You are on page 1of 37

รายละเอียดหลักสูตรรายวิชา

20102-2006 กลศาสตร์เครื่องมือกล 2-0-2


(Machine Tool Mechanics)

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจหลักกลศาสตร์ การได้เปรี ยบเชิงกลทางกายภาพ แรง โมเมนต์ ความเร็ว ความเร่ง
จุดศูนย์ถ่วง ความเสียดทาน
2. คํานวณและประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์เบื้องต้น
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดี รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา

สมรรถนะรายวิชา
แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการ การคํานวณ และ ประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์เบื้องต้น

คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกีย่ วกับหลักกลศาสตร์ การได้เปรียบเชิงกลทางกายภาพ ของ คานดีด คานงัด พื้นเอียง ลิ่ม
ล้อ เพลา รอก แรง การรวมและแยกแรง โมเมนต์ ความเร็ว ความเร่ง จุดศูนย์ถ่วงความเสียดทาน คํานวณ
และประยุกต์ใช้ หลักกลศาสตร์เบื้องต้นเกี่ยวกบออกแบบชิ้นส่วนในงานเครื่องมือกล
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรายวิชา

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรายวิชา
ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา ช่างซ๋อมบำรุงอุตสาหกรรม หน่วยกิต 2
รหัสวิชา 20102-2006 ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล ชั่วโมง/สัปดาห์ 2
ลำดับที่ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ รวม
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ จิตพิสยั (ชม)
ปฐมนิเทศการเรียนการสอนรายวิชา 2 - - 2
1 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ 1.5 - 0.5 2
2 ระบบแรง 4.5 - 1.5 6
3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ 3 - 1 4
4 สมดุล 7.5 - 2.5 10
5 การประยุกต์ใช้กลศาสตร์ 4.5 - 1.5 6
6 จุดศูนย์ถ่วง 1.5 - 0.5 2
7 แรงเสียดทาน 1.5 - 0.5 2
8 ความเร็วและความเร่ง 1.5 - 0.5 2
สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - - - -
รวม 27.5 - 8.5 36
การวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา
ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา ช่างซ๋อมบำรุงอุตสาหกรรม หน่วยกิต 2
รหัสวิชา 20102-2006 ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล ชั่วโมง/สัปดาห์ 2
ลำดับ แหล่งข้อมูล
ชื่อหน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้ หมายเหตุ
ที่ ก ข ค ง จ ฉ
1 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์
1.1 คำจำกัดความของกลศาสตร์ / / /
1.2 ปริมาณทางกลศาสตร์ / / /
1.3 ปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์ / / /
1.4 หน่วยพื้นฐานทางกลศาสตร์ / / /
1.5 กฎพื้นฐานทางกลศาสตร์ / / /
1.6 ความแม่นยำในการปัดเศษ / / /
2 ระบบแรง
2.1 คุณลักษณะของแรง / / /
2.2 ชนิดของแรง / / /
2.3 ระบบของแรง / / /
2.4 การหาแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ / / /
ด้วยวิธีกราฟฟิก
2.5 การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสอง / / /
แรงกระทำเป็นมุมต่อกัน
2.6 การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่แรง / / /
กระทำเป็นมุมกับแนวแกนอ้างอิง
3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ
3.1 คำจำกัดความของโมเมนต์ / / /
3.2 ชนิดของโมเมนต์ของแรง / / /
3.3 ทฤษฎีโมเมนต์หรือทฤษฎีวารียอง / / /
3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ (ต่อ)
3.4 การรวมโมเมนต์ของแรง / / /
3.5 คำจำกัดความของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ / / /
3.6 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ / / /
3.7 การรวมโมเมนต์ของแรงคู่ควบ / / /
4 สมดุล
4.1 ความหมายของสมดุล / / /
4.2 เงื่อนไขการสมดุล / / /
4.3 การเขียนผังวัตถุอิสระ / / /
4.4 แรงปฏิกิริยาที่จุดยึด / / /
4.5 ลักษณะสมดุลในระบบ 2 มิติ / / /
4.6 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน / / /
4.7 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงพบกันที่จุดเดียว / / /
4.8 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงขนานกัน / / /
4.9 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีระบบแรงทั่วไป / / /
5 การประยุกต์ใช้กลศาสตร์
5.1 ความสำคัญของการประยุกต์ใช้กลศาสตร์ / / /
5.2 คาน / / /
5.3 พื้นเอียง / / /
5.4 ลิ่ม / / /
5.5 รอก / / /
5.6 ล้อและเพลา / / /
5.7 สกรู / / /
5.8 ความได้เปรียบเชิงกล / / /
5.9 การประยุกต์ใช้กลศาสตร์ในการออกแบบชิ้นส่วนใน / / /
งานเครื่องมือกล
6 จุดศูนย์ถ่วง
6.1 คำจำกัดความของจุดศูนย์ถ่วง / / /
6.2 จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่มาตรฐาน / / /
6.3 จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสม / / /
7 แรงเสียดทาน
7.1 นิยามของแรงเสียดทาน / / /
7.2 ประเภทของแรงเสียดทาน / / /
7.3 คุณสมบัติของแรงเสียดทาน / / /
7.4 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน / / /
7.5 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระดับ / / /
7.6 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระนาบเอียง / / /
8 ความเร็วและความเร่ง
8.1 ความเร็ว / / /
8.2 ความเร่ง / / /

แหล่งที่มาของข้อมูล
ก. สิ่งที่กำหนดในรายวิชา
ข. ประสบการณ์ของตนเอง
ค. สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ
ง. จากตำราหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
จ. จากการดูงานจากสถานประกอบการ
ฉ. อื่นๆ.....อินเตอร์เน็ต......................
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้รายวิชา

