You are on page 1of 11

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 2 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลศาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
แรง (Force)
นิยามของคาว่าแรง
แรงเป็ นนามธรรม สิ่ งทาให้วตั ถุเคลื่อนที่หรื อทาให้วตั ถุเกิดการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างไปจากเดิมแรงเป็ น
ปริ มาณเวกเตอร์ คือ มีท้ งั ขนาดและทิศทาง

1.ปริมาณเวกเตอร์ และสเกลาร์ (Vector and Scalar Quantities)


1.1 ปริมาณสเกลาร์ (Scalar Quantities) คือ ปริ มาณที่มีเพียงแต่ขนาดเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีทิศทาง
ได้แก่ มวล อุณหภูมิ เวลา ปริ มาตร เป็ นต้น โดยผลรวมปริ มาณสเกลาร์ จะเป็ นไปตามการบวกลบ
ทางพีชคณิ ต
1.2 ปริมาณเวกเตอร์ (Vector Quantities) คือ ปริ มาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง เช่น ระยะที่เคลื่อนไป
(displacement) ความเร็ ว ความเร่ ง โมเมนต์ เป็ นต้น การบวกเวกเตอร์ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของ
สี่ เหลี่ยมด้านขนาน
2. กฎของนิวตัน
กฎพื้นฐานทางกลศาสตร์ ก็ คือ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน โดยนิวตันกล่าวว่า
1. วัตถุจะคงสภาพหยุดนิ่งหรื อสภาพการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ วสม่าเสมอต่อไปถ้า
ไม่มีแรงภายนอกมากระทา
2. ความเร่ งของวัตถุเป็ นปฏิภาคตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทากับวัตถุและมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์
นั้น
3. เมื่อมีแรงกระทาต่อวัตถุ จะมีแรงปฏิกิริยาเทากันแต่มีทิศทางตรงกันข้ามในแนวเส้นตรง
เดียวกัน กระทาตอบวัตถุเสมอ
สาหรับวิชาสถิตศาสตร์ น้ นั อาศัยกฎข้อ 1และกฎข้อ 3 เป็ นส่ วนใหญ่
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 2
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลศาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ชนิดของแรง
แรงทีก่ ระทาบนวัตถุแบ่ งออกเป็ น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
1.แรงภายนอก (External Force)หมายถึง แรงที่กระทาจากภายนอกวัตถุ แบ่งย่อยออกเป็ น
-แรงกระทา (Action Force) หมายถึ ง แรงที่กระทากับวัตถุ โดยตรง เช่ น แรงดึ งดู ดของโลกที่มีต่อ
วัตถุหรื อน้ าหนักของวัตถุที่อยูบ่ นพื้น
-แรงปฏิ กิริยา(Reaction Force) หมายถึ งแรงที่ เกิ ดขึ้ นภายในวัตถุ หรื อแรงระหว่างส่ วนต่างๆของ
โครงสร้าง อันเป็ นผลเนื่องมาจากรงภายนอกที่กระทาต่อวัตถุหรื อโครงสร้างนั้น เช่น แรงดึงในสาย
เคเบิ้ลหรื อแรงภายในชิ้นส่ วนต่างของโครงสร้าง
2. แรงภายใน ( Internal Force ) หมายถึ ง แรงที่ เกิ ด ขึ้ น ภายในวัต ถุ ห รื อ แรงระหว่างส่ วนต่ า งๆ ของ
โครงสร้ าง อันเป็ นผลเนื่ องมาจากแรงภายนอกที่ กระทาต่อวัตถุ หรื อโครงสร้ างนั้น เช่ น แรงดึ งในสาย
เคเบิ้ลหรื อแรงภายในชิ้นส่ วนต่างของโครงสร้าง
อย่างไรก็ตาม ชนิดของแรงอาจแบ่งตามลักษณะของการกระทาดังนี้
1. แรงแบบจุ ด (Point Load) เป็ นแรงที่เปรี ยบเสมือนกระทาบนเนื้ อที่ขนาดเล็กซึ่ งอาจถื อได้เป็ นจุด เช่ น
แรงที่ขาโต๊ะกระทาบนพื้น หรื อน้ าหนักรถยนต์ที่กดลงบนพื้นถนนผ่านยางทั้งสี่ เป็ นต้น
2. แรงแบบกระจาย (Distributed Force) เป็ นแรงที่ ก ระท าลงบนพื้ น ที่ ค่ อ นข้ า งใหญ่ บ นวัต ถุ ห รื อ
โครงสร้างหากจะถือว่าแรงที่กระทาเป็ นจุดอาจจะผิดความจริ งไปมากจะต้องถือว่าแรงกระทาทัว่
เนื้ อ ที่ น้ ัน ถ้า แรงกระท าสม่ า เสมอทั่ว เนื้ อ ที่ น้ ัน เรี ย กว่า “แรงกระจายสม่ าเสมอ” (Uniformly
Distributed Force) เช่ น น้ าหนั ก ของคาน ถ้ า แรงกระท าไม่ เท่ า กัน ทั่ว เนื้ อ ที่ น้ ั นเรี ย กว่ า “แรง
กระจายไม่สม่าเสมอ” (non-Uniformly Distributed Force)เช่น แรงดันของน้ าที่มีต่อเขื่อน
3. โมเมนต์ หรื อแรงคู่ควบ (Moment or Couple) ได้แก่ ความพยายามที่ทาให้เกิดการหมุนต่อวัตถุ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 3
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลศาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
การรวมแรง ( Composition of Forces )
แรงเป็ นปริ มาณทางเวกเตอร์ ซึ่ งสามารถบวกหรื อลบได้ตามกฎเกณฑ์ของปริ มาณทางเวกเตอร์ น้ นั คือ จะต้อง
คานึงถึงขนาดและทิศทางของงปริ มาณเวกเตอร์ ดว้ ยแรงที่มีขนาด A และมีทิศทางดังรู ป โดยสามารถเขียนแทน
ด้วย”ลูกศร” โดยความยาวของลูกศรจะเป็ นสัดส่ วนขนาดของแรงและหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง

