You are on page 1of 22

ตรวจสอบความรู้ ก่อนเรียน

ให้ นักเรียนพิจารณาข้ อความต่ อไปนี ้ แล้ วเติมเครื่องหมาย √ลงในช่ องคาตอบของ


ข้ อความที่ถูก หรือเครื่องหมาย × ลงในช่ องคาตอบของข้ อความที่ผิด
ข้ อ ความรู้ พนื ้ ฐาน คาตอบ
1. หินตะกอนเกิดจากการสะสมตัวของตะกอนแล้ วเกิดกระบวนการแข็งตัวเป็ นหิน
2. หินแกรนิตเกิดจากการสะสมตัวของตะกอนขนาดต่ าง ๆ
3. หินอัคนีเกิดจากการแข็งตัวของแมกมาใต้ ผิวโลกและบนผิวโลก
4. หินชนวนเป็ นหินตะกอนเพราะสามารถกะเทาะเป็ นแผ่ นบางและเรี ยบได้
5. รอยเลื่อนเป็ นรอยแตกของเปลือกโลกที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลก
ออกจากตาแหน่ งเดิม
6. ชัน้ หินคดโค้ งเกิดจากแรงเค้ นและความเครี ยดบนเปลือกโลก
7. รอยตีนไดโนเสาร์ ไม่ จัดเป็ นซากดึกดาบรรพ์ เพราะไม่ ใช่ ซากของสิ่งมีชีวติ ในอดีต
8. ธาตุกัมมันตรั งสีสามารถแผ่ รังสีแล้ วกลายเป็ นอะตอมของธาตุใหม่ ได้
หน่ วยที่ 3 ธรณีประวัติ
1. ซากดึกดาบรรพ์
1.1 การค้ นพบซากดึกดาบรรพ์
1.2 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
2. การลาดับชัน้ หิน
3. อายุทางธรณีวิทยา
3.1 อายุเปรี ยบเทียบ 3.2 อายุสัมบรู ณ์
4. มาตรธรณีกาล
หน่ วยที่ 3 ธรณีประวัติ
1. ซากดึกดาบรรพ์
1.1 การค้ นพบซากดึกดาบรรพ์
1.2 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
ธรณีประวัติ
คือ ประวัตศิ าสตร์ ทางธรณีวิทยาของโลก ที่จะบอก
เล่ าความเป็ นมา และสภาพเหตุการณ์ ท่ เี กิดขึน้ ในอดีต
ไม่ ว่าจะเป็ นการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ข้ อมูลทางธรณีวิทยาที่สามารถอธิบายความเป็ นมา
ของพืน้ ที่ในอดีต ได้ แก่ ซากดึกดาบรรพ์ อายุทางธรณีวิทยา
โครงสร้ างและการลาดับชัน้ หิน
1. ซากดึกดาบรรพ์

ซากดึกดาบรรพ์ หรือ ซากบรรพชีวิน (Fossil)


หมายถึง ซากหรือร่ องรอยของสิ่งมีชีวิตในอดีตที่ประทับอยู่ในหิน
โดยมีการเก็บรักษาไว้ ไม่ ให้ เน่ าเปื่ อยและคงสภาพเป็ นล้ านปี หินที่พบ
ซากดึกดาบรรพ์ ส่วนใหญ่ จะเป็ นหินตะกอน เช่ น หินปูน หินโคลน
หินดินดาน หินทราย ซากดึกดาบรรพ์ ท่ พ ี บในหินสามารถบ่ งบอกถึง
สภาพแวดล้ อมและชนิดของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ ณ บริเวณนัน้ ในอดีต
รวมถึงกระบวนการสะสมตะกอนที่เกิดขึน้
ซากดึกดาบรรพ์ เป็ นซากและร่ องรอยของสิ่งมีชีวิตของพืชหรือสัตว์ ท่ ีถูกเก็บรักษาไว้
ในชัน้ หินซึ่งมีรูปแบบต่ าง ๆ เช่ น ร่ องรอย โครงร่ างของสิ่งมีชีวิต ฟั น เปลือกหอย ลาต้ น
ของต้ นไม้ ซากช้ างแมมมอธที่พบในธารนา้ แข็งและซากแมลงที่พบในยางไม้ หรื ออาพันก็
จัดเป็ นซากดึกดาบรรพ์ อีกด้ วยซากดึกดาบรรพ์ นัน้ จะถูกเก็บรักษาด้ วยกระบวนการเกิด
ซากดึกดาบรรพ์ (fossilization)

