You are on page 1of 3

1.

ความเป็นมา
ระบบไปรษณีย์ของประเทศไทย เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ
กิจการไปรษณีย์ในสมัยแรกคือ กรมไปรษณีย์ เปิดให้บริการเป็นครั้งแรก ณ วันที่ 4 สิงหาคม
พ.ศ. 2426 มีสานักงานใหญ่อยู่ที่ไปรษณีย คาร ตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยาใกล้ปากคลองโอ่งอ่าง
ปัจจุบันรื้อทิ้งเพื่อสร้างสะพานพระปกเกล้า ในระยะแรกที่ให้บริการ ครอบคลุมเฉพาะกรุงเทพ
เท่านั้น เมื่อ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 จึงเริ่มขยายไปต่างจังหวัดโดยเปิดที่ทาการไปรษณีย์ ที่
สมุทรปราการและนครเขื่อนขันธ์ (พระประแดง ในปัจจุบัน) และขยายต่อจนถึงเชียงใหม่ในเดือน
ตุลาคมของปีเดียวกัน ส่วนบริการไปรษณีย์ระหว่างประเทศ เริ่มเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2428
หลังประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกสหภาพสากลไปรษณีย์บุรุษไปรษณีย์สยามของกรมไปรษณีย์
เปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2441 กรมไปรษณีย์ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น กรมไปรษณีย์โทรเลข
หลังจากมีการควบรวมกรมไปรษณีย์เข้ากับกรมโทรเลข ซึ่งดูแลงานด้านโทรเลข เมื่อ พ.ศ. 2483
ได้มีการเปิด ที่ทาการไปรษณีย์กลาง ขึ้นบนถนนเจริญกรุง เขตบางรัก และใช้เป็นที่ทาการของ
กรมไปรษณีย์โทรเลข
และเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2546[4] มีการปรับโครงสร้างอีกครั้งตามนโยบายแปรรูป
รัฐวิสาหกิจ โดยแยกการสื่อสารแห่งประเทศไทย ออกเป็น บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด (ปณท)
และบริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
2. การบริหารช่องทางการตลาด
2.1 การพัฒนาการบริหารจัดการภายในเพื่อเสริมจุดแข็งและความยั่งยืน
เพื่อให้เข้ากับยุคสมัยของการเพิ่มความสามารถในการตอบสนองผู้บริโภคให้ได้อย่างเข้าใจ
และรู้ใจมากยิ่งขึ้น แบรนด์ก็ได้มีการลงทุนสาหรับการทา Infrastructure สาหรับการทา Big Data
เพื่อเก็บข้อมูลให้สามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์ และใช้ในการพัฒนาต่อยอดการทาธุรกิจ การตลาด
และการบริการที่ตอบสนองผู้ บ ริโภคได้อ ย่ างดี ยิ่งขึ้ น ซึ่งก็ได้มีการนามาผนวกกับ ระบบ CRM
หรือ Customer Relationship Management เพื่อการให้บริการและดูแลผู้บริโภคอย่างทั่วถึงที่
ครอบคลุมทุก Brand Touchpoint ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิมและลูกค้าที่เพิ่มเข้ามา
ใหม่เอาไว้
2.2 การพัฒนาด้านการให้บริการที่มีอยู่เดิม
โดยหลักแล้วในส่วนนี้ไปรษณีย์ไทย จะมุ่งเน้นในการเพิ่ม Partner หรือกลุ่มเครือ ข่ าย
ตัวแทน สาหรับการขยายจุดให้บริการให้เพิ่มเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ได้ม าก
ยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการนาส่ง การรับสินค้า ณ จุดให้บริการอย่าง Pick up Service ที่ตอบโจทย์
Lifestyle การใช้ชีวิตแบบใหม่ ๆ มากยิ่งขึ้น อีกทั้งแบรนด์ได้มีการยกระดับมาตรฐานการส่งขนให้
มากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถเข้าไปให้บริการ ในช่องทางการซื้อสินค้าบนออนไลน์ตาม E-commerce
Platform ต่ า ง ๆ ให้ ทุ ก คนสามารถใช้ บ ริ ก ารกั บ ทางไปรษณี ย์ ไ ทยได้ ด้ ว ย นอกจากนี้ ยั ง มี
การพัฒนาการเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ
2.3 การเพิ่มโอกาสและทางเลือกใหม่ในการให้บริการ
ด้วยการแข่งขันในตลาดที่ค่อนข้างสูง หากแบรนด์ยังคงไม่พัฒนาหรือทาอะไรที่ต่างจาก
เดิม ก็คงจะอยู่ไม่ได้แน่นอน ไปรษณีย์ไทยจึงเดินกลยุทธ์ด้วยการนาจุดแข็งที่มีอย่างเครือข่ายบุรุษ
ไปรณีย์กว่า 20,000 คน มาให้บริการพิเศษเพิ่มเติม อย่างการทาหน้าที่ การเก็บข้อมูลสารวจสิน
ทรัพย์ การสารวจและบันทึกค่าน้าประปา เป็นต้น อีกทั้งยังมีการเพิ่มโมเดลอย่างการกลายเป็น
พื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร Fulfillment ระดั บ จั ง หวั ด ที่ ส ามารถเก็ บ บรรจุ และจั ด ส่ ง ให้ กั บ พ่ อ ค้ า แม่ ค้ า
ออนไลน์ ไ ด้ อ ย่ า งสะดวกมากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น โอกาสทางธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ ของทางแบรนด์ ด้ ว ย
