You are on page 1of 8

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 17 1
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
สรุ ปหลักการเขียนแรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัด

จากที่ได้ศึกษาการเขียนแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั มาแล้วพอสมควรก็จะสามารถสรุ ปได้เป็ นหลักการและ


ขั้นตอนต่างๆได้ตามทฤษฎีที่จะกล่าวโดยสรุ ป
การคานวณหาค่ าแรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัดของคานดีเทอร์ มิเนท
ได้กล่าวมาแล้วว่าค่าแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั ในคานดีเทอร์ มิเนท มีความสาคัญต่อการออกแบบขนาด
หน้าตัดขององค์อาคาร เนื่องจากแรงกระทาภายนอก ดังนั้นการคานวณหาค่าโมเมนต์ดดั จึงจาเป็ นต้องใช้
สมการ ( Fx = 0 , Fy = 0 , M = 0) โดยให้พิจารณาตามตัวอย่างที่ได้ศึกษามาแล้ว ซึ่ งการคานวณหา
ค่าแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั นิยมคานวณจากซ้ายมือไปขวามือ พิจารณาค่าแรงเฉื อนหรื อโมเมนต์ดดั เหนือ
แกน 0-0 มีค่าเป็ น บวก (+) และใต้แกน 0-0 มีค่าเป็ น (-) แต่ในบางกรณี อาจพิจารณาจากขวามือไปทางซ้ายมือ
ก็ได้ เข่น กรณี คานปลายยืน (Cantilever Beam) นิยมคานวณค่าโมเมนต์ดดั จากปลายคานมายังจุดรองรับ
เสมอ (Free End to Support)

การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัด


หลักการเขียนไดอะแกรมของแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั โดยทัว่ ไปจะแบ่งหน้ากระดาษออกเป็ น 2 ส่ วน ตาม
ความยาวของหน้ากระดาษ จุดประสงค์เพื่อให้ทางซ้ายมือเขียนรู ปแสดงน้ าหนัก (Loading Diagram ; LD.) รู ป
ทางอิสระ (Free Body Diagram ; FBD) รู ปแสดงแรงปฏิกิริยา (Reaction Diagram ; RD.) รู ปแสดงแรงเฉือน
(Shear Force Diagram ; SFD.) และรู ปโมเมนต์ดดั (Bending Moment Diagram ; BMD.)
ส่ วนทางด้านซ้ายมือมีไว้เพื่อเขียนรายการคานวณ แรงปฏิกิริยา ค่าแรงเฉื อน และค่าโมเมนต์ดดั

ขั้นตอนในการเขียนไดอะแกรมแรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัด


1. เขียนรู ปแสดงน้ าหนัก (Loading Diagram ; LD.) แสดงลักษณะของคานและน้ าหนักที่กระทาตามโจทย์
2. เขียนรู ปแสดงแรงปฏิกิริยา (Reaction Diagram ; RD.) เพื่อแสดงแรงปฏิกิริยาทีจุดรองรับเนื่ องจาก
น้ าหนักกระทาตามโจทย์ (อาจจะใช้ LD. เป็ น RD. รู ปเดียวกันก็ได้)
3. คานวณหาค่าแรงปฏิกิริยา โดยใช้สมการสมดุล ( Fx = 0 , Fy = 0 , M = 0)
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 2
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
4. เขียนรู ปร่ างอิสระ (Free Body Diagram ; FBD) และสมการหาแรงเฉือนและโมเมนต์ดดั
5. นาค่าแรงเฉื อนที่ได้มาเขียนรู ปแรงเฉื อน (Shear Force Diagram ; SFD.) โดยเริ่ มจากทางด้านซ้ายมือและ
ค่าแรงเฉื อนที่จุดสุ ดท้ายจะมีค่าเป็ นศูนย์เสมอ
6. นาค่าโมเมนต์ที่ได้มาเขียนรู ปโมเมนต์ดดั (Bending Moment Diagram ; BMD.) โดยเริ่ มจากทางด้าน
ซ้ายมือ และค่าโมเมนต์ดดั จุดสุ ดท้าย จะมีค่าเป็ นศูนย์เสมอ แต่ในบางกรณี เช่น คานปลายยืน่ จะต้อง
เขียนรู ปโมเมนต์ดดั (Bending Moment Diagram ; BMD.) จากปลายคานมายังจุดรองรับก็ได้
7. หาค่าแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั สู งสุ ดหรื อต่าสุ ด (Vmax , Vmin , Mmax , Mmin )

ข้ อสั งเกต ในการเขียนรู ปแรงเฉือน (Shear Force Diagram ; SFD.) และเขียนรู ปโมเมนต์ดดั (Bending
Moment Diagram ; BMD.)

