่างสัตว์ ไม่รู้จักควบคุมตนเอง
- การกระทำต่าง ๆ ไปตามอำนาจของโลภ โกรธ หลง
2) พาลปุถุชน
- ผู้ที่ยังมีโลภ โกรธ หลง แต่รู้จักควบคุมตนได้บ้างบางครั้ง
3) กัลยาณปุถุชน
- ผู้ที่ละอายชั่ว กลัวบาป มีศีล5 มีธรรม5 เกือบสมบูรณ์จนถึงขั้นสมบูรณ์
4) อริยบุคคล
- ผู้ที่ฝึกฝนตนให้ก้าวหน้าด้วยคุณธรรมขั้นสูงไปตามลำดับ มี 4 ขั้น ดังนี้
1) โสดาบัน - สามารถตัดกิเลสที่เบาบางลงได้ แต่ตัดราคะ โทสะ โมหะไม่ได้ โดยผู้สำเร็จชั้นนี้
ถ้าเป็นคฤหัสถ์ยังแต่งงานมีครอบครัวได้
2) สกทาคามี - คล้ายโสดาบัน แต่ราคะ โทสะ และโมหะ อ่อนกำลังลง
3) อนาคามี - ตัดราคะ (ความรู้สึกทางเพศ) และโมหะ(ความโกรธ)ได้ แต่ยังมีโมหะ (ความ
หลง)
4) อรหันต์ – ตัดกิเลสได้ทุกชนิด

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 33
v ขั้นตอนการฝึกอบรมตน (ไตรสิกขา)
- มีขั้นตอนการฝึกตน คือ ศีล à สมาธิ à ปัญญา
1) อธิศีลสิกขา (ศีล)
- งดความชั่วทางกาย คือ ไม่ทำร้ายผู้อื่น ไม่ลักขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม
- งดความชั่วทางวาจา คือ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่หยาบคาย ไม่พูดเพ้อเจ้อ
2) อธิจิตตสิกขา (สมาธิ)
- การฝึกฝนทาง___ เพื่อให้จิตมีคุณภาพ(ทำให้เป็นคนจิตใจดี) มีสมรรถภาพ(ทำให้เป็นคน
จิตใจเข้มแข็ง) มีสุขภาพจิตดี(ทำให้เป็นคนมีใจสงบสุข)
3) อธิปัญญาสิกขา (ปัญญา)
- ฝึกให้___และ______ทั้งทางโลก ชีวิตและจิตใจ
- วิธีฝึก เช่น คุยกับผู้รู้ ฟังคำสอน คิดทบทวนให้เข้าใจ นำมาปฏิบัติให้ถูกต้อง
Ø พระพุทธศาสนากับการศึกษา
- พระพุทธศาสนาสอนให้เป็นคนดีและคนเก่ง
- หลักการศึกษาของศาสนาพุทธ เรียกว่า “___________” คือ ศีล à สมาธิ à ปัญญา
Ø พระพุทธศาสนากับการฝึกตนไม่ให้ประมาท - การมีสติในการดำเนินชีวิต รู้สิ่งใดควรไม่ควร รู้จักหน้าที่
ตนเอง

4. พระไตรปิฎก
- สมัยพุทธกาล คำสอนของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระธรรมวินัย
- หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน เกิดการสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้น
- สังคายนา หมายถึง การประชุมสงฆ์เพื่อสอบทานชำระพระไตรปิฎก
Ø หมวดของพระไตรปิฎก
- พระไตรปิฎกมีทั้งสิ้น 84,000 พระธรรมขันธ์ โดยแยกได้ 3 หมวดหมู่ คือ
1) พระ_______ปิฎก : พระวินัยของภิกษุ ภิกษุณี
(1) มหาวิภังค์ : วินัยที่เป็นหลักใหญ่ ๆ ของภิกษุ
(2) ภิกขุนีวิภังค์ : วินัยที่เป็นหลักใหญ่ ๆ ของภิกษุณี
(3) มหาวรรค : กำเนิดภิกษุสงฆ์และระเบียบการเป็นอยู่และกิจการของภิกษุสงฆ์
(4) จุลวรรค : ระเบียบความเป็นอยู่และกิจการของภิกษุสงฆ์
(5) ปริวารวรรค : คู่มือถามตอบซักซ้อมเกี่ยวกับพระวินัย

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 34
2) พระ______ปิฎก (พระสูตร) : เรื่องราวต่าง ๆ ของพระธรรมเทศนาที่มีการกล่าวบุคคล
เหตุการณ์และสถานที่
(1) ทีฆนิกาย : ชุมนุมพระสูตรขนาดยาว
(2) มัชฌิมนิกาย : ชุมนุมพระสูตรขนาดกลาง
(3) สังยุตตนิกาย : ชุมนุมพระสูตรที่จัดกลุ่มตามหัวเรื่องที่เกี่ยวข้อง
(4) อังคุตตรนิกาย : ชุมนุมพระสูตรที่จัดเป็นหมวดตามจำนวนข้อธรรม
(5) ขุททกนิกาย : ชุมนุมพระสูตร ภาษิต คำอธิบาย และเรื่องราวเบ็ดเตล็ด

3) พระ______ปิฎก : ธรรมะล้วน ๆ
(1) ธัมมสังคณี : แจกแจงนับธรรมที่รวมเป็นหมวดเป็นประเภท
(2) วิภังค์ : อธิบายธรรมแต่ละเรื่อง โดยแยกแยะออกชี้แจงและวินิจฉัยอย่างละเอียด
(3) ธาตุกถา : จัดข้อธรรมต่าง ๆ เข้าในขันธ์ อายตนะ ธาตุ
(4) ปุคคลบัญญัติ : บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มี
(5) กถาวัตถุ : แถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่าง ๆ
(6) ยมก : ยกธรรมขึ้นวินิจฉัย โดยตอบคำถามที่ตั้งย้อนกันเป็นคู่ ๆ
(7) ปัฏฐาน : อธิบายปัจจัยคือลักษณะความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกัน 24 แบบ
Ø ลำดับชั้นคัมภีร์ในศาสนาพุทธ
ลำดับชั้นที่ 1 พระไตรปิฎก (บาลีพระไตรปิฎก/ บาลีพุทธวจนะ)
ลำดับชั้นที่ 2 อรรถกถา (วรรณนา)
ลำดับชั้นที่ 3 ฎีกา
สัททาวิเสส : ตำราไวยากรณ์บาลี
ลำดับชั้นที่ 4 อนุฎีกา

Ø การสังคายนาพระไตรปิฎก
ครั้ง ระยะ
เวลา สถานที่ ผู้อุปถัมภ์ ประธาน พระที่เข้าร่วม สาเหตุ จุดเด่น
ที่ เวลา
พระมหากัสสปะ –
พระพุทธเจ้า ซักถาม
ถ้ำ ____________
ปรินิพพาน พระเจ้า พระ 7 พระอุบาลี – ตอบ
1 สัตตบรรณ 500 รูป จาบจ้วงพระพุทธเจ้าและ
แล้ว 3 อชาตศัตรู มหากัสสปะ เดือน พระวินัย
คูหา พระวินัย
เดือน พระอานนท์ – ตอบ
พระธรรม
พระวัชชีบุตรละเมิดพระ
พระเจ้า พระยศ พระเรวตะ – ซักถาม
วาลิการาม 8 วินัย
2 พ.ศ.100 กาลาโศก กากัณฑก 700 รูป พระสัพพกามี –
แคว้นวัชชี เดือน เช่น ฉันอาหารตอนบ่าย
ราช บุตร ตอบพระวินัย
สอง

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 35
ครั้ง ระยะ
เวลา สถานที่ ผู้อุปถัมภ์ ประธาน พระที่เข้าร่วม สาเหตุ จุดเด่น
ที่ เวลา
- มีการส่งสมณทูตไป
ประกาศ
พระพุทธศาสนายังที่
ต่าง ๆ จำนวน 9
อโศการาม พระเจ้า พระโมคคัล พวกนอกศาสนาปลอม
9 คณะ
3 พ.ศ.234 กรุงปาฏลี อโศก ลีบุตรติสส 1,000 รูป ตัวเข้ามาบวชใน
เดือน - เป็นสมัยที่มีการ
บุตร มหาราช เถระ พระพุทธศาสนา
รวบรวมและแยก
หมวดหมู่จนกลายเป็น
พระไตรปิฎกอย่าง
สมบูรณ์
พระเจ้าเท
ถูปาราม พระมหินท ต้องการวางรากฐาน
4 พ.ศ.236 วานัมปิย 68,000 รูป - -
ศรีลังกา เถระ ศาสนาพุทธในศรีลังกา
ติสสะ
1. ต้องการบันทึก เกิดการบันทึก
พระ พระไตรปิฎกเป็นลาย พระไตรปิฎกเป็น
อาโลกเลณ
เจ้าวัฎฎา พระรักขิต ลักษณ์อักษร อักษรบนใบลานโดยใช้
5 พ.ศ.433 สถาน - -
คามณี มหาเถระ 2. เกิดความไม่สงบ ภาษาบาลี
ศรีลังกา
อภัย ระหว่างฝ่ายทมิฬกับ โดยก่อนหน้านี้ท่องจำ
สิงหล โดยใช้ภาษามคธ
อินเดียยังไม่มีอรรถกถา
พระเถระวัด พระพุทธโฆษาจารย์จึง
วัดมหาวิหาร พระเจ้า พระพุทธ
6 พ.ศ. 956 มหาวิหาร - เดินทางมาแปลอรรถกถา -
ศรีลังกา มหานาม โฆษาจารย์
จำนวนหนึ่ง จากภาษาลังกาเป็นภาษา
บาลี
พระเจ้า
ลังกายังขาดคัมภีร์ฎีกา
ปรากรม พระกัสสปะ
7 พ.ศ.1587 ศรีลังกา 1.000 รูป - จึงจัดประชุมเพื่อรวม -
พาหุ เถระ
คัมภีร์ฎีกา
มหาราช
พระเจ้าติ
พระไตรปิฎกยังขาด
พ.ศ.2020 วัดโพธาราม โลกราช พระธรรม - มีการจารึกโดยใช้
8 หลายร้อยรูป 1 ปี บกพร่อง ผิดเพี้ยน จึง
จ.เชียงใหม่ แห่ง ทินนเถระ อักษรล้านนา
ชำระให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ล้านนา
พระผู้ใหญ่ถูกถอดและถูก
เกิดพระไตรปิฎกฉบับ
พ.ศ.2331 วัดมหาธาตุฯ รัชกาลที่ พระเถระ 218 รูป และราช 5 จับสึกเพราะพฤติกรรม
9 หลวง คือ ฉบับทอง
กทม. 1 บัณฑิตคฤหัสถ์ 32 คน เดือน หย่อนหยาน รัชกาลที่ 1
ใหญ่ (อักษรขอม)
จึงโปรดให้ชำระ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 36
ครั้ง ระยะ
เวลา สถานที่ ผู้อุปถัมภ์ ประธาน พระที่เข้าร่วม สาเหตุ จุดเด่น
ที่ เวลา
- เกิดพระไตรปิฎก
รัฐบาล ชำระและจัดพิมพ์เนื่องใน ฉบับสยามรัฐ (ฉบับ
พระสงฆ์ฝ่าย
วัดมหาธาตุฯ ไทย สมเด็จ วโรกาสรัชกาลที่ 9 เจริญ สังคายนา) ซึงเป็น
10 พ.ศ.2528 มหานิกายและ -
กทม. (รัชกาลที่ พระสังฆราช พระชนมพรรษาครบ 60 ภาษาไทย
ธรรมยุติกนิกาย
9) พรรษา ใน พ.ศ.2530 - ต่อมาม.มหิดล
บันทึกลงคอมพิวเตอร์

5. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
Ø ความสำคัญของหลักธรรม
- หัวใจของศาสนา คือ หลักธรรมคำสอน
- หลักธรรมของศาสนาพุทธเกิดจากการค้นพบของพระพุทธเจ้า
Ø พระรัตนตรัย
- พระรัตนตรัย ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
v พระพุทธ คือ ____________________ (ผู้ตรัสรู้อริยสัจ 4 ผู้กำจัดกิเลสจนเกิดความ
เบิกบานในใจ)
พระพุทธแบ่งออกเป็น
1) พระสัมมาสัมพุทธเจ้า (สัพพัญญูพุทธะ) หมายถึง พระพุทธเจ้าผูต้ รัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง
สามารถสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม และตั้ง________ได้
2) พระปัจเจกพุทธ หมายถึง พระพุทธผู้ตรัสรู้ด้วยตนเอง แต่ไม่สอนผู้อื่น
3) พระอนุพุทธ (สาวกพุทธ) หมายถึง ผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
คุณค่าของพระพุทธ คือ พุทธจริยา ได้แก่ โลกัตถจริยา ญาตัตถจริยา และพุทธัตถจริยา
พระคุณของพระพุทธองค์ 1) พระปัญญาคุณ 2) พระวิสุทธิคุณ (ทรงมีจิตใจบริสุทธิ,์ ทรงทำได้
ตามที่สอน, ทรงสอนด้วยใจบริสุทธิ์ใจ) 3) พระกรุณาธิคุณ (ทรงช่วยสัตว์โลกให้พ้นทุกข์)
v พระธรรม
พระธรรม เป็นความจริงที่มีอยู่โดยธรรมชาติ เมื่อพระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วจึงนำมาสั่งสอนสรรพ
สัตว์
v พระสงฆ์
กลุ่มชนที่เลื่อมใสในคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วออกบวช มีหน้าที่ศึกษา ปฏิบัติตาม และเผยแผ่
หลักธรรม

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 37
Ø อริยสัจ 4
- เป็นธรรมะอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา
- เป็นบทสรุปของคำสอนทั้งหมดของพระพุทธองค์
v ทุกข์ คือ ความไม่สบายทางกายหรือใจ ได้แก่
- สภาวทุกข์ คือ ทุกข์______ ได้แก่ เกิด แก่ ตาย
- ปกิณณกทุกข์ คือ ทุกข์______ ได้แก่ ความเจ็บต่าง ๆ เช่น เจ็บใจ เจ็บป่วย
ปกิณณกทุกข์ แบ่งย่อยได้ 8 อย่าง คือ
โสกะ (ความเศร้าใจ) ปริเทวะ (การรำพึงรำพัน)
ทุกขะ (ความป่วย) โทมนัสสะ (ความน้อยใจ)
อุปายะ (ความคับใจ ตรอมใจ) อัปปิยสัมปโยคะ (ไม่พอใจ)
ปิยวิปปโยคะ (ความพลัดพลาก) อิจฉตาลาภะ (ผิดหวัง)
v สมุทัย คือ สาเหตุของความทุกข์ ได้แก่ _________ (ตัณหา) แบ่งเป็น
- กามตัณหา คือ ความอยากในวัตถุ
- ภวตัณหา คือ ความอยากในนามธรรม อยากให้คงอยู่ต่อไป เช่น อยากดัง
- วิภวตัณหา คือ ความเบื่อหน่าย
v นิโรธ คือ ความดับทุกข์ (ความสิ้นทุกข์)
- นิโรธในศาสนาพุทธ คือ _________ (สิ้นทุกข์จากการละกิเลส)
v มรรค คือ หนทางดับทุกข์ ได้แก่ มรรค 8
มรรค 8 ประกอบด้วย
หัวข้อ ความหมาย ลักษณะ
สัมมา______ _______ชอบ เห็นว่ากรรมมีจริง, เห็นจริงกับอริยสัจ 4
สัมมา______ _______ชอบ ไม่คิดหลง ไม่คิดโกรธ ไม่คิดเบียดเบียน
สัมมา______ _______ชอบ ไม่พูดปด ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ
สัมมา______ _______ชอบ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ผิดในกาม
สัมมา______ _______ชอบ ประกอบสัมมาอาชีวะที่ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
สัมมา______ _______ชอบ เพียรละความชั่ว เพียรทำความดี
สัมมา______ _______ชอบ ไม่ประมาท และรู้เท่าทันสิ่งแวดล้อมและตัวเราเอง
สัมมา______ _______ชอบ ไม่ฟุ้งซ่าน แต่สามารถทำใจเป็นสมาธิได้จนปราศจากนิวรณ์

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 38
- มรรค 8 ถือเป็นเส้นทางเดียวที่นำไปสู่นิพพาน
- มรรค 8 แบ่งเป็น 3 ระดับ ที่เรียกว่า “ไตรสิกขา” คือ ศีล สมาธิ และปัญญา
ศีล : สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวาจา
สมาธิ : สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาวายามะ
ปัญญา : สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
- สรุป มรรค 8 à ไตรสิกขา à มัชฌิมาปฏิปทา
คำสอนต่าง ๆ สามารถสรุปลงในหลักอริยสัจ 4

ชวนคิด
Q: หลักธรรมหรือคำสอนใดที่นักเรียนใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันมากที่สุด พร้อมอธิบายเหตุผล
และยกตัวอย่างประกอบ
A:___________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 39
Ø ทุกข์ (ธรรมะที่ควรรู)้
ได้แก่ ขันธ์ 5, โลกธรรม 8, จิต-เจตสิก
v ขันธ์ 5 คือ องค์ประกอบของชีวิต 5 ส่วน
- สามารถแยกย่อยเป็น 2 ส่วน คือ รูปธรรม และนามธรรม
1) รูป : ร‹างกาย ประกอบดŒวย _____
รูปธรรม
ไดŒแก‹ ดิน น้ำ ลม ไฟ

2) วิญญาณ : การ___ผ‹านประสาทสัมผัส
ขันธ 5

จิต
ทั้ง 6 คือ หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ

3) เวทนา : ความ____
นามธรรม (สุข ทุกข อุเบกขา)
เจตสิก คือ
4) สัญญา : การ____หมายรูŒ ส่วนประกอบ
ของจิต
5) สังขาร : __ที่ปรุงแต‹งขึ้น
แรงจูงใจ
v โลกธรรม 8
- หมายถึง เรื่องราวธรรมดาที่เกิดขึ้นบนโลก แบ่งเป็น
สุข-ทุกข์ ลาภ-เสื่อมลาภ ยศ-เสื่อมยศ สรรเสริญ-นินทา
- โลกธรรมมุ่งสอนให้เรายอมรับว่าสรรพสิ่งในโลก____________
Ø สมุทัย (ธรรมะที่ควรละ)
ได้แก่ หลักกรรม, ปฏิจจสมุปบาท, นิยาม 5, วิตก 3, มิจฉาวณิชชา 5, นิวรณ์ 5, อุปาทาน 4
v หลักกรรม
- กรรม คือ การกระทำที่ม_ี _____ (การกระทำที่ไม่มีเจตนา เรียกว่า กิริยา)
- กฎแห่งกรรม กล่าวไว้ว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ซึ่งตรงกับสำนวนไทย เช่น กงเกวียนกำเกวียน,
วัวใครเข้าคอกคนนั้น, หว่านพืชเช่นไร ย่อมได้ผลเช่นนั้น, สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
- ศาสนาพุทธเชื่อว่ากรรมมีจริง (กัมมสัทธา) เชื่อเรื่องผลของกรรม (วิปากสัทธา) และเชื่อว่าสัตว์ทั้ง
ปวงมีกรรมของตนเอง (กัมมัสสกตาสัทธา)
v กรรม 12
ชนิดของกรรมตามเวลาที่ให้ผล
1) ส่งผลทันตาเห็น หรือในชาตินี้ (ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม)
2) ส่งผลในกาลหน้า หรือชาติหน้า (อุปัชชเวทนียกรรม)
3) ส่งผลในเวลานานมาก หรือชาติต่อ ๆ ไป (อปราปรเวทนียกรรม)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 40
4) ไม่มีโอกาสส่งผล หรือให้ผลเสร็จแล้ว (อโหสิกรรม)
ชนิดของกรรมตามหน้าที่ที่ให้ผล
1) กรรมนำไปเกิด (ชนกกรรม)
2) กรรมสนับสนุน หรือซ้ำเติม (อุปัตถัมภกรรม)
3) กรรมขัดขวาง หรือทำให้ได้รับผลกรรมไม่เต็มที่ (อุปปีฬกกรรม)
4) กรรมตัดรอน หรือกรรมขัดขวางที่ให้ผลแบบกะทันหัน (อุปฆาตกรรม)
ชนิดของกรรมหนักเบา
1) กรรมหนัก (ครุกรรม)
- ทางกุศล คือ รูปฌาน และอรูปฌาน
- ทางอกุศล คือ ___________ (ฆ่าพ่อ ฆ่าแม่ ฆ่าพระอรหันต์ ทำให้พระพุทธเจ้าทรง
ห้อพระโลหิต ทำให้สงฆ์แตกสามัคคี)
2) กรรมทีท่ ำจนเคยชิน (พหุลกรรม, อาจิณกรรม)
3) กรรมใกล้ตาย หรือกรรมที่คิดถึงก่อนตาย (อาสันนกรรม)
4) กรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ (กตัตตากรรม)
v ปฏิจจสมุปบาท (อ่านว่า ปะ-ติด-จะ-สะ-หมุบ-บาด)
- เป็นธรรมว่าด้วยการเกิดขึ้นของสิ่งทั้งหลาย กฎของการดำรงอยู่ ความเป็นเหตุเป็นผลกัน
- มีหลักการ คือ “เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนั้นจึงมีตาม เมื่อสิ่งนี้เกิด สิ่งนั้นจึงเกิดตาม เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนั้นย่อม
ไม่มีตาม เมื่อสิ่งนี้ดับลง สิ่งนั้นย่อมดับตาม”
- ชื่อเรียกอื่น คือ อิทัปปัจจัยตา, ธรรมนิยาม
- ลำดับความสัมพันธ์ : อวิชชา à สังขาร à วิญญาณ à นามรูป à สฬายตนะ à
ผัสสะ à เวทนา à ตัณหา à อุปาทาน à ภพ à ชาติ à ชรา-มรณะ
v นิยาม 5
- กฎธรรมชาติ ระเบียบที่กำหนดไว้แน่นอน 5 ข้อ
1) อุตุนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ___________________ เช่น ลม ฟ้า
อากาศ ฤดูกาล
2) พีชนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ___________________ (การสืบพันธุ์)
3) จิตตนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ___________________
4) กรรมนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ___________________
5) ธรรมนิยาม : กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ___________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 41
v วิตก 3
- หมายถึง การคิด การใคร่ครวญ โดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่
1) กุศลวิตก เนกขัมมวิตก (ไม่คิดยึด อพยาบาทวิตก (ไม่คิดพยาบาท) อวิหิงสาวิตก (ไม่คิดเบียดเบียน)
ติด)
2) อกุศลวิตก กามวิตก (คิดอยาก) พยาบาทวิตก (คิดพยาบาท) วิหิงสาวิตก (คิดเบียดเบียน)
v มิจฉาวณิชชา 5 คือ การประกอบอาชีพที่ผิดศีลธรรม 5 ประการ ได้แก่
1) ค้าขาย_______ (สัตตวณิชชา) เช่น ค้าทาส ขายคนในครอบครัว การใช้แรงงานอย่างทารุณ
2) ค้าขาย_______ (มังสวณิชชา) รวมถึงการเลี้ยงไว้ขายด้วย
3) ค้าขาย_______ (สัตถวณิชชา)
4) ค้าขาย_______ (วิสวณิชชา) รวมถึงสารเคมีที่เป็นอันตรายด้วย
5) ค้าขาย_______ (มัชชวณิชชา) รวมถึงยาเสพติดทุกชนิดด้วย
v นิวรณ์ 5 คือ สิ่งขวางกั้นไม่ให้ก้าวหน้าในธรรม 5 ประการ ได้แก่
1) ความพึงพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส (กามฉันทะ)
2) ความโกรธ ความคับแค้นใจ (พยาบาท)
3) ความหดหู่ ความท้อแท้ (ถีนมิทธะ)
4) ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ (อุทธัจจกุกกุจจะ)
5) ความลังเลสงสัยในสิ่งที่ควรเชื่อ (วิจิกิจฉา)
v อุปาทาน 4 คือ การยึดมั่นถือมั่น 4 ประการ ได้แก่
1) การยึดมั่นในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส (กามุปาทาน)
2) การยึดมั่นในทิฏฐิ ความคิด ความเชื่อ (ทิฏฐมาทาน)
3) การยึดมั่นในศีลและพรตอย่างงมงาย ไม่ได้เข้าใจ (สีลัพพตุปาทาน)
4) การยึดมั่นในตัวตน เป็นนายบังคับตัวตนได้ (อัตตวาทุปาทาน)
Ø นิโรธ (ธรรมะที่ควรบรรลุ)
ได้แก่ ภาวนา 4, วิมุตติ 5, นิพพาน
v ภาวนา 4 คือ การพัฒนาตนให้เจริญก้าวหน้าและมีความสุข 4 ประการ ได้แก่
1) กายภาวนา : การพัฒนาร่างกาย รู้จักใช้วัตถุด้วยคุณค่าแท้
2) ศีลภาวนา : การพัฒนาศีล (พัฒนาความประพฤติ ไม่สร้างความเดือดร้อน)
3) จิตภาวนา : การพัฒนาจิตใจให้ดีงาม
4) ปัญญาภาวนา : การพัฒนาปัญญา ให้มีความรอบรู้ แก้ปัญหาได้