จุดปลาย
จุดเริ่ มต้น
การบวกลบเวกเตอร์ แสดงด้วยรู ปดังต่อไปนี้

B
1.) A + B A R = แรงลัพธ์

B
2.) A + B A
R= แรงลัพธ์
B R=แรงลัพธ์ B
3.) A + A

R=แรงลัพธ์ B
4.) A + B A
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 4
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ถ้ามีแรง 2 แรงกระทาที่ จุดเดี ยวกันจะเหมื อนว่ามีแรงเพียงแรงเดี ยวกระทาต่อจุ ดนั้น เรี ยนกว่า แรงอันเดี ยวนั้นมี
ผลบวกหรื อการรวม 2 แรงดังรู ป

B C

R F2

O F1 A
รู ปที่ 1 แสดงการรวมแรง F และ F จะได้ R
จากรู ปที่ 1 แรง F1 และ F2 กระทาที่จุด O พร้อมกันจะเหมือนกับว่ามีแรง R เพียงแรงเดียวที่กระทาต่อจุด O
และเรี ยกแรง R นี้เป็ นผลบวกของแรง F1 และ F2 หรื อ

R = F1+F2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 5
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
1.รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานแทนแรง ( Law of parallelogram of force )
ถ้าแรง 2 แรงตัดกันที่จุดๆหนึ่ง สามารถแทนทั้งขนานและทิศทางด้วยด้านประชิดของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน
ด้านทแยงที่ผา่ นจุดตัดกันของสี่ เหลี่ยมด้านขนานนั้นจะแทนทั้งขนานและทิศทางของแรงลัพธ์ หรื อแรงรวม
(resultant ) ของแรงทั้งสอง ดังรู ป

A A แรงลัพธ์ R= A+B
θ B α B

A R=แรงลัพธ์ A
θ α θ
B

ขนาดของแรงลัพธ์
R = A2  B 2  2 AB cos 
ทิศทางของแรงลัพธ์ ทามุม α กับแรง B โดยที่
A sin 
tan α =
B  A cos 
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 6
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

2.รู ปสามเหลี่ยมแทนแรง ( Triangle rule )


หากเขียนรู ปแทนแรง A และ B ในลักษณะที่หวั ลูกศรต่อกันดังรู ป ด้านที่สามของ สามเหลี่ยมในทิศทางที่วน
สวนทางกับ A และ B จะแทนทั้งขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ R