กรณี ต่างๆที่มีแรงกระทาภายนอกที่จะทาให้รูปแรงเฉื อนและรู ปโมเมนต์ดดั มีลกั ษณะที่ต่างกันไป


1. กรณี ที่แรงกระทาเป็ นจุด (Point Load)
F

A B

L
F
2 FL/4
0
F
2
SFD. BMD.

ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD) จะเป็ นเส้นตรงตามแนวดิ่ง


ลักษณะ Bending Moment Diagram (BMD) จะเป็ นเส้นตรงเอียงซ้ายหรื อเอียงขวาและขึ้นหรื อลง
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 3
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
2. กรณี ที่ไม่มีแรงกระทา (No Load)
ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD) จะเป็ นเส้นตรงในแนวราบ
ลักษณะ Bending Moment Diagram (BMD) จะเป็ นเส้นตรงเอียง
3. กรณี ที่มีแรงแผ่กระจายสม่าเสมอ (Uniformly Distributed Load)
w
A B

L
wL 2
wL /8
2
0
wL 0
2
SFD. BMD.

ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD) จะเป็ นเส้นตรงที่มีความลาดเอียง


ลักษณะ Bending Moment Diagram (BMD) จะเป็ นเส้นโค้งพาราโพลาแบบราบเรี ยบ

4. กรณี ที่น้ าหนักแผ่กระจายในทางเพิ่มขึ้นหรื อลดลงอย่างสม่าเสมอ (Uniformly Varityping Distributed


Load)
w

A B

L
L wL2
ึ 3 9ึ 3

SFD. BMD.

ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD) จะเป็ นเส้นโค้งพาราโพลาที่มีความราบเรี ยบ


ลักษณะ Bending Moment Diagram (BMD) จะเป็ นเส้นโค้งที่มีความราบเรี ยบ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 4
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา :วิทยาลัยเทคนิคน่ าน

5. แรงเฉื อนมีค่าเป็ นศูนย์ โมเมนต์ดดั จะมีค่าสู งสุ ดและต่าสุ ด


6. โมเมนต์ดดั มีค่าเป็ นศูนย์ การโก่งตัว หรื อการแอ่นตัว (Deflection) ของคานจะเปลี่ยนจากโค้งขึ้นเป็ น
โค้งลงหรื อในทางตรงข้าม จุดที่มีค่าเป็ นศูนย์น้ ี เรี ยกว่า จุดดัดกลับ

การหาตาแหน่ งและค่ าโมเมนต์ ดัดสู งสุ ด


การหาตาแหน่งและค่าโมเมนต์ดดั สู งสุ ดมีข้ นั ตอนการคานวณดังต่อไปนี้
1. เขียนรู ปร่ างอิสระ (F.B.D.) ณ จุดที่ แรงเฉื อนมีค่าเท่ากับศูนย์
2. กาหนดระยะทางให้เป็ นตังแปร x
3. เขียนสมการของแรงเฉือน Fy = 0
4. กาหนดให้ค่าเฉื อนในสมการมีค่าเท่ากับศูนย์ แล้วแก้สมการหาค่า x
5. ให้ใช้จุดนี้ (ระยะทาง x ) เป็ นจุด Take Moment หาค่าโมเมนต์ดดั สู งสุ ด (Mmax)
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 5
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
ตัวอย่างที่ 19 . จงหาค่าของแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั พร้อมทั้งเขียนแรงเฉื อนและและโมเมนต์ดดั ที่จุดต่าง ๆ
150 kN
หาแรงปฏิกริ ิยา
150 kN
200 kN/m [ Ma = 0 + ]
C D  
 Rby  8  150  2   2004 42 2    150  6 
 

=0
2.00 m 4.00 m 2.00 m
150  2    200  4  4   1506 
8.00 m Rby =
8

150 kN 150 kN Rby = 550 kN.