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 42
v วิมุตติ 5 คือ ความหลุดพ้นจากกิเลส 5 ประการ ได้แก่
1) การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยการข่มไว้ด้วยฌาณ (วิกขัมภนวิมุตติ) ส่งผลให้หลุดพ้น
จาก________ได้
2) การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยธรรมที่ตรงกันข้ามกัน (ตทังควิมุตติ) เช่น ระงับโกรธด้วยเมตตา
3) การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยการปฏิบัติมรรค 8 (สมุจเฉทวิมุตติ)
4) การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอริยผล (ปฏิปัสสัทธวิมุตติ) เป็นการหลุดพ้นที่ยั่งยืน เด็ดขาด มี 4 ชั้น
คือ โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี และอรหันต์
5) การหลุดพ้นจากกิเลสทีป่ ลอดโปร่ง (นิสสรณวิมุตติ) คือ การบรรลุ_______
v นิพพาน คือ ภาวะจิตใจที่มีความสงบสูงสุด หลุดพ้นจากกิเลสและทุกข์ทั้งหลายแล้ว
ลักษณะของนิพพาน 4 ประการ ได้แก่
1) สภาวะทีไ่ ม่ตาย ไม่อยู่ในเงื่อนไขเวลา (อัจจุตะ)
2) สภาวะทีเ่ ที่ยงแท้แน่นอน ไม่แปรผันอีก (อัจจันตะ)
3) สภาวะทีไ่ ม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย 4 พ้นจากขันธ์ 5 (อสังขตะ)
4) สภาวะทีป่ ระเสริฐสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า (อนุตระ)
Ø มรรค (ธรรมะที่ควรเจริญ)
ได้แก่ สัทธรรม 3, ปัญญาวุฒิธรรม 4, พละ 5, อุบาสกธรรม 5, อปริหานิยธรรม 7, ปาปณิกธรรม 3,
ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4, โภคอาทิยะ 5, อริยวัฑฒิ 5, อธิปไตย 3, สารณียธรรม 6,
ทศพิธราชธรรม 10,วิปัสสนาญาณ 9, มงคล 38
v สัทธรรม 3
พระสัทธรรม3 คือ ธรรมของสัตบุรุษอันเป็นหลักหรือแก่นของพระพุทธศาสนา ได้แก่
1) ปริยัติสัทธรรม คือ การ_________พระธรรม คำสอนของพระพุทธเจ้า
2) ปฏิบัติสัทธรรม คือ การ_________ตามคำสั่งสอนอย่างต่อเนื่อง
3) ปฏิเวธสัทธรรม คือ การ_________แห่งการปฏิบัติ เป็นอริยบุคคล หรือนิพพาน
v ปัญญาวุฒิธรรม 4
ปัญญาวุฒิธรรม 4 คือ ธรรมะที่ทำให้เจริญรุ่งเรือง เป็นเครื่องเจริญงอกแห่งปัญญา 5 ประการ ได้แก่
1) สัปปุริสสังเสวะ คือ การคบหาแต่คนดี มีศีลธรรม
2) สัทธัมมัสสวนะ คือ การใส่ใจในการเล่าเรียน และการค้นหาความจริง
3) โยนิโสมนสิการ คือ การคิดอย่างรอบคอบถี่ถ้วน การคิดแบบไม่ประมาท
4) ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือ การปฏิบัติตนถูกต้องตามคลองธรรม ไม่ก่อความเดือดร้อนให้สังคม

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 43
v พละ 5
พละ 5 คือ ธรรมะที่ก่อให้เกิดกำลัง ป้องกันมิให้เกิดอกุศล 5 ประการ ได้แก่
1) สัทธาพละ คือ ความ_____ในสิ่งที่ควรเชื่ออย่างมีเหตุผล
2) วิริยะพละ คือ ความ_____ทำแต่ความดี
3) สติพละ คือ ความ_____ระลึกได้ ไม่ประมาท
4) สมาธิพละ คือ ความ_____ จดจ่อกับสิ่งที่ทำ ไม่ฟุ้งซ่าน
5) ปัญญาพละ คือ ความ_____ ความรู้แจ้ง
v อุบาสกธรรม 5
อุบาสกธรรม 5 คือ ธรรมะแสดงคุณสมบัติสำหรับอุบาสก อุบาสิกา ได้แก่
1) ศรัทธา 2) มีศีลบริสุทธิ์ 3) เชื่อกรรม 4) ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา 5) บำรุง
พระพุทธศาสนา
v อปริหานิยธรรม 7 คือ ธรรมะที่นำความเจริญมาสู่หมู่คณะ ได้แก่
1) หมั่นประชุมกันอย่างเนืองนิตย์
2) พร้อมเพียงกันประชุม พร้อมเพียงกันเลิกประชุม
3) ไม่บัญญัติสิ่งใหม่อันขัดต่อหลักการเดิม ไม่ล้มล้างบัญญัติเก่าที่ยังใช้ได้อยู่
4) เคารพนับถือและเชื่อฟังผู้ใหญ่
5) ปกครองสตรี มิให้ถูกข่มเหงรังแก
6) เคารพในปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ
7) คุ้มครองป้องกันภัยแก่ สมณ ชี พราหมณ์ ผู้เป็นที่พึ่งทางใจของประชาชน
v ปาปณิกธรรม 3
บาปณิกธรรม 3 คือ ธรรมะของพ่อค้า 4 ประการ
1) จักขุมา คือ การรู้จักสินค้าที่ตนขายเป็นอย่างดี
2) วิธูโร คือ การมีความจัดเจนด้านธุรกิจ รู้ความต้องการขิงลูกค้า
3) นิสสยสัมปันโน คือ การมีความน่าเชื่อถือ
v ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 หรือ ทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์ 4
ทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์ 4 (___________) คือ ธรรมะที่เป็นไปเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์ใน
ปัจจุบัน ได้แก่
1) อุฏฐานสัมปทา คือ การมีความ______หมั่นเพียร (อุ)
2) อารักขสัมปทา คือ การ_________ของสิ่งที่ได้มา (อา)
3) กัลยาณมิตตตา คือ การ________________ (กะ)
4) สมชีวิตา คือ การ_________อย่างเหมาะสมกับฐานะ (สะ)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 44
v โภคอาทิยะ 5 (สอดคล้องกับหลัก________ในทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์4)
โภคอาทิยะ 5 คือ ธรรมะเกี่ยวกับแนวทางการใช้จ่ายทรัพย์ ควรแบ่งเป็น 5 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 เพื่อบำรุงตนเองและครอบครัว ส่วนที่ 2 เพื่อบำรุงมิตรสหาย
ส่วนที่ 3 เพื่อเก็บไว้ใช้ยามจำเป็น ส่วนที่ 4 เพื่อบำรุงศาสนา
ส่วนที่ 5 เพื่อทำพลี 5 ( การสงเคราะห์ญาติพี่น้อง, การต้อนรับแขก, อุทิศส่วนกุศลให้ผู้ตาย, สิ่งที่
เคารพตามความเชื่อ, เสียภาษีอากร)
v อริยวัฑฒิ 5
อริยวัฑฒิ 5 คือ ความเจริญของคนที่เจริญแล้ว ได้แก่
1) ศรัทธา มีความเชื่อที่เจริญ มีความเชื่อที่ถูกต้อง ไม่งมงายในสิ่งเหนือธรรมชาติ
2) ศีล มีความประพฤติที่เจริญ มีระเบียบวินัย ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งดีงาม
3) สุตะ มีความรู้ที่เจริญ การศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
4) จาคะ มีจาคะทีเ่ จริญ รู้จักแบ่งปัน ไม่เห็นแก่ตัว
5) ปัญญา มีปัญญาที่เจริญ รู้จักคิดและพิจารณาสิ่งต่างๆอย่างมีเหตุผล
v อธิปไตย 3
อธิปไตย 3 (มาจาก อธิปเตยยะ คือ ความเป็นใหญ่) หมายถึง ภาวะที่ถืออะไรบางอย่างเป็นใหญ่
1) อัตตาธิปไตย คือ การเอาความเห็นของ________เป็นใหญ่
2) โลกาธิปไตย คือ การเอาความเห็นของ_________เป็นใหญ่
3) ธรรมาธิปไตย คือ การเอาความเห็นที่ม_ี ________เป็นใหญ่
v สาราณียธรรม 6
สาราณียธรรม 6 คือ ธรรมะที่สร้างความสามัคคี ได้แก่
1) เมตตากายกรรม การ_______ที่ประกอบด้วยเมตตา
เช่น การอนุเคราะห์ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจ การไม่ทำร้ายร่างกายผู้อื่น
2) เมตตาวจีกรรม การ_______ที่ประกอบด้วยความเมตตา
เช่น การพูดสุภาพ มีเหตุผล ไม่พูดให้ร้ายผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน
3) เมตตามโนกรรม คือ การ______ที่ประกอบด้วยเมตตา
เช่น การคิดดีต่อผู้อื่น ไม่คิดอิจฉาริษยา คิดอาฆาตพยาบาทใคร
4) สาธารโภคี คือ การ___________ของตนเพื่อสาธารณประโยชน์
เช่น การบริจาคเงินหรือสิ่งของให้แก่ผู้ด้อยโอกาส
5) สีลสามัญญตา คือ การมีความ________ดี
เช่น รักษาศีล รักษากฎกติกาของสังคม
6) ทิฏฐิสามัญญาตา คือ การ______________________ความคิดเห็นของผู้อื่น
เช่น การเข้าใจในเรื่องสิทธิและเสรีภาพ การยอมรับระบอบประชาธิปไตย