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้รายวิชา
ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา ช่างซ๋อมบำรุงอุตสาหกรรม หน่วยกิต 2
รหัสวิชา 20102-2006 ชือ่ วิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล ชั่วโมง/สัปดาห์ 2
ลำดับ
สาระการเรียนรู้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ที่
1 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์
1.1 คำจำกัดความของกลศาสตร์ 1. บอกความหมายของกลศาสตร์ได้
2. บอกความแตกต่างระหว่างสถิตยศาสตร์และ
พลศาสตร์ได้
3. บอกความหมายของปริมาณทางกลศาสตร์ได้
1.2 ปริมาณทางกลศาสตร์ 4. จำแนกปริมาณทางกลศาสตร์ได้
1.3 ปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์ 5. จำแนกปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์ได้
1.4 หน่วยพื้นฐานทางกลศาสตร์ 6. เขียนหน่วยและสัญลักษณ์พื้นฐานทาง
กลศาสตร์ได้
7. เลือกใช้คำนำหน้าหน่วยได้
8. บอกกฎในการใช้หน่วยได้
1.5 กฎพื้นฐานทางกลศาสตร์ 9. หาแรงกระทำต่อวัตถุที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้
10. หาน้ำหนักของวัตถุได้
1.6 ความแม่นยำในการปัดเศษ 11. ปัดเศษได้ถูกต้อง
2 ระบบแรง
2.1 คุณลักษณะของแรง 1. อธิบายถึงคุณลักษณะของแรงได้
2.2 ชนิดของแรง 2. บอกชนิดของแรงได้
2.3 ระบบของแรง 3. จำแนกระบบของแรงได้
2.4 การหาแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ 4. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงใน
ด้วยวิธีกราฟฟิก ระบบ 2 มิติ ด้วยวิธีกราฟิกได้
2.5 การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่ 5. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงใน
แรงสองแรงกระทำเป็นมุมต่อกัน ระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสองแรงกระทำเป็นมุมต่อ
กันน้อยกว่า 90๐ ได้
6. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงใน
ระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสองแรงกระทำเป็นมุม
ต่อกันมากกว่า 90๐ ได้
2.6 การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่ 7. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ในระบบ 2
แรงกระทำเป็นมุมกับแนวแกนอ้างอิง มิติ กรณีที่แรงกระทำเป็นมุมกับแนวแกนอ้างอิง
ได้
3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ
3.1 คำจำกัดความของโมเมนต์ 1. บอกความหมายของโมเมนต์ได้
3.2 ชนิดของโมเมนต์ของแรง 2. บอกชนิดของโมเมนต์ได้
3.3 ทฤษฎีโมเมนต์หรือทฤษฎีวารียอง 3. หาขนาดของโมเมนต์ 2 มิติ ตามทฤษฎีวารี
ยองได้
3.4 การรวมโมเมนต์ของแรง 4. หาขนาดของโมเมนต์ 2 มิติ ตามทฤษฎีการ
รวมโมเมนต์ได้
3.5 คำจำกัดความของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 5. บอกความหมายของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2
มิติได้
3.6 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ 6. หาขนาดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2 มิติได้
3.7 การรวมโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 7. หาขนาดผลรวมโมเมนต์แรงคู่ควบ 2 มิติได้
4 สมดุล
4.1 ความหมายของสมดุล 1. อธิบายความหมายของสมดุลได้
4.2 เงื่อนไขการสมดุล 2. บอกเงื่อนไขของการสมดุลได้
4.3 การเขียนผังวัตถุอิสระ 3. เขียนผังวัตถุอิสระได้อย่างถูกต้อง
4.4 แรงปฏิกิริยาที่จุดยึด 4. อธิบายลักษณะของแรงปฏิกิริยาที่จุดยึดได้
4.5 ลักษณะสมดุลในระบบ 2 มิติ
4.6 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่อยู่ในแนวเส้นตรง 5. คำนวณหาแรงในระบบ 2 มิติ ในลักษณะ
เดียวกัน ต่าง ๆภายใต้สภาวะสมดุลได้อย่างถูกต้อง
4.7 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงพบกันที่
จุดเดียว
4.8 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงขนานกัน
4.9 สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีระบบแรงทั่วไป
5 การประยุกต์ใช้กลศาสตร์
5.1 ความสำคัญของการประยุกต์ใช้กลศาสตร์ 1. อธิบายหลักการทำงานของรอก คาน พื้น เอียง
ล้อ-เพลา ลิ่ม และสกรู ได้
5.2 คาน 2. อธิบายความหมายของโมเมนต์ ตลอดจนนำ
หลักการของโมเมนต์ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวันได้
5.3 พื้นเอียง 3. คำนวณหาปริมาณพื้นเอียงได้
5.4 ลิ่ม 4. คำนวณหาปริมาณลิ่มได้
5.5 รอก 5. คำนวณหาปริมาณรอกได้
5.6 ล้อและเพลา 6. คำนวณหาปริมาณล้อและเพลาได้
5.7 สกรู 7. คำนวณหาปริมาณสกรูได้
5.8 ความได้เปรียบเชิงกล 8. คำนวณหาความได้เปรียบเชิงกลของเครื่อง
ผ่อนแรงได้
5.9 การประยุกต์ใช้กลศาสตร์ในการออกแบบ 9. คำนวณและประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์ในการ
ชิ้นส่วนในงานเครื่องมือกล ออกแบบชิ้นส่วนในงานเครื่องมือกลได้
6 จุดศูนย์ถ่วง
6.1 คำจำกัดความของจุดศูนย์ถ่วง 1. อธิบายความหมายของจุดศูนย์ถ่วงได้
6.2 จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่มาตรฐาน 2. คำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรง
มาตรฐานได้
6.3 จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสม 3. คำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสมได้
7 แรงเสียดทาน
7.1 นิยามของแรงเสียดทาน 1. อธิบายความหมายของแรงเสียดทานได้
7.2 ประเภทของแรงเสียดทาน 2. จำแนกประเภทของแรงเสียดทานได้
7.3 คุณสมบัติของแรงเสียดทาน 3. บอกคุณสมบัติของแรงเสียดทานได้
7.4 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 4. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานได้
7.5 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระดับ 5. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานใน
แนวระดับได้
7.6 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระนาบ 6. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานใน
เอียง แนวระนาบเอียงได้
8 ความเร็วและความเร่ง
8.1 ความเร็ว 1. อธิบายความหมายของความเร็วได้
2. คำนวณหาความเร็วเชิงเส้นได้
3. คำนวณหาความเร็วเชิงมุมได้
8.2 ความเร่ง 4. อธิบายความหมายของความเร่งได้
5. คำนวณหาความเร่งเชิงเส้นได้
6. คำนวณหาความเร่งเชิงมุมได้
การวิเคราะห์วัตถุประสงค์การสอน