นอกจากนี้ไปรษณีย์ไทยจึงมี Project ที่มีความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเพิ่มบริการให้กับ
ธุรกิจมากยิ่งขึ้น
3. วิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด
3.1 ปั จ จั ย ทางด้ า นเศรษฐกิ จ (Economic) ธุ ร กิ จ การขนส่ ง ของไปรษณี ย์ ไ ทย
ได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยรวมที่มีแนวโน้มการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง
แต่เป็นการขยายตัวอยางช้าๆ ทั้งนี้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยมาจากอุปสงค์ภายในประเทศ
ภาคการท่องเที่ยว รวมไปถึงการส่งออก ในขณะเดียวกั นต้นทุนในราคาเชื้ อเพลิงที่ลดลงทาให้
ผู้บริโภคยังคงมีกาลังซื้อจับจ่ายใช้สอยได้อยูในระดับที่ดี
3.2 ปัจจัยทางด้านสังคม (Social) ปัจจุบันสภาพการใช้ชีวิตของคนในสังคมได้เปลี่ยนแปลง
ไ ป โ ด ย ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร ที่ แ ต ก ต่ า ง ไ ป จ า ก เ ดิ ม อ ย า ง สิ้ น เ ชิ ง ท า ใ ห้ ธุ ร กิ จ ต ล า ด
ด้านการส่งจดหมายของไปรษณีย์ และตลาดทางด้านการเงินไทยได้รับผลกระทบ รายได้ในสอง
กลุ่มบริการนี้ลดลงอยางชัดเจน โดยคนไทยนิยมส่ งข้อมูลข่าวสารทางระบบไร้สายเพิ่มมากขึ้น ใน
ขณะเดียวกันก็มีการใช้จ่ายเงินผานระบบบริการใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น จากการเพิ่มขึ้นของระบบ
จ่ายเงินแบบใหม่นี้เอง ทาให้ความนิยมซื้อสินค้าออนไลน์ของคนไทยกาลังมีอัตราที่เพิ่ มมากขึ้น
ทาให้การบริการส่งสินค้าทางไปรษณีย์ก็เพิ่มขึ้นตามไปด้วย
3.3 ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technology) การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีส่ง ผลให้
ธุรกิจการขนส่งของไปรษณีย์ไทยเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่ างมาก ทาให้ผลิตภัณฑ์บางอย่ างของ
บริษัท ได้รับผลกระทบอย่างชัดเจน จะเห็นได้จากบริการจดหมาย ธนาณัติ แสตมป์ มียอดขาย
ลดลงเนื่องจากคนไทยหันไปใช้ร ะบบสื่อสารทางระบบออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็มี
การเกิดขึ้นของระบบธุรกรรมต่างๆ ในการชาระเงินในการจับจ่ายรูปแบบใหม่ ที่มีความสะดวก
และรวดเร็วเป็นอย่างมาก แต่ในขณะเดียวกันก็ทาให้เกิดความสะดวกในการซื้อสินค้าได้มากขึ้น
ทาให้เกิดการซื้อขายกนในระบบออนไลน์ มีการสั่งสินค้าให้กั บลูกค้าของกลุ่ มร้านขายเหล่านี้
โดยมีการใช้บริการจัดส่งของไปรษณีย์ไทยเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
3.4 ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) ธุรกิจของไปรษณีย์ไทยไม่ได้รับผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง วัสดุหีบห่อที่ใช้ในการบรรจุสินค้ามีความแข็งแรง ทนทานและสามารถย่อย
สลายได้โดยตามธรรมชาติ ไปรษณีย์ไทยคานึงถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อม เพื่อต้องการสร้าง
ความเชื่อมัน่ ในระยะยาวต่อผู้ใช้บริการ
4. ข้อมูลการสนับสนุน
“ไปรษณีย์ไทยยังได้ร่วมมือกับหน่วยงานพันธมิตรเพื่อร่ วมกันดาเนินกิจกรรมทางด้าน
สิ่งแวดล้อมหลากหลายองค์กร ไม่ว่าจะเป็นโครงการ “ฝากทิ้ง E-Waste กับพี่ไปรษณีย์” ซึ่งเป็น
ความร่วมมือของไปรษณีย์ไทยกับเอไอเอส และยังคงมุ่งมั่นที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม
โดยเดินหน้าสู่การเป็นองค์กรเพื่อสร้างความยั่งยืนให้สิ่งแวดล้อมและสังคมต่อไป”
5. วิเคราะห์คู่แข่ง
5.1 บริษัท เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จากัด
5.2 บริษัท DPX eCommerce
5.3 บริษัท อัลฟ่า เพอร์ฟอร์มานซ์ กรุ๊ป
5.4 บริษัท Lalamove
5.5 บริษัท ดีเอชแอล อีคอมเมิร์ซ
5.6 บริษัท เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
5.7 บริษัท แฟลช เอ็กซ์เพรส จากัด
จากการวิเคราะห์คู่แข่งของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด สามารถสรุปปัจจัยที่มีความสาคัญ
ต่อการจัดส่งสินค้าของธุรกิจ ในธุรกิจอีคอมเมิร์ซได้ คือ การมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การบริการ
ลู ก ค้ า ที่ ย อดเยี่ ย ม โดยการส่ ง สิ น ค้ า ต้ อ งสามารถท าได้ ง่ า ย รวดเร็ ว และปลอดภั ย สามารถ
ตรวจสอบสถานะของสินค้าได้ตลอด 24 ชั่ วโมง มีทางเลือกหรือข้อเสนอพิเศษให้กั บลูกค้าได้ใช้
บริการตามความเหมาะสมของธุรกิจของตัวเอง