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 45
v ทศพิธราชธรรม 10
ทศพิธราชธรรม 10 คือ ธรรมแห่งผู้เป็นราชา หรือ ผู้ปกครอง
1) ทาน คือ การให้ การเสียสละ
2) ศีล คือ ประพฤติที่ดงี าม ทั้งกาย วาจา ใจ
3) บริจาค คือ เสียสละความสุขส่วนตน
4) อาชชวะ คือ ความซื่อตรง
5) มัททวะ คือ อ่อนโยน มีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส
6) ตปะ คือ ความเพียร มีความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน
7) อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ
8) อวิหิงสา คือ ความไม่เบียดเบียน
9) ขันติ คือ ความอดทน
10) อวิโรธนะ คือ ความเที่ยงธรรม ความหนักแน่น
v วิปัสสนาญาณ 9
วิปัสสนาญาณ 9 คือ ความรู้ที่ทำให้เกิดความเห็นแจ้งเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง 9
ประการ ได้แก่
1) อุทยัพพานุปัสสนาญาณ พิจารณาการ____________ของสังขาร ให้เข้าใจว่าสังขาร เมื่อ
มีเกิดในเบื้องต้น ก็จะต้องมีการดับไปในภายหลัง
2) ภังคานุปัสสนาญาณ พิจารณาการ______ที่เกิดขึ้นเป็นปกติทุกวัน ทุกเวลา ให้เข้าใจว่าไม่มี
สิ่งใดจะอยู่ยั่งยืน มั่นคง มีแต่จะค่อยๆเก่าลง แก่ลง และร่วงโรยลง
3) ภยตูปัฏฐานญาณ พิจารณาว่าสังขารเป็นของ_______ ให้เข้าใจว่าสังขารเป็นที่พึ่งมิได้ มีแต่
ต้องเสื่อมสภาพไปตามวันเวลา เป็นรังของโรคภัยที่ค่อยเบียดเบียน
4) อาทีนวานุปัสสนาญาณ พิจารณาว่าสังขารเป็นสิ่งที่______ ให้เข้าใจว่าสังขารเป็นสิ่งที่มีความ
บกพร่อง และนำไปสู่ความทุกข์
5) นิพพิทานุปัสสนาญาณ พิจารณาว่าสังขาร_________ ให้เข้าใจว่าสังขารเป็นอสุภะ เป็นสิ่ง
ไม่สวยไม่งาม
6) มุญจิตุกามยตาญาณ พิจารณาเพื่อ_________จากสังขาร เพราะรู้แล้วว่าสังขารเป็นสิ่งไม่ดี
7) ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ พิจารณาเพื่อหาทาง_________จากสังขาร
8) สังขารุเปกขาญาณ พิจารณาเพื่อให้_______ต่อสังขาร
9) สุจจานุโลมิกญาณ พิจารณาญาณทั้งหมด เพื่อให้เห็น_______

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 46
v มงคล 38 คือ ความดีงามที่นำมาปฏิบัติเพื่อความเจริญ เช่น
สงเคราะห์บุตร สงเคราะห์ภรรยา สันโดษ
ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มัวหมอง
จิตเกษม ความเพียรเผากิเลส ประพฤติพรหมจรรย์
เห็นอริยสัจ บรรลุนิพพาน

6. พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก และชาวพุทธตัวอย่าง


Ø พุทธสาวก พุทธสาวิกา
v พระอัสสชิ
- เกิดในตระกูลพราหมณ์แห่งกรุงกบิลพัสดุ์
- เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้เป็น พระพุทธเจ้าแล้ว ได้เสด็จมาแสดงปฐมเทศนา ทำให้ท่านกราบทูลขอบวช
ซึ่งต่อมาได้บรรลุเป็นพระอรหันต์
- ได้รับการยกย่องว่ามีความสามารถในการเทศนาสั่งสอนธรรมะแก่ประชาชนอย่างได้ใจความสั้นกะทัดรัด
ครอบคลุมหลักพระพุทธศาสนา
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระกีสาโคตรมีเถรี
- เป็นธิดาของบุคคลในตระกูลเก่าแก่ในเมืองสาวัตถี
- เศรษฐีจึงบอกให้ท่านลองหยิบถ่านก้อนหนึ่งขึ้นดูปรากฏว่าเมื่อท่านหยิบถ่านขึ้นมา
ก็กลายเป็นทองจริงๆ เศรษฐีผู้นั้นจึงไปสู่ขอให้แต่งงานกับบุตรชายของตน
- ต่อมาลูกชายท่านคนหนึ่งเสียชีวิตอย่างกะทันหัน นางเสียใจมากจนสติฟั่นเฟือน
ไม่ยอมเผาศพลูกเพราะคิดว่าลูกชายของตนยังไม่ตาย
- พระพุทธเจ้าจะทรงทำยาเพื่อรักษาลูกชายด้วยเมล็ดพันธุ์ผักกาดให้ โดยได้ตรัส
กำชับว่า “ผักกาดนัน้ จะต้องเอาจาก บ้านเรือนที่ไม่มีใครตายจึงจะทำได้”
- “ในโลกนี้ไม่มีบ้านไหนไม่มีคนตาย ความตายมิใช่ตายเฉพาะลูกเรา คนอื่นก็ตายด้วย สักวันหนึ่งเราก็
ต้องตาย ความตายเป็นสัจจะแห่งชีวิต สิ่งใดมีการเกิดขึ้น สิ่งนั้นก็มีการแตกดับในที่สุด”
- พระพุทธองค์จึงทรงแสดงพระธรรมเทศนาแก่นางจนนางได้บรรลุโสดาบันและกราบทูลขออุปสมบทเป็น
ภิกษุณี และได้บรรลุพระอรหันตผลพร้อมปฏิสัมภิทา
- ได้รับการยกย่องจาก พระพุทธเจ้าว่าเป็นเอตทัคคะในการทรงจีวรเศร้าหมอง เป็นผู้ถือธุดงควัตร
เคร่งครัด เรียบง่าย
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 47
v พระนางมัลลิกา
- ได้อภิเษกสมรสกับเจ้าชายพันธุละ และมีบุตรชายฝาแฝด 16 คู่
- สามีได้เข้ารับราชการในพระราชสำนักด้วยความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งดูแลเรื่องการตัดสินคดีความอย่าง
ยุตธิ รรม
- จึงเป็นที่อิจฉาของบรรดา ข้าราชการที่พ้นจากตำแหน่ง ซึ่งได้รวมตัวกันกล่าวหาว่าเจ้าชายพันธุละคิดก่อ
กบฏ
- กษัตริย์จึงรับสั่งให้สามีและบุตรชาย ไปรบที่ชายแดน จากนั้นก็ส่งทหารไปดักฆ่า
- สามีและบุตรชายทั้งหมดเสียชีวิต
- ในวันที่สามีและบุตรชายถูกฆ่า พระนางมัลลิกาได้นิมนต์พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ และพระภิกษุ
สงฆ์อีก 500 รูป มาฉันภัตตาหารที่บ้าน
- มีผู้ส่งข่าวมาแจ้งข่าวร้ายแก่พระนาง แต่พระนางก็สามารถข่มใจระงับความทุกข์โศกไว้ได้
- พระสารีบุตรเทศนาสั่งสอนให้เข้าใจ ว่า ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ไม่มีสิ่งบอกเหตุให้ทราบล่วงหน้า
ว่าจะตายที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และไม่มีใครรู้ได้ ชีวิตนั้นประกอบด้วยความทุกข์
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v หมอชีวก โกมารภัจ
- เป็นบุตรของหญิงนครโสเภณี เมื่อนางคลอดบุตรแล้ว ได้นำทารกไปทิ้งที่กองขยะนอกเมือง
- เจ้าชายอภัยราชกุมารซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์หนึ่งของพระเจ้าพิมพิสารพบเข้า จึงนำไปเลี้ยงในฐานะ
บุตรบุญธรรม
- ได้ศึกษาวิชาแพทย์ที่สำนักศึกษาทิศาปาโมกข์เมืองตักกสิลา
- ได้มีโอกาสรักษา ภรรยาของเศรษฐีคนหนึ่งแห่งเมืองสาเกตให้หายจาก โรคปวดศรีษะที่ปวดมาเป็น
เวลานาน 7 ปี
- ได้รับเงินค่ารักษาจำนวนหนึ่ง จึงถวายเจ้าชายอภัยราช แต่เจ้าชายอภัยราชประทานคืนให้ และยังสร้าง
บ้านพักให้ ในบริเวณวังของพระองค์ด้วย
- ได้ถวายการรักษา พระเจ้าพิมพิสารให้หายจากพระโรคริดสีดวงทวาร
- เป็นแพทย์ประจำพระองค์พระพุทธเจ้าและรักษาพระสงฆ์สาวกที่อาพาธ
- กราบทูลขอพระอนุญาตจากพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์รับจีวรที่ชาวบ้านจัดถวาย
- เป็นอุบาสกผู้เลิศในด้านมีความ เลื่อมใส เป็นหมอที่เสียสละและบำเพ็ญตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 48
v พระอนุรุทธะ
- เป็นโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะ
- เมื่อครั้งอยู่ในวัยเด็กจนถึงก่อนออกบวช ท่านอยากได้อะไรก็มักจะได้ตามความต้องการ
- เมื่อเจ้าชายแห่งศากยวงศ์และโกลิยวงศ์ปรารถนาออกบวช เจ้าชายอนุรุทธะได้ตัดสินใจออกบวชด้วย
- เป็นเลิศในทางมีทิพยจักขุ
- มีความมักน้อย ขณะที่จำพรรษา อยู่ที่วัดเวฬุวัน
- แสวงหาผ้าบังสุกุลตามกองขยะมาทำจีวรเนื่องจากจีวรที่ใช้อยู่ประจำนั้นขาดพระพุทธเจ้าพร้อมเหล่าพระ
สาวกได้มาช่วยกันเย็บจึงแล้วเสร็จในวันนั้น
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระองคุลิมาล
- เกิดในวรรณะพราหมณ์ บิดาเป็นปุโรหิตแห่งราชสำนักพระเจ้าปเสนทิโกศล
- เกิดมานั้นมีดาวโจรลอยเด่นบนท้องฟ้า ปุโรหิตทราบว่าเด็กที่เกิดในช่วงเวลานี้
จะเป็นมหาโจร จึงตั้งชื่อบุตรที่หมายถึง ผู้ไม่เบียดเบียน เพื่อแก้เคล็ด
- บิดาได้ส่งไปศึกษาในสำนักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์แห่งเมืองตักกสิลา
- เป็นผู้ที่ตั้งใจเรียน เป็นที่รักของอาจารย์ทำให้ศิษย์ร่วมสำนักพากันอิจฉาและ
หาเรื่องใส่ร้าย
- อาจารย์หลงเชื่อและวางแผนฆ่า โดยบอกว่าศิษย์ที่ศึกษาจบนั้น จะต้องให้ครุทักษิณา (ของบูชาครู) แก่
อาจารย์ นัน่ คือ นิ้วขวาของคน 1,000 นิ้ว
- เมื่อฆ่าคนแล้ว ได้นำนิ้วมือมาร้อยเป็นมาลัยคล้องคอ
- พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงยกกองทัพไปปราบ เมื่อผู้เป็นมารดารู้ข่าว จึงลอบออกจากเมืองเพื่อไปแจ้งด้วย
ความรักลูก
- เหลืออีกนิ้วเดียวก็จะครบ 1,000 นิ้ว พระพทุธเจ้าทรงเกรงว่าท่านจะทำอนนัตรยิกรรมต่อมารดา จึง
เสด็จไปดักหน้าก่อนที่มารดาจะไปถึง
- ท่านจึงตะโกนว่า “หยุด สมณะ หยุด” แต่พระองค์ตรัสว่า “เราหยุดแล้ว แต่เธอยังไม่หยุด”
- เป็นพระประเภทต้นคดปลายตรง หมายถึง เป็นผู้ประมาทในเบื้องต้น แต่ต่อมากลับตัวเป็นพระสาวกที่ดี
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระธัมมทินนาเถรี
- เป็นสตรีที่สวยงาม มีความรู้ และเพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติของกุลสตรี
- แต่งงานกับบุตรเศรษฐีชาวเมืองราชคฤห์ ซึ่งเป็นพระสหายของพระเจ้าพิมพิสาร
- สามีได้พบพระพุทธเจ้าและได้ฟังพระธรรมเทศนาจนบรรลุเป็นพระอนาคามี