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรูร้ ายวิชา
ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา ช่างซ๋อมบำรุงอุตสาหกรรม หน่วยกิต 2
รหัสวิชา 20102-2006 ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล ชั่วโมง/สัปดาห์ 2
ลำดับ พฤติกรรมการเรียนรู้ที่พึงประสงค์
ชื่อหน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้
ที่ R U Ap An E C
1 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์
1. บอกความหมายของกลศาสตร์ได้ I
2. บอกความแตกต่างระหว่างสถิตยศาสตร์และพลศาสตร์ได้ I
3. บอกความหมายของปริมาณทางกลศาสตร์ได้ I
4. จำแนกปริมาณทางกลศาสตร์ได้ I
5. จำแนกปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์ได้ X
6. เขียนหน่วยและสัญลักษณ์พื้นฐานทางกลศาสตร์ได้ X
7. เลือกใช้คำนำหน้าหน่วยได้ X
8. บอกกฎในการใช้หน่วยได้ X
9. หาแรงกระทำต่อวัตถุที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ I
10. หาน้ำหนักของวัตถุได้ X
11. ปัดเศษได้ถูกต้อง I
2 ระบบแรง
1. อธิบายถึงคุณลักษณะของแรงได้ I
2. บอกชนิดของแรงได้ I
3. จำแนกระบบของแรงได้ I
4. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ I
ด้วยวิธีกราฟิกได้
5. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ I
กรณีที่แรงสองแรงกระทำเป็นมุมต่อกันน้อยกว่า 90๐ ได้
6. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ I
กรณีที่แรงสองแรงกระทำเป็นมุมต่อกันมากกว่า 90๐ ได้
7. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ในระบบ 2 มิติ กรณีที่ X
แรงกระทำเป็นมุมกับแนวแกนอ้างอิงได้
3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ
1. บอกความหมายของโมเมนต์ได้ X
2. บอกชนิดของโมเมนต์ได้ I
3. หาขนาดของโมเมนต์ 2 มิติ ตามทฤษฎีวารียองได้ X
4. หาขนาดของโมเมนต์ 2 มิติ ตามทฤษฎีรวมโมเมนต์ได้ X
5. บอกความหมายของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2 มิติได้ X
6. หาขนาดของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2 มิติได้ X
7. หาขนาดของผลรวมโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2 มิติได้ X
4 สมดุล
1. อธิบายความหมายของสมดุลได้ I
2. บอกเงื่อนไขของการสมดุลได้ I
3. เขียนผังวัตถุอิสระได้อย่างถูกต้อง X
4. อธิบายลักษณะของแรงปฏิกิริยาที่จุดยึดได้ I
5. คำนวณหาแรงในระบบ 2 มิติ ในลักษณะต่าง ๆภายใต้ X
สภาวะสมดุลได้อย่างถูกต้อง
5 การประยุกต์ใช้กลศาสตร์
1. อธิบายหลักการทำงานของรอก คาน พื้นเอี ยง ล้อ-เพลา I
ลิ่ม และสกรู ได้
2. อธิบายความหมายของโมเมนต์ ตลอดจนนำหลักการของ I
โมเมนต์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
3. คำนวณหาปริมาณพื้นเอียงได้ X
4. คำนวณหาปริมาณลิ่มได้ X
5. คำนวณหาปริมาณรอกได้ X
6. คำนวณหาปริมาณล้อและเพลาได้ X
7. คำนวณหาปริมาณสกรูได้ X
8. คำนวณหาความได้เปรียบเชิงกลของเครื่องผ่อนแรงได้ X
9. คำนวณและประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์ในการออกแบบ X
ชิ้นส่วนในงานเครื่องมือกลได้
6 จุดศูนย์ถ่วง
1. อธิบายความหมายของจุดศูนย์ถ่วงได้ I
2. คำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงมาตรฐานได้ X
3. คำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสมได้ X
7 แรงเสียดทาน
1. อธิบายความหมายของแรงเสียดทานได้ I
2. จำแนกประเภทของแรงเสียดทานได้ I
3. บอกคุณสมบัติของแรงเสียดทานได้ I
4. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานได้ X
5. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานในแนว X
ระดับได้
6. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานในแนว X
ระนาบเอียงได้
8 ความเร็วและความเร่ง
1. อธิบายความหมายของความเร็วได้ I
2. คำนวณหาความเร็วเชิงเส้นได้ X
3. คำนวณหาความเร็วเชิงมุมได้ X
4. อธิบายความหมายของความเร่งได้ I
5. คำนวณหาความเร่งเชิงเส้นได้ X
6. คำนวณหาความเร่งเชิงมุมได้ X