6. สินค้าและบริการ ของ บริษัทไปรษณีย์ไทย (ข้อมูลเพิ่มเติม)


- บริการไปรษณีย์ เช่น ไปรษณีย์ในประเทศ และ ไปรษณีย์ระหว่างประเทศ
- บริการขนส่ง เช่น ไปรษณีย์ด่วนพิเศษ โลจิสโพสต์ พัสดุไปรษณีย์ ไปรษณีย์ครบวงจร
และ บริการกล่องเหมาจ่าย
- บริการการเงิน เช่น ธนาณัติออนไลน์ บริการชาระเงินผ่านบริการไปรษณีย์ ฯลฯ
- บริการค้าปลีก เช่น อร่อยทั่วไทย สั่งได้ที่ไปรษณีย์
- สินค้าไปรษณีย์ เช่น กล่อง ซอง ของที่ระลึก
- ตราไปรษณียก์ รและสิ่งสะสม (แสตมป์)
***ข้อมูลบริษัท***
ชื่อบริษัท บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด
ชื่อภาษาอังกฤษ THAILAND POST CO,LTD.
ชื่อย่อ ปณท.
เลขทะเบียนบริษัท 0105546095724 (เดิมเลขที่ 10854601449)
ประเภทธุรกิจ ประกอบธุรกิจให้บริการรับ-ส่งข่าวสาร สิ่งของ บริการการเงินละบริการตัวแทน

You might also like