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 49
- นางจึงหาโอกาสไปฟังพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้าบ้าง และทูลขอบวช
- ต่อมาไม่นาน นางก็บรรลุอรหันต์
- เป็นเอตทัคคะด้านการแสดงธรรม โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญในการแสดงธรรมแก่ประชาชน สามารถอธิบาย
ธรรมที่ยากให้เข้าใจได้โดยง่าย
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v จิตตคหบดี
- เป็นชาวเมืองมัจฉิกาสัณฑะ แคว้นมคธ
- ตอนเกิด มีดอกไม้ หลากสีตกลงทั่วเมือง
- มีโอกาสพบพระมหานามะ จึงเกิดความศรัทธาและนิมนต์ท่านไปฉันภัตตาหารที่คฤหาสน์ของตน
- สร้างวัดถวายพระมหานามะ ชื่อ สวนอัมพาฏการาม
- พระมหานามะได้แสดงธรรมเรื่อง อายตนะ 6 ทำให้บรรลุเป็นอนาคามี
- วันหนึ่ง พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเดินทางผ่านมา ท่านได้นิมนต์พระสาวกทั้งสองให้พำนักอยู่ที่
อัมพาฏการามและนิมนต์ให้ฉันอาหารในวันรุ่งขึ้น
- พระสุธรรมถือตนเป็นเจ้าอาวาส และเห็นว่าท่านให้ความสำคัญกับพระอัครสาวกมากกว่าตน จึงไม่
ยอมรับนิมนต์ ทั้งยังพูดต่อว่าท่านอย่างรุนแรง
- เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบเรื่อง จึงตำหนิพระสุธรรม และมีพุทธบัญชาให้กลับไปขอโทษ
- ท่านได้ยกโทษให้ และได้กล่าวขอโทษที่ได้ล่วงเกินพระสุธรรมพรรษา
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระอานนท์
- มีฐานันดรศักดิ์เป็นพระอนุชาของพระพุทธเจ้า
- บวชในพระพุทธศาสนาที่อนุปิยนิคม แคว้นมัลละ
- ได้ฟังธรรมจากพระปุณณมันตานีบุตรจนบรรลุเป็นโสดาบัน
- ได้รับหน้าที่เป็นพุทธอุปัฏฐากปรนนิบัติรับใช้พระพุทธเจ้า
- มีความเป็นเลิศกว่าผู้อื่น (เอตทัคคะ) 5 ด้าน คือ เป็นผู้เลิศในทางพหูสูต เป็นผู้เลิศในทางมีสติ เป็นผู้
เลิศในทางคติ เป็นผู้เลิศในทางความเพียรพยายาม เป็นผู้เลิศในทางพุทธอุปัฏฐาก
- มีส่วนสำคัญในการทำสังคายนา โดยได้รับมอบหมายให้เป็นผู้หนึ่งที่ร่วมสังคายนาในส่วนของพระ
สุตตันตปิฎก
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 50
v พระปฏาจาราเถรี
- เกิดในตระกูลเศรษฐีเมืองสาวัตถี
- บิดา มารดาได้หมั้นชายหนุ่มในชนชั้นเดียวกัน แต่นางแอบรักใคร่กับ
คนรับใช้ในบ้าน
- นัดแนะชายคนรักพากันหนี แล้วไปสร้างบ้านเรือนในชนบทที่ทุรกันดาร
- ระหว่างคลอดลูกบุตรคนที่สอง ฝนได้ตกลงมาอย่างหนัก นางบอกให้สามีไปตัดกิ่งไม้มาทำซุ้มกำบังฝน
แต่สามีของนางกลับถูกงูพิษร้ายกัด ถึงแก่ความตาย
- นางจึงพาลูกเดินทางไปยังเมืองสาวัตถีอันเป็นบ้านเกิด
- แต่เมื่อเดินทางถึงธารน้ำไหลเชี่ยว นางไม่สามารถอุ้มลูกเพื่อข้ามน้ำไปได้พร้อมกันทั้งสองคน
- จึงบอกให้ลูกคนโตคอยอยู่บนฝั่ง ส่วนลูกคนเล็กเพิ่งคลอดอุ้มไปวางอีกฝัง่ แล้วรีบกลับไปรับลูกคนโต
- ระหว่างเดินกลับมารับลูกคนโต เหยี่ยวมาโฉบลูกคนเล็กไป จึงโบกมือไล่ ลูกคนโตนึกว่าแม่เรียกจึง
กระโดดลงในน้ำที่ไหลเชี่ยว จึงเสียชีวิต
- นางเสียใจร้องไห้ที่สูญเสียทั้งสามีและลูกรักทั้งสอง
- นางเดินทางไปหาบิดามารดายังเมืองสาวัตถี แต่ก็พบว่าท่านทั้งสองเสียชีวิตเมื่อคืนเพราะพายุ
- พระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรมแก่นางถึง เรื่องการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อนางได้ฟังก็บรรลุเป็นโสดาบันและ
ทูลขอบวชเป็นภิกษุณี จนบรรลุอรหันต์
- เป็นเอตทัคคะในทางทรงจำพระวินัย
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v จูฬสุภัททา
- เป็นธิดาของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี
- บิดาให้นางดูแลการถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์
- นางก็ปฏิบัติด้วยความเรียบร้อยและได้ ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าจนบรรลุโสดาบัน
- ต่อมา อุคคเศรษฐี ได้สู่ขอนางให้แต่งงานกับบุตรชายของตน
- โดยก่อนที่จะส่งตัวนางไปยังตระกูลของสามี อนาถบิณฑิกเศรษฐีได้ให้โอวาท 10 ประการแก่นาง เพื่อ
นำไปปฏิบัติ
- ท่านอุคคเศรษฐีได้จัดงานมงคลต้อนรับลูกสะใภ้และเชิญ นักบวชเปลือยที่ตนเคารพมาทำบุญที่บ้าน และ
ได้เรียกให้นางออกไปไหว้นักบวชเหล่านั้น แต่นางไม่ยอมไหว้
- พราหมณ์ทั้ง 8 ได้พิจารณาข้อกล่าวหาและตัดสินว่านางไม่ผิด
- นางได้แนะนำอคุคเศรษฐีและภรรยา จนเกิดความเลื่อมใสและปฏิญาณตน เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 51
v สุมนมาลาการ
- เป็นชาวเมืองราชคฤห์
- มีหน้าที่นำดอกมะลิ วันละ ๘ ทะนาน ไปถวายพระเจ้าพิมพิสารทกุเช้า
- พบพระพทุธเจ้าเสด็จออกบิณฑบาตพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ เกิดความเลื่อมใสศรัทธา จึงตัดสินใจนำ
ดอกไม้ที่จะต้องไปถวายพระเจ้าพิมพิสารมาถวายพระพทุธองค์
- หากพระเจ้าพิมพิสารไม่ได้รับดอกไม้ แล้วจะสั่งลงโทษก็ยินยอม เพราะถือว่าการบูชาพระพุทธเจ้านั้น
เป็นประโยชน์สูงสุดในชีวิตของตน
- ภรรยาของเขาไม่พอใจ และนำความไปกราบทูลพระเจ้าพิมพิสารซึ่งเป็นผู้มีความศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา ทำให้พระองค์ทรงทราบว่าหญิงนั้นเป็นคนไม่ดี
- พระเจ้าพิมพิสารตรัสยกย่องว่าเป็นมหาบุรุษและพระราชทานรางวัลแก่เขา
- พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย บุคคลทำกรรมใดแล้วไม่เดือดร้อนในภายหลัง เป็นผู้อิ่มเอิบ มี
ความสุขใจ นั่นแหละเรียกว่า กรรมดี”
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
Ø ชาวพุทธตัวอย่าง
v พระนาคเสน –พระยามิลินท์
- เมื่อพระนาคเสนอายุได้ 7 ปี บิดามารดาได้ให้เรียนไตรเพทซี่งเป็นวิชาของพราหมณ์
- ได้พบและสนทนาธรรมกับพระโรหณะเถระ จึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธา ได้ข้ออนุญาต
บิดามารดาบวชเป็นสามเณรที่ถ้ำคูหารักขิตเลณะและได้เรียนพระอภิธรรม 7 คัมภีร์
- ได้กล่าวอนุโมทนากถาด้วยธรรมที่สมควรกับสติปัญญาของอุบาสิกา ซึ่งได้ฟังโดย
พิจารณาตามไปด้วยจนได้บรรลุโสดาบันและท่านเองก็ได้บรรลุเป็นพระโสดาบันด้วย
- ศึกษาพระไตรปิฎกจากพระธัมมรักขติร่วมกับพระสงฆ์จากลังกา จนมีความรู้ แตกฉานในพระไตรปิฎก
ได้ในเวลาไม่นาน
- ได้มีโอกาสโต้วาทะกับกษัตริย์กรีกพระองค์หนึ่ง คือ พระยามิลินท์ โดยแสดงหลักแห่งพระพุทธศาสนา
ให้กับกษัตริย์กรีกเข้าใจจนยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
- เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี
- ท่านบรรพชาเป็นสามเณรและสอบปริยัติธรรมสนามหลวงได้เปรียญ 5 ตั้งแต่ยังเป็นสามเณร
- เล่าเรียนพระปริยัติธรรมจนสามารถสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค เมื่ออายุ 24
- ได้ชื่อว่าเป็นผู้เคร่งครัดในพระธรรมวินัย
- ท่านได้รับหน้าที่ใดก็สามารถปฏิบัติหน้าที่นั้นได้จนบังเกิดผลดี