หมายเหตุ : ความหมายของระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่พึงประสงค์
ความรู้ ทักษะ จิตพิสัย
R = จำ (Remembering) I = เลียนแบบ (Imitation) R = รับรู้ (Receiving)
U = เข้าใจ (Understanding) M = ทำตามแบบ (Manipulation) RS = ตอบสนอง (Responding)
Ap = ประยุกต์ใช้ (Applying) P = ทำอย่างถูกต้อง (Precision) V = รับเป็นค่านิยม (Valuing)
An = วิเคราะห์ (Analyzing) A = ทำอย่างต่อเนื่อง (Articulation) O = จัดระบบค่านิยม (Organization)
E = ประเมินค่า (Evaluating) N = ทำอย่างอัตโนมัติ C = ทำเป็นนิสัย (Characterization)
C = คิดสร้างสรรค์ (Creating) (Naturalization)
ระดับความสำคัญ : X : สำคัญมาก , I : สำคัญ , O : ไม่สำคัญ
โครงการสอนรายวิชา

โครงการสอนรายวิชา
ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา ช่างซ๋อมบำรุงอุตสาหกรรม หน่วยกิต 2
รหัสวิชา 20102-2006 ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล ชั่วโมง/สัปดาห์ 2
สอน สัปดาห์ จำนวน
บทที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ แบบฝึกหัด
ครั้งที่ ที่ ชั่วโมง
1 1 - ปฐมนิเทศการเรียนการสอนรายวิชา 2 -
2 2 1 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ 2 ข้อที่ 1.1-1.15
3 3 2 ระบบแรง (วิธีกราฟิก) 2 ข้อที่ 2.1-2.4
4 4 2 ระบบแรง (วิธีพีชคณิต) 2 ข้อที่ 2.5-2.11
5 5 2 ระบบแรง (วิธีพีชคณิต) ต่อ 2 ข้อที่ 2.12-2.22
6 6 3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ (โมเมนต์) 2 ข้อที่ 3.1-3.9
7 7 3 โมเมนต์และแรงคู่ควบ (แรงคู่ควบ) 2 ข้อที่ 3.10-3.15
8 8 4 สมดุล ( หลักการของสมดุล ) 2 ข้อที่ 4.1-4.4
9 9 4 สมดุล (ทฤษฏีของลามี) 2 ข้อที่ 4.5-4.6
10 10 4 สมดุล (ทฤษฏีแรงสมดุล) 2 ข้อที่ 4.7-4.9
11 11 4 สมดุล (แรงขนานกัน) 2 ข้อที่ 4.10-4.12
12 12 4 สมดุล (แรงทั่วไป) 2 ข้อที่ 4.13-4.16
13 13 5 การประยุกต์ใช้ฯ (คาน , พื้นเอียง , ลิ่ม) 2 ข้อที่ 5.1-5.6
14 14 5 การประยุกต์ใช้ฯ (รอก , ล้อและเพลา) 2 ข้อที่ 5.7-5.12
15 15 5 การประยุกต์ใช้ฯ (สกรู , ความได้เปรียบเชิงกล) 2 ข้อที่ 5.13-5.16
16 16 6 จุดศูนย์ถ่วง 2 ข้อที่ 6.1-6.5
17 17 7 แรงเสียดทาน 2 ข้อที่ 7.1-7.5
18 18 8 ความเร็วและความเร่ง 2 ข้อที่ 8.1-8.10
- - - วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - -
รวม 36 -
หมายเหตุ โครงการสอนนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเท่านั้น ระยะเวลาอาจมีการ
เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 1
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ สอนครั้งที่ 1-2
ชื่อเรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ จำนวน 4 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. คำจำกัดความของกลศาสตร์
2. ปริมาณทางกลศาสตร์
3. ปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์
4. หน่วยพื้นฐานทางกลศาสตร์
5. กฎพื้นฐานทางกลศาสตร์
6. ความแม่นยำในการปัดเศษ

สาระสำคัญ
กลศาสตร์ เป็นวิชาแขนงหนึ่งทางฟิสิกส์ที่ศึกษาเกี่ยวกับแรงกระทำของกับวัตถุและผลที่เกิดขึ้นแก่
วัตถุ นั้ น ภายหลั งที่ ถู กแรงมากระทำ แม้ ว่าหลั ก การของวิช ากลศาสตร์จ ะมี ไม่ ม ากแต่ก็ ส ามารถนำไป
ประยุกต์ใช้กับปัญหาได้หลากหลายในอุตสาหกรรมและวิศวกรรม เช่น การศึกษาแรงในการตัดเฉือน แรง
เสียดทาน งานและพลังงานที่เกิดเนื่องจากแรงกระทำ ความเค้นและความเครียดภายในวัสดุเนื่องจากแรง
ที่มากระทำ เป็นต้น ดังนั้นจึงเห็นว่า วิชากลศาสตร์เป็นวิชาพื้นฐานที่มีความสำคัญในทางอุตสาหกรรมและ
วิศวกรรม

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. คำจำกัดความของกลศาสตร์
2. ปริมาณทางกลศาสตร์
3. ปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์
4. หน่วยพื้นฐานทางกลศาสตร์
5. กฎพื้นฐานทางกลศาสตร์
6. ความแม่นยำในการปัดเศษ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. บอกความหมายของกลศาสตร์ได้
2. บอกความแตกต่างระหว่างคำว่าสถิตยศาสตร์และพลศาสตร์ได้
3. บอกความหมายของปริมาณทางกลศาสตร์ได้
4. จำแนกปริมาณทางกลศาสตร์ได้
5. จำแนกปริมาณพื้นฐานทางกลศาสตร์ได้
6. เขียนหน่วยและสัญลักษณ์พื้นฐานทางกลศาสตร์ได้
7. เลือกใช้คำนำหน้าหน่วยได้
8. บอกกฎในการใช้หน่วยได้
9. หาแรงกระทำต่อวัตถุที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้
10. หาน้ำหนักของวัตถุได้
11. ปัดเศษได้ถูกต้อง