(ก) กระดูก (ข) ร่ องรอยชอนไช (ค) รอยตีนไดโนเสาร์ (ง) รอยเปลือกหอย


ชนิดของฟอสซิล
•เกณฑ์ ลักษณะโดยทั่วไป
1. ฟอสซิลที่มีรูปร่ างสมบูรณ์
2. เป็ นฟอสซิลที่เป็ นส่ วนที่แข็งแรงของสิ่งมีชีวิตที่ยังคงภาพอยู่
3. ฟอสซิลที่เป็ นแบบหล่ อ หรือรอยพิมพ์
4. ฟอสซิลที่เกิดจากกสารเขาไปแทนที่
ซากดึกดาบรรพ์ ดชั นี (index fossil)
•เป็ นซากดึกดาบรรพ์ ท่ บี อกอายุได้ แน่ นอน เนื่องจาก
•เป็ นซากดึกดาบรรพ์ ท่ มี ีวิวัฒนาการทางโครงสร้ างและรูปร่ างรวดเร็ว
•มีความแตกต่ างในแต่ ละช่ วงอายุอย่ างเด่ นชัด
•ปรากฏให้ เห็นเพียงช่ วงอายุหนึ่งก็สูญพันธุ์ไป ได้ แก่ ไทรโลไบต์
แกรพโตไลต์ ฟิ วซูลนิ ิด เป็ นต้ น
- การพบซากดึกดาบรรพ์ ไทโลไบต์ ในหินทรายแดงที่เกาะตะรุ เตา จังหวัดสตูล
ทาให้ นักธรณีวทิ ยาบอกได้ ว่าหินทรายแดง เป็ นหินที่มีอายุประมาณ 570-505
ล้ านปี
- การพบซากดึกดาบรรพ์ ฟิวซูลินิด ในหินปูนจังหวัดสระบุรีทาให้ นักธรณีวทิ ยา
บอกได้ ว่าหินปูนนัน้ เป็ นหินที่มีอายุประมาณ 286-245 ล้ านปี
1.1 การค้ นพบซากดึกดาบรรพ์
การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ เรียกว่ า บรรพชีวินวิทยา (paleontology)
สโตรมาโตไลต์ เป็ นซากดึกดาบรรพ์ เก่ าแก่ ท่ สี ุดพบในมหายุคพรีแคม
เบรียน อยู่บริเวณชายหาด/ทะเลนา้ ตืน้ เป็ นสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวจาพวก
ไซยาโนแบคทีเรีย อยู่รวมกันเป็ นแผ่ นบาง ๆ มีลักษณะเหมือนโขดหิน
เรียกว่ า ไบโอฟิ ล์ ม
นอกจากนีใ้ นมหายุคพรีแคมเบรียนยังมีส่ งิ มีชีวติ ที่มีโครงสร้ างซับซ้ อน เช่ น
- ไทรบราซิเดียม (Tribrachidium) - ดิกคินโซเนีย (Dickinsonia)
- สปริกจินา (Spriggina)
ทาให้ สามารถเรียนรู้และเข้ าใจสภาพแวดล้ อมของโลกในอดีตชัดเจนขึน้
ซากดึกดาบรรพ์ ท่ พ
ี บมากที่สุด

เป็ นซากดึกดาบรรพ์ ของสัตว์ ทะเล

•ซากดึกดาบรรพ์ สามารถพบได้ ตามชัน้ หินตะกอนเป็ นส่ วนใหญ่


•เราจะไม่ พบซากดึกดาบรรพ์ ในหินอัคนีและหินแปร เนื่องจาก
ความร้ อนในระหว่ างที่เกิดหินเหล่ านัน้ ทาให้ ซากดึกดาบรรพ์
สลายไป
1.2 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
1. การกลายเป็ นหิน เกิดจากการ
แทนที่นา้ ด้ วยแร่ ธาตุทาให้ โครงสร้ าง ฟอสซิลไม้ ยืนต้ น
แข็งขึน้ และกลายเป็ นหิน เช่ น
ไม้ กลายเป็ นหิน
2. การกลายเป็ นธาตุคาร์ บอน ความดัน รอยประทับของไดโนเสาร์ กินเนือ้

ที่เพิ่มขึน้ ทาให้ นา้ และแก๊ สถูกขับออก


เหลือเพียงธาตุคาร์ บอน พบในหิน
ตะกอน เรียกว่ า รอยประทับ เช่ น
ใบไม้ สัตว์ เล็ก ๆ
3. รอยพิมพ์ โครงสร้ างแข็งของสิ่งมีชีวิตที่มี
ตะกอนมาทับถมโครงสร้ างสลายไปกับ
นา้ เหลือเพียงรอยประทับบนหินตะกอน
รอยพิมพ์ และโครงกระดูก(คีออฟ)
4. รูปพิมพ์ เกิดจากรอยพิมพ์ ท่ มี ีแร่ เข้ าไป
ตกผลึก เกิดเป็ นโครงสร้ างแข็งของ
สิ่งมีชีวิต
รูปพิมพ์ แมลงปอ
5. การเก็บไว้ ในยางไม้ หรืออาพัน เป็ นซาก อาพันแมลง
ดึกดาบรรพ์ ของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก
บอบบาง เช่ น แมลง
การเกิดซากดึกดาบรรพ์
1. แร่ ธาตุซมึ เข้ าไปในเนือ้ เยื่อ หรื อโครงสร้ าง เช่ น ฟอสซิลไม้ โครงกระดูก
2. แร่ ธาตุซมึ เข้ าไปในโพรงกระดูก รอยพิมพ์ หรื อร่ องรอย
3. ยางของไม้ ห่อหุ้มเอาไว้ เรี ยกว่ า อาพัน(amber)
4. ถูกควบคุมโดยอุณหภูมิ แก๊ ส นา้ มันดิบ เช่ น แมมมอส
ขัน้ ตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
สัตว์ หรือพืชตายลง
ขัน้ ตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
จมลงสู่ก้นทะเลและส่ วนที่เหลือจะค่ อย ๆถูกฝั งลงในชัน้ ของตะกอน
ขัน้ ตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
ตะกอนชัน้ ล่ างๆ กลายเป็ นหิน และส่ วนที่เหลืออยู่จะแข็งตัว
กลายเป็ นซากดึกดาบรรพ์
หินถูกดันขึน้ ไป-มา และถูกกัดเซาะ
ซากดึกดาบรรพ์ โผล่ ขนึ ้ สู่ชัน้ ผิวโลก
ขัน้ ตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
ให้ นักเรี ยนศึกษาตัวอย่ างซากดึกดาบรรพ์ ในประเทศไทย
ในตาราง 3.1 หน้ า 75-76
สัตว์ ดกึ ดาบรรพ์ ในประเทศไทย
สัตว์ดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย
สัตว์ ดกึ ดาบรรพ์ ในประเทศไทย
สั ตว์ ดึกดาบรรพ์ในประเทศไทย
สั ตว์ ดึกดาบรรพ์ในประเทศไทย

You might also like