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 52
- เป็นผู้ที่เข้มงวดกวดขันเรื่องการทำวัตรสวดมนต์เช้า-เย็นของพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ที่มา
ถือศีลฟังธรรมที่วัด
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต
- เกิดที่จังหวัดอุบลราชธานี
- เป็นคนที่ชอบศึกษาเล่าเรียนมาตั้งแต่ยังเด็ก
- เมื่อโตขึ้นได้เล่าเรียนจากอาของท่านโดยเรียนอักษรไทยน้อย อักษรไทยใหญ่ อักษรขอม จนสามารถ
อ่านออกเขียนได้ด้วยระยะเวลาอันรวดเร็ว เพราะท่านมีความจำดีและมีความขยันหมั่นเพียร
- เป็นพระนักปฏิบัติธรรมที่แท้จริงท่านได้เดินธุดงค์ไปในที่ต่างๆ ทั่วภาคอีสานของไทยและไปถึงดินแดน
ลาวจนถึงหลวงพระบาง
- มีลูกศิษย์เข้าศึกษาและปฏิบัติธรรม กับท่านเป็นจำนวนมาก
- คำสอนของท่านยังได้รับการพิมพ์ เผยแพร่และเป็นแบบอย่างของการฝึกจิตและเจริญปัญญามา จนถึง
ปัจจุบัน
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v สุชีพ ปุญญานุภาพ
- เมื่อครั้งยังบวชอยู่นั้น ท่านเป็นพระนักเทศน์ที่มีชื่อเสียง และเมื่อลาสิกขามาเป็นอาจารย์สอนที่
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
- ท่านเผยแผ่หลักธรรมทางนวนิยาย
- ท่านก่อตั้งและส่งเสริมโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย
- ท่านแต่งหนังสือซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาจำนวนมาก เช่น เชิงผาหิมพานต์ กองทัพธรรม ใต้
ร่มกาสาวพัสตร์ เป็นต้น
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
- เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถ ทรงทำนุบำรุงกรุงศรีอยุธยาให้มีความเจริญรุ่งเรืองทุกด้าน
- ฝรั่งเศสได้ส่งบาทหลวงเข้ามาเผยแผ่คริสต์ศาสนา และมีการทูลขอพระองค์ให้ทรงนับถือคริสต์ศาสนา
- พระองค์ก็ทรงสามารถโต้ตอบด้วยวิธีการที่นุ่มนวล ในทำนองว่า “ถ้าคริสต์ศาสนาเป็นศาสนาที่มีหลักการ
ดีแล้ว สักวันหนึ่งพระองค์คงจะเข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนาก็ได้”
- ได้ประกาศแก่ราษฎรว่าถ้าผู้ใดมีความเลื่อมใสจะเข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนาก็ได้
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 53
v พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)
- เกิดที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- เมื่อมีอายุครบ 20 ปี ได้อุปสมบทที่วัดโพธาราม อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- ท่านมักเทศน์ให้ประชาชนฟัง ทุกคืนโดยใช้ภาษาง่ายๆ ทำให้ชาวบ้านชอบใจ
- ท่านก็สามารถสอบได้นักธรรมชั้นเอก เป็นครูสอน นักธรรมอยู่ที่วัดพระบรมธาตุไชยา
- ท่านได้เดินทางเข้ากรุงเทพเพื่อเรียนบาลี โดย พักอยู่ที่วัดปทุมคงคา จนสอบเปรียญธรรม ๓ ประโยค
ได้ จึงกลับไปไชยาพักอยู่ที่วัดใหม่พุมเรียง เพื่อปฏิบัติธรรม
- ท่านเดินทางไปปฏิบัติธรรมที่วดั พังจิก หรือวัดตระพังจิกซึ่งเป็นวัดร้าง
- ได้จัดตั้งสำนักศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติธรรมขึ้น ซึ่งในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สวนโมกขพลาราม
- ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา และมีวิธีการแสดงธรรมทั้งทางด้านปรัชญาและ
จริยธรรมเป็นที่ประทับใจ
- ท่านเขียนหนังสือธรรมะซึ่งเป็นที่ยอมรับในวงการพระพุทธศาสนาอีกเป็นจำนวนมาก เช่น ตายเสีย ก่อน
ตาย ทำงานด้วยจิตว่าง คู่มือมนุษย์ และตัวกู ของกู
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)
- เกิดที่จังหวัดพัทลุง
- หลังจากอุปสมบทได้ไม่นาน ท่านได้เดินทางไปศึกษาธรรมที่วัดมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- สอบได้นักธรรมโท เอก และเปรียญธรรม ๔ ประโยค โดยเริ่มแสดงธรรมะในพื้นที่ต่างๆ ของภาคใต้
- เป็นสหายธรรมกับพระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) ดำเนินการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
- เคยไปจำพรรษาที่วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ท่านได้แสดงธรรมในทุกวันอาทิตย์และวันพระที่พุทธนิคม
จังหวัดเชียงใหม่ ทำให้ประชาชนทั่วไปเกิดความศรัทธา
- ท่านได้เริ่มเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเทศนาแบบดั้งเดิมที่นั่งเทศนาบนธรรมาสน์เป็นการยืนพูดปาฐกถา
ธรรม แบบพูดปากเปล่าต่อสาธารณชน
- ใช้ถ้อยคำที่ง่ายในการแสดงธรรมพร้อมกับยกตัวอย่างเหตุผล และเหตุการณ์ต่างๆ เป็นการดึงดูดความ
สนใจแก่คนฟัง
- เป็นเจ้าอาวาสวัดพุทธธรรม วัดไทยในนครชิคาโกประเทศสหรัฐอเมริกา
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v ดร.ภิมจิ รามจิ เอ็มเบดการ์
- เกิดในวรรณะศูทรที่ยากจนในประเทศอินเดีย
- แม้ยากจน แต่บิดาก็ส่งเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเรียนเขาต้องใช้ความอดทนจากการดูถูก
เหยียดหยามจากเพื่อนด้วยกัน

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 54
- บิดาพยายามส่งเขาเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา
- ครูคนหนึ่งเห็นว่าเขาเป็นเด็กนิสัยดีและมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด จึงให้เขาใช้นามสกุลของครูทำให้คน
ทั่วไปคิดว่า เขาเป็นคนในตระกูลพราหมณ์ จึงไม่เป็นที่รังเกียจของคนทั่วไป
- มีโอกาสได้รับทุนเรียนต่อจนจบปริญญาเอก เขาเดินทางกลับอินเดียและพยายามหาทางต่อสู้เพื่อคน
วรรณะเดียวกัน
- เขาสมัครเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัยซิดนาหัมในมุมไบ
- ท่านมีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้นำชาวพุทธในวรรณะศูทรกว่า 5 แสนคน ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ
- ท่านได้ทำงานฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในอินเดียโดยเฉพาะในหมู่ชนชั้นล่าง จึงได้มีศูทรและจัณฑาลเปลี่ยน
มานับถือพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก
- ท่านผลักดันให้เกิดวิทยาลัยสิทธัตถะ วิทยาลัยในเครือของมหาวิทยาลัยบอมเบย์ และได้ตั้งมิลินท
วิทยาลัยขึ้นที่เมืองออรังกาบาดด้วย
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อทรงมีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา
- มีโอกาสเสด็จประพาสต่างประเทศที่เจริญแล้ว ทำให้พระองค์ได้แนวคิดมาพัฒนาประเทศไทย
- ในรัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงทีป่ ระเทศมหาอำนาจตะวันตกต่างพากันออกล่าอาณานิคมอย่าง
กว้างขวาง
- พัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองทั้งในด้านพระพุทธศาสนา การศึกษา สังคมและ วัฒนธรรม
- พระองค์ที่ดำเนินนโยบายผ่อนปรนสละส่วนน้อยเพื่อส่วนใหญ่ จึงต้องยอมเสียดินแดนบางส่วนให้ฝรั่งเศส
และอังกฤษเพื่อรักษาเอกราชของชาติ
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
- บวชเมื่ออายุ 21 ปีที่วัดก่อใน จังหวัดอุบลราชธานี
- ท่านได้ไปจำพรรษาที่วัดก่อนอก ได้ศึกษาปริยัติธรรมและสอบ นักธรรมชั้นโทและบาลไวยากรณ์ได้
- ท่านตั้งใจจะสอบนักธรรมเอก แต่โยมพ่อป่วยหนักจึงตัดสินใจไปเยี่ยมโยมพ่อ เฝ้าดูแลอาการ ป่วยได้
เพียง 13 วัน โยมพ่อก็ถึงแก่กรรม
- ท่านได้เรียนแปลธรรมบทและแปลหนังสือธรรมบทจบไปหลายเล่ม และท่านก็หันมาสนใจในการปฏิบัติ
ธรรมมากขึ้น
- ท่านได้มีโอกาสตอบแทนพระคุณครูอาจารย์ โดยช่วยสอนนักธรรมให้แก่ภิกษุสามเณร
- ท่านได้จาริกธุดงค์จากจังหวัดอุบลราชธานีไปสู่ภาคกลางยังจังหวัดต่างๆ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 55
- ท่านได้ธุดงค์รอนแรมไปเรื่อยๆ เพื่อหาที่เงียบสงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม จนพบป่าหนาทึบแห่งหนึ่ง
ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า ดงหนองป่าพง จึงเห็นว่าเป็นทำเลดี เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม จึงได้จัดตั้งสำนักสงฆ์
ขึ้น มีชื่อว่า วัดหนองป่าพง
- วิธีการแสดงธรรมของท่านนั้นง่าย แต่ได้ใจความลึกซึ้ง จึงเป็นที่ศรัทธาแก่บุคคล ทั่วไป รวมทั้งมีชาว
ต่างประเทศด้วย
- มีการจัดตัง้ วัดป่านานาชาติขึ้นใน พ.ศ. 2518
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)
- บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 13 ปี ที่จังหวัดสุพรรณบุรี
- ท่านสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคเมื่อครั้งยังเป็นสามเณร
- ต่อมาสอบได้ปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิตเกียรตินิยม อันดับ 1 จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย และสอบได้ประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.)
- สร้างความก้าวหน้าให้แก่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยทั้งด้านบริหาร และวิชาการเป็น
อย่างมาก
- เป็นผู้นำในการพัฒนาหลักสูตรที่เน้นบทบาทและภาระสังคมที่เพิ่มขึ้นของคณะสงฆ์
- ได้รับการอาราธนาไปสอนธรรมะในมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศหลายแห่ง
- เป็นพระสงฆ์ไทยที่ได้รับการอาราธนาไปแสดงปาฐกถาในที่ประชุมนานาชาติซึ่งจัดขึ้นในประเทศไทย
หลายครั้ง
- ได้รับนิมนต์เป็นที่ปรึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดล ในการสร้างพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์สำเร็จ
สมบรูณ์เป็นฉบับแรกของโลก
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________
v อนาคาริก ธรรมปาละ
- บิดาเป็นชาวพุทธ มีอาชีพทำการเกษตรใน เมืองมาตะระ ทางตอนใต้ของศรีลังกา
- ในวัยเด็ก ได้รับการอบรมจากพ่อแม่ให้ อยู่ในศีลธรรม สอนให้มีความศรัทธาต่อพระรัตนตรัยใน
พระพุทธศาสนา
- สังคมรอบข้างและครูอาจารย์ที่โรงเรียนมักพูดดูหมิ่นพระพุทธศาสนาและพูดจาโน้มน้าวให้หันมานับถือ
คริสต์ศาสนา
- แต่ท่านก็ยังมั่นคงในพระพุทธศาสนาเช่นเดิม
- ท่านร่วมงานกับสมาคมธีออสโซฟี ทำให้ได้มีโอกาสศึกษาพระพุทธศาสนาและภาษาบาลีเพิ่มมากขึ้น
- ท่านเดินทางไปอินเดียเพื่อนมัสการพุทธสถานและสังเวชนียสถาน และสุดท้ายท่านได้มาอุทิศตนในการ
ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่พุทธคยาตลอดชีวิต