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 1)
ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุ ประสงค์ สมรรถนะและคำอธิบายรายวิชา การวัดผล
และประเมินผลการเรียน คุณลักษณะนิสัยที่ต้องการให้เกิดขึ้น และข้อตกลงในการเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 2)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนที่ 1
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 1 หน้า 16-25
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 1
7. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วยของชุดการสอนที่ 1 ข้อที่ 1.1-1.15
นอกเวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์
2. Power Point เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ ชุดการสอนที่ 1 ภาพนิ่งที่ 1-30
งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วยของชุดการสอนที่ 1 ข้อที่ 1.1-1.15 นอกเวลาเรียนให้
เรียบร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วยของชุดการสอนที่ 1 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 2
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย ระบบแรง สอนครั้งที่ 3-5
ชื่อเรื่อง ระบบแรง จำนวน 6 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. คุณลักษณะของแรง
2. ชนิดของแรง
3. ระบบของแรง
4. การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ ด้วยวิธีกราฟิก
5. การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสองแรงกระทำเป็นมุมต่อกัน
6. การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงกระทำเป็นมุมกับแนวแกนอ้างอิง

สาระสำคัญ
เนื่องจากกลศาสตร์เป็นวิชาที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับแรงที่กระทำกับวัตถุ และผลที่เกิดขึ้นกับวัตถุนั้น
ภายหลังที่ถูกแรงมากระทำ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของแรงก่อนเป็นอันดับแรก เนื่องจาก
ในการศึกษาหัวข้อต่อ ๆ ไป จะต้องหาขนาดของแรงที่กระทำจึงจะสามารถศึกษาในเรื่องต่อไปได้

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบแรงและการหาแรงลัพธ์ของแรง 2 มิติ

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. คุณลักษณะของแรง
2. ชนิดของแรง
3. ระบบของแรง
4. การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ ด้วยวิธีกราฟิก
5. การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสองแรงกระทำเป็นมุมต่อกัน
6. การหาแรงลัพธ์ของแรงระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงกระทำเป็นมุมกับแนวแกนอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายถึงคุณลักษณะของแรงได้
2. บอกชนิดของแรงได้
3. จำแนกระบบของแรงได้
4. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ ด้วยวิธีกราฟิกได้
5. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสองแรงกระทำ
เป็นมุมต่อกันน้อยกว่า 90๐ ได้
6. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงในระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงสองแรงกระทำ
เป็นมุมต่อกันมากกว่า 90๐ ได้
7. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ในระบบ 2 มิติ กรณีที่แรงกระทำเป็นมุมกับ
แนวแกนอ้างอิงได้

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 3)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนที่ 2
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 2 หน้า 17-22
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน หน่วยที่ 2 ข้อที่ 2.1-2.4 นอก
เวลาเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 4)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 2 หน้า 23-26
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน หน่วยที่ 2 ข้อที่ 2.5-2.11 นอก
เวลาเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 5)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 2 หน้า 27-41
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 2
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน หน่วยที่ 2 ข้อที่ 2.12-2.22 นอก
เวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ระบบแรง
2. PowerPoint ประกอบการสอนหน่วยที่ 2 ภาพนิ่งที่ 1-55
- สอนครั้งที่ 3 หน่วยที่ 2 ภาพนิ่งที่ 1-16
- สอนครั้งที่ 4 หน่วยที่ 2 ภาพนิ่งที่ 17-24
- สอนครั้งที่ 5 หน่วยที่ 2 ภาพนิ่งที่ 24-55

งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 2 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 2 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 3
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย โมเมนต์และแรงคู่ควบ สอนครั้งที่ 6-7
ชื่อเรื่อง โมเมนต์และแรงคู่ควบ จำนวน 4 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. คำจำกัดความของโมเมนต์
2. ชนิดของโมเมนต์ของแรง
3. ทฤษฎีโมเมนต์หรือทฤษฎีวารียอง
4. การรวมโมเมนต์ของแรง
5. คำจำกัดความของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ
6. โมเมนต์ของแรงคู่ควบ

สาระสำคัญ
เมื่อมีแรงมากระทำกับวัตถุอาจทำให้วัตถุ เกิดการเคลื่อนที่หรืออาจเกิดการหมุนรอบจุดหมุน ซึ่ง
การหมุนที่เกิดขึ้นนี้ในวิชากลศาสตร์จะเรียกว่า โมเมนต์ โดยโมเมนต์จะเกิดขึ้นกับวัตถุเกือบจะทุกชิ้นทั้งอยู่
รอบตัวและอยู่โดยทั่วไป เช่น การหมุนของเฟือง การหมุนของล้อรถยนต์ การต๊าปและดายเกลียว การ
หมุนของเพลาของมอเตอร์ การหมุนของเพลารถยนต์ เป็นต้น ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าโมเมนต์เป็นอีกหนึ่งหัวข้อ
ที่มีความสำคัญที่จะต้องศึกษา เพื่อให้เป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาในเรื่องอื่นๆ ต่อไป

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับโมเมนต์และโมเมนต์ของแรงคู่ควบ