A R= แรงลัพธ์ R=แรงลัพธ์ b
a r A
B B
( ก) สี่ เหลี่ยมด้านขนานแทนแรง (ข ) สามเหลี่ยมแทนแรง
(Parallelogram Method ) (Triangle Rule’ method)
จะเห็นว่ารู ปสามเหลี่ยมแทนแรง ก็คือ ครึ่ งหนึ่งของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานแทนแรงนัน่ เองขนาดของ
แรงลัพธ์ R หาได้จากกฎของ Cosine
R = A2  B 2  2 AB cos r
R A B
หรื อ = =
sin r sin a sin b
การหาค่ าแรงลัพธ์ หมายถึง การหาค่าแรงที่เกิดขึ้นจากการรวมแรงในแนวแกน X และ Y เข้าด้วยกัน
แต่เนื่ องจากว่าแรงในแนวแกน X และ Y กระทามุมต่อกันดังนั้นแรงลัพธ์จึงหาได้ดงั นี้

R= F12  F22

F2
θ= tan-1
F1
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 7
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1 มีแรง 10 นิวตันและ 5 นิวตัน กระทาที่จุด O พร้อมๆกัน โดยมีแนวแรงทั้งสองกระทามุมกัน 90
องศา จงหาแรงลัพธ์ที่กระทา ณ จุด O

F2=10 N

F2F=1=55NN

วิธีทา วิธีทา
ใช้กฎของ CosineCosine
ใช้กฎของ หาแรงลัพธ์ ( Rพ)ธ์ ( R )
หาแรงลั
R = RF=12  F22
= 5=2  10 2
= 11.18
= 11.18 N N
ตอบ พแรงลั
ตอบ แรงลั ธ์เท่าพกัธ์บเท่11.18
ากับ N11.18 N
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 8
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2 มีแรงขนาด 50นิวตัน กระทาที่จุด O พร้อมๆกัน โดยที่แนวแรงทั้งสองทามุมกัน 60 องศา
จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อจุด O และหาทิศทางของแรงลัพธ์

R
F1= 30N
60 α
F2= 50N
วิธีทา 1. หาแรงลัพธ์
จากสู ตร R = A2  B 2  2 AB cos 
= 30 2  50 2  2  30  50  cos 60
= 70 N
2. หาทิศทางของแรงลัพธ์
A sin 
จากสู ตร tan α =
B  A cos 
30 sin 60
tan α = =0.39
50  30 cos 60
α = tan-1 0.339
α= 21.786 องศา

ตอบ แรงลัพธ์เท่ากับ 70 นิวตัน มีทิศทางทามุม 21.786 กับแรง F2


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 2 9
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 3 จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์( R)

F2=400 N
R
65 α 65
O F1=900 N
วิธีทา
จากโจทย์กาหนด F1= 900 N
F2= 400 N
θ = 65 องศา
โจทย์ตอ้ งการหา R และ
จากสู ตร R = A2  B 2  2 AB cos 
R = 400 2  900 2  2  400  900  cos 65
R = 1274285.14
R = 1128.84 N
หาทิศทางจากสมการ
A sin 
จากสู ตร tan α =
B  A cos 
400 sin 65
tan α =
900  400 cos 65
α = tan-1 0.339
= 18.73 องศา

ตอบ แรงลัพธ์เท่ากับ 1128.84 นิวตัน มีทิศทางทามุม 18.73 กับแรง F1


สัปดาห์ที่ หน้าที่
แบบฝึ กหัด 2 10
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลศาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
1. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์(R)

F2= 600N R

55 α 55
O F1=200 N
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เฉลยแบบฝึ กหัด 2 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2118 กลสาสตร์โครงสร้าง 2
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
1.จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์(R)

F2= 600N R

55 α 55
O F1=200 N
วิธีทา จากโจทย์กาหนด
F1= 200 N
F2= 600 N
θ = 55 องศา
หาขนาด (R)
จากสู ตร R = A2  B 2  2 AB cos 
R = 600 2  200 2  2  600  200  cos 55
R = 537658 .3
R = 733.25 N
หาทิศทาง ( α )
A sin 
จากสู ตร tan α =
B  A cos 
600 sin 55
tan α =
200  600 cos 55
α = tan-1 0.9032
α = 42.08 องศา
ตอบ แรงลัพธ์ เท่ากับ 733.25 นิวตัน มีทิศทางทามุม 42.08 องศา กับแรง F1

You might also like