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 56
- คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ___________________________________
_________________________________________________________

Ø พุทธชาดก คือ เรื่องราวในอดีตชาติของพระพุทธเจ้า (โดยเฉพาะ 10 ชาติสุดท้ายที่ยิ่งใหญ่ เรียกว่า ทศชาติ) เช่น


vมหาชนกชาดก บำเพ็ญ_______บารมี (ความพยายาม)
v มโหสถชาดก บำเพ็ญ_______บารมี (ความฉลาดรอบรู้)
v เวสสันดรชาดก บำเพ็ญ_______บารมี (ความเสียสละ)
7. พุทธศาสนสุภาษิต
v จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ___________________________________________
v นอุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ _____________________________________
v นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต__________________________________________
v โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ__________________________________________
v ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺฐาตา วินฺทเต ธนํ_________________________________
v วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา_________________________________
v สนฺตฎฺฐี ปรมํ ธนํ____________________________________________
v อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก__________________________________________
v ราชา มุขํ มนุสฺสานํ___________________________________________
v สติ โลกสฺมิ ชาคโร___________________________________________
v นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ____________________________________________
v นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ____________________________________________
8. วันสำคัญทางศาสนา
Ø วันมาฆบูชา (ขึ้น ___ ค่ำ เดือน ___ )
- เรียกว่า วันพระธรรม
- เป็นวันที่พระพุทธเจ้าแสดง______________________ (ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำ
จิตใจให้สงบ)
- เป็นวันจาตุรงคสันนิบาต แปลว่า การประชุมด้วยองค์ 4
1) พระสงฆ์ 1,250 รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย
2) ทุกรูปล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระพุทธเจ้าผนวชให้)
3) ทุกรูปล้วนเป็นพระอรหันต์
4) เป็นวันที่ดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์
- หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ___________________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 57
Ø วันวิสาขบูชา (ขึ้น ___ ค่ำ เดือน ___ )
- เรียกว่า วันพระพุทธ
- เป็นวันคล้ายวันทีพ่ ระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน
- เป็นวันสำคัญสากลของสหประชาชาติ เรียกว่า Vesak Day
- พระพุทธเจ้าทรงบรรลุอริยสัจ 4
- หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1)_________ 2) __________ 3) ___________
Ø วันอัฏฐมีบูชา (แรม __ ค่ำ เดือน ___ )
- เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ
- หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1) _________ 2)___________ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
Ø วันอาสาฬหบูชา (ขึ้น ___ ค่ำ เดือน ___ )
- เรียกว่า วันพระสงฆ์
- เป็นวันที่พระพุทธเจ้าแสดง ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
- เป็นวันที่มีพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา
- พระรัตนตรัยจึงครบ 3 ประการ เรียกว่า ดวงแก้ว 3 ประการ
- หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
1) ทางสุดโต่ง 2 ทางที่ควรละเว้น คือ การ______________ และ
การ______________
2) ทางสายกลาง คือ ______________________
Ø วันเข้าพรรษา (แรม ___ ค่ำ เดือน ___ )
- พระสงฆ์ต้องจำพรรษาที่วัด 3 เดือน
- มีการถวายผ้าอาบน้ำฝน เรียกว่า ผ้าวัสสิกสาฎก
Ø วันออกพรรษา (ขึ้น ___ ค่ำ เดือน ___)
- เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัน___________ คือ วันที่เปิดโอกาสให้พระสงฆ์ตักเตือนซึ่งกันและกัน
- วันสิ้นสุดการจำพรรษาที่วัดของพระสงฆ์
- ภายหลังวันออกพรรษาจะมีการทอดกฐิน
Ø วันเทโวโรหณะ (แรม __ ค่ำ เดือน ___ )
- หลังวันออกพรรษา 1 วัน
- มีการตักบาตรเทโวโรหณะ เรียกสั้น ๆ ว่า ตักบาตรเทโว
- มีความเชื่อว่าเป็น “วันเปิดโลก” เทวดา มนุษย์และสัตว์นรก ต่างมองเห็นซึ่งกันและกัน
Ø วันธรรมสวนะ (วันพระ) (ขึ้น 8 ค่ำ, ขึ้น 15 ค่ำ, แรม 8 ค่ำ, แรม 15 ค่ำ ของทุกเดือน) ประเพณีตักบาตรเทโว จ.อุทัยธานี
- หมายถึง วันฟังธรรม
- ทุกเดือนจะมีวันพระ 4 วัน
- หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ________

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 58
9. ศาสนพิธี
ศาสนพิธี แบ่งออกเป็น 4 หมวด ได้แก่
1) _____พิธี เป็นพิธีเฉพาะตัวบุคคล
เช่น พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ พิธีรักษาอุโบสถศีล สวดมนต์ไหว้พระ เวียนเทียน
2) _____พิธี เป็นพิธีเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน
เช่น พิธีทำบุญเลี้ยงพระใน งานมงคล(ขึ้นบ้านใหม่, แต่งงาน, ทำบุญวันเกิด) และงานอวมงคล(งานศพ,
ทำบุญกระดูก)
3) _____พิธี เป็นการถวายทานแด่พระภิกษุ
เช่น สังฆทาน(ถวายของโดยไม่เจาะจงผู้รับ) ปาฎิบุคลิกทาน(ถวายของโดยเจาะจงผู้รับ) ทอดกฐิน
ทอดผ้าป่า
4) _____พิธี เป็นพิธีเบ็ดเตล็ด
เช่น วิธีแสดงความเคารพพระ วิธีกรวดน้ำ พิธวี างศิลาฤกษ์
Ø พิธีกรรม - งานพิธี
- พิธีกรรม คือ พิธีในศาสนา
- งานพิธี คือ งานที่ต้องมีพิธีรีตอง อาจนำศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น งานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่
Ø การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือ การรับเอาพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง โดยการกล่าวคำปฏิญาณต่อหน้า
พระสงฆ์
- อาจจะทำเมื่อ 1) เด็กอายุ 12-15 ปี 2) ก่อนส่งบุตรหลานไปเรียนต่อเมืองนอก 3) คนต่างศาสนาจะเข้า
มานับถือศาสนาพุทธ 4) ต้องการทำซ้ำอีกครั้ง
Ø การบรรพชา (บวชเณร)
- การบวชเณร ใช้กับชายอายุ 7 ปีขึ้นไป
- การบวชเณรเป็นการบวชแบบ_________________________ (บวชโดยการรับพระ
รัตนตรัยเป็นที่พึ่ง สำเร็จได้ด้วยตนเอง) โดยการกล่าวปฏิญาณตนถึงพระรัตนตรัย
- ถือศีล 10 ได้แก่
1) เว้นจากฆ่าสัตว์ 2) เว้นจากลักทรัพย์
3) เว้นจากประพฤติล่วงพรหมจรรย์ 4) เว้นจากพูดเท็จ
5) เว้นจากดื่มสุราเมรัย 6) เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล(เที่ยงไปแล้ว)
7) เว้นจากฟ้อนรำขับร้องและการดูมหรสพ
8) เว้นจากตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ เครื่องทา เครื่องย้อมผัดผิว
9) เว้นจากที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่ 10) เว้นจาการรับเงินทอง
Ø การอุปสมบท
- ผู้ที่บวช (อุปสมบท) พระต้องบวชเณร (บรรพชา) มาก่อน
- บวชในโบสถ์(พระอุโบสถ) และมีสงฆ์บวชให้อย่างน้อย 5 รูป
- ถือศีล ____ ข้อ

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 59
v คุณสมบัติผู้อุปสมบท
1) ต้องเป็นมนุษย์ เป็นผู้ชาย ไม่ใช่กะเทย 2) มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
3) มีร่างกายสมประกอบ ไม่พิการ 4) ไม่เป็นโรคติดต่อ
5) มีอาชีพสุจริต ที่อยู่แน่นอน เป็นสุภาพชน 6) ได้รับอนุญาตจากบิดามารดา ผู้บังคับบัญชา ไม่มีหนี้
v อัฐบริขาร คือ เครื่องใช้จำเป็นสำหรับพระ 8 อย่าง (ผ้า4 เหล็ก3 น้ำ1) คือ
1) สบง 2) จีวร 3) สังฆาฏิ 4) ประคดเอว
5) บาตร 6) มีดโกน 7) เข็มเย็บผ้า 8) ธมกร(เครื่องกรองน้ำ)
v ขั้นตอนการอุปสมบท
1) พบพระอุปัชฌาย์เพื่อเตรียมพร้อม เตรียมตัวท่องจำคำขอบรรพชาอุปสมบท(คำขานนาค)
2) เตรียมอัฐบริขารและเครื่องใช้จำเป็นอื่น ๆ เช่น เสื่อ หมอน มุ้ง ผ้าห่ม
3) ก่อนบวช 15 วัน ให้นำดอกไม้ธูปเทียนแพไปลาบวชญาติพี่น้องและผู้ที่เคารพนับถือ
4) ก่อนบวช 1 วัน เรียกว่า วันสุกดิบ จะมีพิธ_ี _______ (สอนรู้จักบุญคุณพ่อแม่ ปฏิบัติตนเพื่อ
เป็นพระบางข้อ)
5) วันบวช ให้ปลงผม โกนคิ้ว หนวด เครา จากนั้นเปลี่ยนเครื่องแต่งกายนุ่งห่มขาว
6) วันบวช มีการแห่นาค รอบพระอุโบสถเวียนขวา ครบ 3 รอบ โดยก่อนเข้าโบสถ์นาคจะทำ
พิธี___________ คือ แสดงความเคารพต่อสถานที่ประชุมสงฆ์ (หลังจากนั้นนิยมโปรยทานด้วยเศษ
สตางค์ให้แก่คนทั่วไป)
7) เมื่อนาคเข้าไปในโบสถ์ บิดามารดาจะมอบผ้าไตรให้ นาคก้มกราบ 3 ครั้ง แล้วถวายแด่พระ
อุปัชฌาย์
8) กล่าวคำขอบรรพชา (บวชเณร) เพราะผู้ที่จะบวชเป็นพระ ต้องบวชเณรก่อน
9) กล่าวคำขอสรณคมณ์และขอสมาทานศีลเป็นสามเณร จากนั้นพระอุปัชฌาย์จะสวมสะพายบาตรให้
10) พระคู่สวดตรวจสอบสามเณรที่จะขออุปสมบทเป็นพระภิกษุว่ามีคุณสมบัติครบหรือไม่
11) พระคู่สวดจะไต่ถามคุณสมบัติต่าง ๆ ในที่ประชุมสงฆ์อีกครั้งหนึ่ง
12) เมื่อได้รับคำตอบว่าคุณสมบัติครบถ้วน พระคู่สวดเสนอญัตติต่อคณะสงฆ์ว่าจะรับบุคคลนี้เป็น
สมาชิกสงฆ์หรือไม่
13) พระคู่สวดเสนอญัตติ 1 ครั้ง จากนั้นถามสงฆ์อีก 3 ครั้ง ถ้าไม่มีพระรูปใดคัดค้าน ถือว่าเป็นภิกษุ
ทันที
- จึงเรียกการอุปสมบทว่า “____________________” (เสนอญัตติ 1 ครั้ง และ
ถาม 3 ครั้ง)