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. คำจำกัดความของโมเมนต์
2. ชนิดของโมเมนต์ของแรง
3. ทฤษฎีโมเมนต์หรือทฤษฎีวารียอง
4. การรวมโมเมนต์ของแรง
5. คำจำกัดความของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ
6. โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. บอกความหมายของโมเมนต์ได้
2. บอกชนิดของโมเมนต์ได้
3. หาขนาดของโมเมนต์ 2 มิติ ตามทฤษฎีวารียองได้
4. หาขนาดของโมเมนต์ 2 มิติ ตามทฤษฎีการรวมโมเมนต์ได้
5. บอกความหมายของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2 มิติได้
6. หาขนาดของโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 2 มิติได้

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 6)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนที่ 3
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 3 หน้า 14-21
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 3 ข้อที่ 3.1-3.9 นอก
เวลาเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 7)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 3 หน้า 22-25
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 3
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 3 ข้อที่ 3.10-3.15
นอกเวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง โมเมนต์และแรงคู่ควบ
2. Power Point เรื่อง โมเมนต์และแรงคูค่ วบ หน่วยที่ 3 ภาพนิ่งที่ 1-29
- สอนครั้งที่ 6 หน่วยที่ 3 ภาพนิ่งที่ 1-18
- สอนครั้งที่ 7 หน่วยที่ 3 ภาพนิ่งที่ 19-29
งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 3 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 3 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 4
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย สมดุล สอนครั้งที่ 8-12
ชื่อเรื่อง สมดุล จำนวน 10 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายของสมดุล
2. เงื่อนไขการสมดุล
3. การเขียนผังวัตถุอิสระ
4. แรงปฏิกิริยาที่จุดยึด
5. ลักษณะสมดุลในระบบ 2 มิติ
6. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
7. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงพบกันที่จุดเดียว
8. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงขนานกัน
9. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีระบบแรงทั่วไป

สาระสำคัญ
สมดุลถือเป็นหัวใจสำคัญของวิชากลศาสตร์ และวิชาทางวิศวกรรมต่างๆ เช่น วัตถุชิ้นหนึ่งเมื่อ
นำไปใช้งานจะถูกกระทำด้วยแรงๆ หนึ่ง ซึ่งหากวัตถุนั้นมิได้อยู่ในสถาวะที่สมดุลก็จะทำให้วัตถุนั้นเกิดการ
พังทลายหรือเสียหายไม่สามารถนำไปใช้งานได้ แต่หากวัตถุนั้นอยู่ในสภาวะที่สมดุลวัตถุนั้นก็ยังคงสามารถ
ใช้งานอยู่ได้ ดังนั้นในการคำนวณใดๆ ทางกลศาสตร์หรือทางวิศวกรรม จะต้องคำนวณโดยยึดหลักของการ
สมดุลของวัตถุภายใต้แรงที่มากระทำ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับสมดุล

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. ความหมายของสมดุล
2. เงื่อนไขการสมดุล
3. การเขียนผังวัตถุอิสระ
4. แรงปฏิกิริยาที่จุดยึด
5. ลักษณะสมดุลในระบบ 2 มิติ
6. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
7. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงพบกันที่จุดเดียว
8. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีแนวแรงขนานกัน
9. สมดุลของแรง 2 มิติ ที่มีระบบแรงทั่วไป
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของสมดุลได้
2. บอกเงื่อนไขของการสมดุลได้
3. เขียนผังวัตถุอิสระได้อย่างถูกต้อง
4. อธิบายลักษณะของแรงปฏิกิริยาที่จุดยึดได้
5. คำนวณหาแรงในระบบ 2 มิติ ในลักษณะต่างๆ ภายใต้สภาวะสมดุลได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 8)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 4
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 4 หน้า 19-25
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 ข้อที่ 4.1-4.4 นอก
เวลาเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 9)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 4 หน้า 26-29
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 ข้อที่ 4.5-4.6 นอก
เวลาเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 10)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 4 หน้า 30-31
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 ข้อที่ 4.7-4.9 นอก
เวลาเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 11)


1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 4 หน้า 32-33
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 ข้อที่ 4.10-4.12
นอกเวลาเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 12)


1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 4 หน้า 33-36
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 4
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 ข้อที่ 4.13-4.16
นอกเวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง สมดุล
2. Power Point เรื่อง สมดุล หน่วยที่ 4 ภาพนิ่งที่ 1-42
- สอนครั้งที่ 8 หน่วยที่ 4 ภาพนิ่งที่ 1-11
- สอนครั้งที่ 9 หน่วยที่ 4 ภาพนิ่งที่ 11-19
- สอนครั้งที่ 10 หน่วยที่ 4 ภาพนิ่งที่ 19-29
- สอนครั้งที่ 11 หน่วยที่ 4 ภาพนิ่งที่ 30-34
- สอนครั้งที่ 12 หน่วยที่ 4 ภาพนิ่งที่ 35-42
งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 4 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 5
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย การประยุกต์ใช้กลศาสตร์ สอนครั้งที่ 13-15
ชื่อเรื่อง การประยุกต์ใช้กลศาสตร์ จำนวน 6 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. ความสำคัญของการประยุกต์ใช้กลศาสตร์
2. คาน
3. พื้นเอียง
4. ลิ่ม
5. รอก
6. ล้อและเพลา
7. สกรู
8. ความได้เปรียบเชิงกล
9. การประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์ในการออกแบบชิ้นส่วนในงานเครื่องมือกล

สาระสำคัญ
ในปัจจุบันได้มีเครื่องผ่อนแรงต่าง ๆ มากมายรอบตัวเราไม่ว่าจะเป็นคาน พื้นเอียง ลิ่ม รอก สกรู
เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเครื่องผ่อนแรงทั้งสิ้น แต่ไม่ทราบว่าเครื่องผ่อนแรงแต่ละชนิดมีหลักการทำงาน
อย่างไร ผ่อนแรงมากหรือน้อยอย่างไร และเครื่องผ่อนแรงจะต้องมีลักษณะอย่างไรจึงจะผ่อนแรง ดังนั้น
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงหลักการทำงานของเครื่องผ่อนแรง ลักษณะของเครื่องผ่อนแรง การผ่อนแรงของ
เครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ จนถึงหลักการในการคำนวณหาปริมาณต่างๆ ของเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
และสามารถนำความรู้จากการศึกษาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้กลศาสตร์

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. ความสำคัญของการประยุกต์ใช้กลศาสตร์
2. คาน
3. พื้นเอียง
4. ลิ่ม
5. รอก
6. ล้อและเพลา
7. สกรู
8. ความได้เปรียบเชิงกล
9. การประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์ในการออกแบบชิ้นส่วนในงานเครื่องมือกล
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายหลักการทำงานของรอก คาน พื้นเอียง ล้อ-เพลา ลิ่ม และสกรู ได้
2. อธิบายความหมายของโมเมนต์ ตลอดจนนำหลักการของโมเมนต์ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวันได้
3. สามารถคำนวณหาความได้เปรียบเชิงกลของเครื่องผ่อนแรงได้
4. สามารถคำนวณหาปริมาณต่างๆ ของรอก คาน พื้นเอียง ล้อ-เพลา ลิ่ม และสกรู ได้
5. สามารถคำนวณและประยุกต์ใช้หลักกลศาสตร์ในการออกแบบชิ้นส่วนในงาน
เครื่องมือกลได้

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 13)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 5
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 5 หน้า 18-27
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 5 ข้อที่ 5.1-5.6 นอก
เวลาเรียน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 14)


1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 5 หน้า 28-38
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 5 ข้อที่ 5.7-5.12
นอกเวลาเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 15)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์ และครูนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3. ครูสอนเนื้อหาสาระใหม่ ชุดการสอนที่ 5 หน้า 39-47
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 5
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 5 ข้อที่ 5.13-5.16
นอกเวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง การประยุกต์ใช้กลศาสตร์
2. สื่อ Power Point เรื่อง การประยุกต์ใช้กลศาสตร์ หน่วยที่ 5 ภาพนิ่งที่ 1-59
- สอนครั้งที่ 13 หน่วยที่ 5 ภาพนิ่งที่ 1-19
- สอนครั้งที่ 14 หน่วยที่ 5 ภาพนิ่งที่ 20-32
- สอนครั้งที่ 15 หน่วยที่ 5 ภาพนิ่งที่ 33-59

งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 5 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 5 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 6
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย จุดศูนย์ถ่วง สอนครั้งที่ 16
ชื่อเรื่อง จุดศูนย์ถ่วง จำนวน 2 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. คำจำกัดความของจุดศูนย์ถ่วง
2. จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่มาตรฐาน
3. จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสม

สาระสำคัญ
เนื่ องจากวัตถุแต่ละชนิด มีรูปทรงที่แตกต่างกันออกไป เช่น รูปทรงเรขาคณิ ต รูปทรงที่มิใช่
รูปทรงเรขาคณิต เป็นต้น และไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีรูปทรงใดก็ตามวัตถุทุกชนิดจะถูกแรงดึงดูดของโลกกระทำ
ซึ่งแรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อวัตถุจะกระทำทุกจุดบนวัตถุนั้น แต่ในหลักการพิจารณาแรงดึงดูดของโลก
ที่กระทำต่อวัตถุจะพิจารณาจากแรงเพียงแรงเดียว โดยในการพิจารณาจะสมมติให้แรงหลายแรงนั้นไป
กระทำรวมกันที่จุด ๆ หนึ่งของวัตถุ ซึ่งมีลักษณะเป็นจุดศูนย์รวมแรงของวัตถุ
จุดศูนย์รวมแรงของวัตถุจะแบ่งออกเป็นลักษณะต่าง ๆ ได้ 3 ลักษณะ คือ จุดศูนย์ถ่วง (Center
of Gravity) จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass) และจุดเซนทรอยด์ (Centriod) ซึ่งในที่นี้ จะกล่าวถึง
เฉพาะจุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity) เท่านั้น

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับการคำนวนหาจุดศูนย์ถ่วง

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. คำจำกัดความของจุดศูนย์ถ่วง
2. จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่มาตรฐาน
3. จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสม
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของจุดศูนย์ถ่วงได้
2. คำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงมาตรฐานได้
3. คำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่รูปทรงผสมได้
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 16)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
5. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนที่ 6
2. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
3. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 6 หน้า 12-19
4. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 6
6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 6 ข้อที่ 6.1-6.5 นอก
เวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง จุดศูนย์ถ่วง
2. สื่อ Power Point เรื่อง จุดศูนย์ถ่วง หน่วยที่ 6 ภาพนิ่งที่ 1-17

งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 6 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 6 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 7
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย แรงเสียดทาน สอนครั้งที่ 17
ชื่อเรื่อง แรงเสียดทาน จำนวน 2 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. นิยามของแรงเสียดทาน
2. คุณสมบัติของแรงเสียดทาน
3. ประเภทของแรงเสียดทาน
4. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน
5. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระดับ
6. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระนาบเอียง

สาระสำคัญ
แรงเสียดทาน เป็นแรงที่เกิดขึ้นได้กับวัตถุทุกชนิดที่ต้องใช้ร่วมกับวัตถุชิ้นอื่นๆ ซึ่งโดยทั่วไปจะเกิด
ในสองลั กษณะ คือ ลั ก ษณะที่ เกิดขึ้น โดยไม่ พึ งปรารถนา สาเหตุ เนื่ องจากความเสี ยดทานนี้ จะส่ งผล
ทางด้ า นลบกั บ ชิ้ น ส่ ว นเครื่ อ งจั ก รกล เช่ น ทำให้ ชิ้ น ส่ ว นสึ ก หรอ เป็ น ต้ น ส่ ว นลั ก ษณะที่ เกิ ด ขึ้ น โดย
ปรารถนา เนื่องจากหากไม่มีความเสียดทานในชิ้นส่วนเครื่องจักรกลก็จะทำให้ไม่สามารถทำงานได้ เช่น
สายพาน คลัตช์ และเบรกรถยนต์ เป็นต้น ดังนั้นการศึกษาถึงลักษณะต่าง ๆ ของแรงเสียดทานและขนาด
ของแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นจึงมีความสำคัญในวิชากลศาสตร์

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับการคำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. นิยามของแรงเสียดทาน
2. คุณสมบัติของแรงเสียดทาน
3. ประเภทของแรงเสียดทาน
4. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน
5. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระดับ
6. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานในแนวระนาบเอียง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของแรงเสียดทานได้
2. บอกคุณสมบัติของแรงเสียดทานได้
3. จำแนกประเภทของแรงเสียดทานได้
4. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานได้
5. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานในแนวระดับได้
6. คำนวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานในแนวระนาบเอียงได้

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 17)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนที่ 7
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 7 หน้า 13-20
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 7
7. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 7 ข้อที่ 7.1-7.5 นอก
เวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 7 เรื่อง แรงเสียดทาน
2. สื่อ Power Point เรื่อง แรงเสียดทาน หน่วยที่ 7 ภาพนิ่งที่ 1-20

งานทีม่ อบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 7 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 7 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
แผนการสอน ชุดการสอนที่ 8
ชื่อวิชา กลศาสตร์เครื่องมือกล (20102-2006) เวลาเรียนรวม 36 ช.ม.
ชื่อหน่วย ความเร็วและความเร่ง สอนครั้งที่ 18
ชื่อเรื่อง ความเร็วและความเร่ง จำนวน 2 ช.ม.

หัวข้อเรื่อง
1. ความเร็ว
2. ความเร่ง

สาระสำคัญ
โดยทั่วไปในการศึกษากลศาสตร์ นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับวัตถุที่อยู่นิ่งแล้ว ยังศึกษาเกี่ยวกับการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ เนื่ องจากวัตถุต่างๆ จะอยู่ในสภาวะที่อยู่นิ่งแล้ววัตถุยังอาจมีการเคลื่อนที่จากแรงที่
กระทำด้วย ฉะนั้นการศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์จึงต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เกิดจาก
แรงกระทำ โดยจะกล่าวเฉพาะการเคลื่อนที่ที่ทำให้เกิดความเร็วและความเร่งเท่านั้น เพื่อเป็นพื้นฐานใน
การศึกษาเรื่องอื่นๆต่อไป

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกับความเร็วและความเร่ง

วัตถุประสงค์การเรียน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. ความเร็ว
2. ความเร่ง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของความเร็วได้
2. คำนวณหาความเร็วเชิงเส้นได้
3. คำนวณหาความเร็วเชิงมุมได้
4. อธิบายความหมายของความเร่งได้
5. คำนวณหาความเร่งเชิงเส้นได้
6. คำนวณหาความเร่งเชิงมุมได้
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ (สอนครั้งที่ 18)
1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนประจำสัปดาห์
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนที่ 8
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียน
4. ครูสอนเนื้อหาสาระ ชุดการสอนที่ 8 หน้า 13-25
5. ครูสรุปเนื้อหาสาระประจำสัปดาห์
6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ชุดการสอนที่ 8
7. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 8 ข้อที่ 8.1-8.10
นอกเวลาเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง ความเร็วและความเร่ง
2. สื่อ Power Point เรื่อง ความเร็วและความเร่ง หน่วยที่ 8 ภาพนิ่งที่ 1-33

งานที่มอบหมาย/กิจกรรม
ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 8 นอกเวลาเรียนให้เรียบร้อย ถูกต้อง
สมบูรณ์ ในวันที่กำหนด

การประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบฝึกท้ายหน่วย ชุดการสอนที่ 8 เกณฑ์ผ่าน 60%
2. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
3. พฤติกรรมการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60%
บรรณานุกรม
จำนง พุ่มคำ, ผศ. คณิตศาสตร์ช่างอุตสาหกรรม, กรุงเทพ ฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี. 2542.
ชัยสวัสดิ์ เทียนวิบูลย์. กลศาสตร์วิศวกรรม, ม.ป.ท. : ม.ป.ท. , ม.ป.ป.
ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก, ผศ. ฟิสิกส์ 1, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา
ฝ่ายเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2540.
วีระศักดิ์ กรัยวิเชียร, และคณะ. กลศาสตร์วิศวกรรม ฉบับเสิรมประสบการณ์, กรุงเทพ ฯ :
ซีเอ็ดยูเคชั่น. 2531.
สุเทพ สุขเจริญ. วิทยาศาสตร์ 6, กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์เอมพันธ์, 2544.
สิริศักดิ์ ปโยธรสิริ. กลศาสตร์วิศวกรรม : ภาคสถิตย์ศาสตร์, กรุงเทพ ฯ : ว.เพ็ชรสกุล , 2543.
โสภณ วงศ์มีทรัพย์ และเกษม จารุปาน. กลศาสตร์วิศวกรรม (ภาคสถิตศาสตร์), กรุงเทพ ฯ :
ศูนย์ส่งเสิรมวิชาการ, ม.ป.ป.
อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์. กลศาสตร์วิศวกรรม, กรุงเทพ ฯ : สกายบุ๊กส์, 2542.

You might also like