Ø พิธีถวายผ้าอาบน้ำฝน หรือ ผ้าวัสสิกสาฎก


- ริเริ่มถวายโดยนางวิสาขามหาอุบาสิกา เพราะพระเปลือยกายอายน้ำ
- เวลาในการถวาย คือแรม 1 ค่ำ เดือน 7 ถึง ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (1 เดือนก่อนเข้าพรรษา)
นิยมวันขึ้น15 ค่ำ เดือน8

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 60

ข้อพึงระวัง การถวายผ้าจำนำพรรษา หรือ วัสสาวาสิกสาฎก


- ถวายให้พระสงฆ์ทจี่ ำพรรษาครบสามเดือน แต่พิธีนี้ไม่ค่อยนิยมในไทย เพราะมีพิธีทอดกฐินแล้ว

Ø พิธีทอดกฐิน
- ทำได้ปีละครั้ง ตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 11 จนถึง ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (1 เดือนเต็มหลังวันออกพรรษา)
- มีจุดประสงค์เพื่อให้พระเปลี่ยนผ้าครองจีวรใหม่
- กฐิน แปลว่า ไม้สะดึง หรือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าเย็บจีวร
- สมัยโบราณ ชาวบ้านถวายผ้าให้พระ แล้วพระจะนำไปเย็บเอง
- การทอดกฐิน ต้องนำผ้ากฐินไปวางหน้าพระสงฆ์อย่างน้อย 5 รูป
- พระสงฆ์จะพิจารณาผ้าว่าจะให้พระรูปใดไปครอง เรียกว่า กรานกฐิน
ข้อสังเกต พิธีการถวายทานที่คล้ายคลึงพิธีทอดกฐิน คือ การทอดผ้าป่า
การทอดผ้าป่า เป็นการถวายโดยไม่เจาะจงพระภิกษุเหมือนกัน
แต่ต่างที่จำนวนครั้งและไม่มีการจำกัดเวลา แต่ละปีทางวัดจะจัดให้มีกี่ครั้งก็ได้

Ø การทำบุญ หรือ ทำบุญเลี้ยงพระ แบ่งเป็น 2 งาน คือ


1) งานมงคล นิมนต์พระจำนวนเลข___ ตั้งอาสนสงฆ์ทางด้านซ้ายมือของพระพุทธรูป วางด้าย
สายสิญจน์และตั้งบาตรน้ำมนต์ เริ่มพิธีด้วยการจุดธูปเทียน อาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร พระสงฆ์
เจริญพระพุทธมนต์ ตามลำดับ
2) งานอวมงคล นิมนต์พระจำนวนเลข___ พระสงฆ์ท่านจะ “สวดพระพุทธมนตร์” ไม่ต้องตั้งวงด้าย
สายสิญจน์และบาตรน้ำมนต์ แต่เตรียม “ภูษาโยงหรือสายโยง” ไปยังหน้าศพหรืออัฐิ
- หลังทำบุญเสร็จ พอพระสงฆ์เริ่มสวด “ยถา วารวหา...” ให้เริ่มกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศล
- พอบท “สพฺพีติโย...” พระท่านจะให้พรเรา
- หลังพระฉันเรียบร้อย ให้ลาข้าวพระพุทธ ใช้คำว่า “เสสํ มงฺคลา ยาจามิ”

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 61
Ø บทสวดมนต์ไหว้พระประจำวัน
v บทสวดนมัสการพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง
(ภะคะวะโต คือ พระกรุณาคุณ อะระหะโต คือ พระวิสุทธิคุณ สัมมาสัมพุทธัสสะ คือ พระปัญญาคุณ)
v บทสวดพระพุทธคุณ
อิติปิโส เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
อะระหัง เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน ผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
สุขโต เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู เป็นผู้รู้ทางโลกอย่างแจ่มแจ้ง
อนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
ภะคะวาติ เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์
v บทสวดพระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
สันทิฏฐิโก เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก ทำได้โดยให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน

v บทสวดพระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติรู้แล้ว
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติสมควรแล้ว
ยะทิทัง ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา
ปาหุเนยโย เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ
ทักขิเณยโย เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลีกะระณีโย เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี
อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 62
10. หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ
Ø หน้าที่ของชาวพุทธ
1) แสดงตนเป็นพุทธมามกะ
2) เข้าใจกิจของพระสงฆ์ และปฏิบัติต่อพระด้วยความเคารพและเต็มใจ
- พระสงฆ์มีหน้าที่ศึกษาอบรมทั้งด้าน ศีล(มีวินัย) สมาธิ(ช่วยขจัดนิวรณ์ 5) ปัญญา(ช่วยดับกิเลส)
3) รักษาอุโบสถศีล ในวันพระ โดยถือศีลเพิ่มอีก 3 ข้อ คือ
- เว้นจากการบริโภคอาหารเวลาเที่ยง
- เว้นจากการฟ้อนรำ ขับร้อง ดูการละเล่น ทัดดอกไม้ เครื่องลูบไล้
- เว้นจากการนอนบนที่นอนสูง
4) ทำบุญ ให้ทาน
5) บรรพชาอุปสมบท
6) ศึกษาพุทธศาสนา หลักธรรมคำสอน
7) มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
- ให้เกียรติศาสนาของตน ปฏิบัติตามหลักคำสอน และไม่ลบหลู่ศาสนาอื่น
- เข้าร่วมพิธีกรรมต่าง ๆ ของศาสนา
- เข้าค่ายคุณธรรม
Ø มารยาทของชาวพุทธ
v การแสดงความเคารพ
การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
- ใช้การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ (หน้าผาก 1 มือ 2 เข่า 2) 3 ครั้ง
มีจังหวะ คือ อัญชลี (ประนมมือ) à วันทา (ไหว้) à อภิวาท (กราบ)
การแสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน ใช้การไหว้
การแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคล
- เมื่อท่านยืน ใช้วิธีการไหว้
- เมื่อท่านนั่ง ใช้วิธีการกราบครั้งเดียว ไม่แบมือ
v การปฏิบัติต่อพระรัตนตรัยด้วยความเคารพ
1) กราบพระพุทธรูปก่อนพระสงฆ์
- กราบพระและศพพระ ต้องกราบ ___ ครั้ง
2) ถ้าเรานั่งอยู่กับพื้น พระสงฆ์เดินมาไม่ต้องลุกขึ้นยืน แต่เมื่อท่านเดินผ่านมา ควรยกมือไหว้หรือกราบ
ถ้าเรานั่งบนเก้าอี้ พระสงฆ์เดินมาควรลุกขึ้นยืน พนมมือ จนกว่าท่านจะนั่งเรียบร้อย
3) การให้ที่นั่งเก้าอี้แก่พระสงฆ์
- ควรให้พระนั่งแถวหน้า
- แต่ถ้านั่งพื้นด้วยกัน ควรเตรียม “อาสนะสงฆ์” มาปูให้ท่านอีกชั้นหนึ่ง

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย


เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส31101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.4 63
- ถ้านั่งแถวเดียวกับพระ ควรนั่งทางด้านซ้ายของท่านเสมอ แต่ถ้าเป็นผู้หญิงต้องมีผู้ชายมานั่ง
คั่นกลาง
4) ตามหลักสากล เวลาเจอกับพระ ต้องเดินหลีกไปทางซ้ายของพระ (พร้อมน้อมตัวยกมือไหว้)
5) ใช้ศัพท์กับพระให้ถูกต้อง เช่น นิมนต์(เชิญ)
6) การตักบาตร ควรถอดรองเท้าก่อนตักบาตร และไม่ควรถามท่านว่าชอบไหม
7) เวลาประเคนของต้องอยู่ห่างจากพระประมาณ 1 ศอก (ผู้ชายประเคนด้วยมือ ผู้หญิงนำของวางบนผ้า)

11. การบริหารจิตและเจริญปัญญา
Ø การบริหารจิต (การฝึกสมาธิ, สมถกรรมฐาน)
- การฝึกสมาธิจะทำให้เราคิดเรื่องเดียว ไม่ฟุ้งซ่าน
- จุดมุ่งหมายของการฝึกสมาธิในทางศาสนา คือ เพื่อกำจัด__________ ได้แก่
1) กามฉันทะ (ใคร่ในกาม) 2) พยาบาท (โกรธ) 3) ถีนมิทธะ (ง่วง)
4) อุทธัจจกุกกุจจะ (ฟุ้งซ่าน) 5) วิจิกิจฉา (ลังเลสงสัย)
- ระดับของสมาธิ มี 3 ระดับ ได้แก่
1) ขณิกสมาธิ สมาธิชั่วขณะ
2) อุปจารสมาธิ สมาธิเกือบจะแน่วแน่
3) อัปปนาสมาธิ สมาธิแน่วแน่
v วิธีฝึกสมาธิด้วยวิธี “สติปัฏฐาน”
สติปัฏฐาน เป็นการใช้ สติ พิจารณา 4 เรื่อง ต่อไปนี้
1) ________นุปัสสนา พิจารณากาย โดย
- พิจารณาลมหายใจ - พิจารณาอิริยาบถ
- พิจารณาความเคลื่อนไหว - พิจารณาร่างกายให้เห็นความไม่สะอาด
- พิจารณาร่างกายโดยแยกออกเป็นส่วน ๆ
2) ________นุปัสสนา พิจารณาความรู้สึกให้เท่าทันมัน เช่น เจ็บหนอ เมื่อยหนอ
3) ________นุปัสสนา พิจารณาจิต เช่น โกรธหนอ ชอบหนอ
4) ________นุปัสสนา พิจารณาธรรมะ เช่น นิวรณ์ ขันธ์ อริยสัจ
Ø การเจริญปัญญา
- ฝึกด้วย “วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 10” ซึ่งเป็นกระบวนการคิดอย่างละเอียดลึกซึ้ง อย่างถูกวิธี มีเหตุผล

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย

You might also like