200 kN/m [ Fy = 0 + ]
Rax = 0
Ray  Rby  150   2004  150 = 0
Ray = 550 Rby = 550
Ray = 550 kN.
FBD พิจารณาแรงเฉื อน
VA = Ray = 550 kN
550 VCL = 550 kN.
400 VCR = 550-100 = 400 kN.
+
VDL = 400 - (200x4) = -400 kN.
0
X=4 VDR = -400 - 150 = -550 kN.
-
400 VBL = -550 kN.
550 VBR = -550 + Rby = -550+550 = 0
SFD
พิจารณาโมเมนต์ ดัด
MA = 0 kN - m.
MC = (550x2) = 1100 kN - m.
1500 MD = (550x6) - (150x4) - (200x4x 4 )
1100 1100 2
= 1100 kN-m.
+
MB = (550x8) - (150x6) - (200x4x  4  2  )
0 2 
- (150x2) = 0 kN - m.
BMD
Mmax = (550x4) – (150x2) – ( 200  2  2 ) = 1500 kN - m.
2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 6
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
ตัวอย่างที่ 20 . จงหาค่าของแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั พร้อมทั้งเขียนแรงเฉื อนและและโมเมนต์ดดั ที่จุดต่าง ๆ
10 kN หาแรงปฏิกริ ิยา
10 kN 10 kN
[ Ma = 0 + ]
D 20 kN/m
C E  Rby  4   20  4  2  10  2  105  101 = 0
A B  20  4  2   10  5  101
Rby =
4

1m 2m 2m 1m Rby = 50 kN.
10 kN [ Fy = 0 + ]
10 kN 10 kN
20 kN/m
Ray  Rby   204  10  10 = 0
Ray = 80 + 10 + 10 - Rby = 100 - 50
Rax = 0
Ray = 50 kN.

Ray = 55 Rby = 55 พิจารณาแรงเฉื อน


Free body diagram VC = -10 kN.
45 VAL = -10 kN.
VAR = -10 + Ray = -10 + 55 = 45 kN.
5 10
VDL = 45 - (20x2) = 5 kN.
+
0
10 5 -
VDR = 5 - 10 = - 5 kN.
x=2m 45 VBL = - 5 - (20 x 2) = - 45 kN.
SFD VBR = -45 + Rby = - 45 + 55 = 10 kN.
40
VEL = 10 kN.
VER = 10 - 10 = 0 kN.
+
พิจารณาโมเมนต์ ดัด
0 MC = 0 kN - m.
- -
10 10 MA = -(10x1) = - 10 kN - m.
BMD MD = -(10x3)+(55x2)–(20x2x 2 ) = 40 kN - m.
2

MB = -(10x5)+(55x4)–(20x4x )–(10x2) = -10 kN - m.


4
2

ME = - (10x6)+(55x5)–(20x4x  4  1 )–(10x3)+(55x1)


2 
= 0 kN - m.
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 7
รหัสและชื่อวิชา : 21062118 กลศาสตร์ โครงสร้ าง 2
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
ตัวอย่างที่ 21 . จงหาค่าของแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั พร้อมทั้งเขียนแรงเฉื อนและและโมเมนต์ดดั ที่จุดต่าง ๆ
หาแรงปฏิกริ ิยา
100 kg. 100 kg
[ Ma = 0 + ]
200 kg/m. C
A B Ma  100  1.5  100  3   20031.5 = 0
Ma = 150  300  900
1.5 m. 1.5 m. Ma = 1350 kN.

3 m. [ Fy = 0 + ]
Ray  100  100   2003 = 0
100 kg. 100 kg
Ray = 800
Ma = 1350
200kg/m. C พิจารณาแรงเฉื อน
Rax = 0 A B
VA = Ray = 800 kN.
VCL = 800 – (200x1.5) = 500 kN.
Ray = 800 VCR = 500 –100 = 400 kN.
Free body diagram VBL = 400 – (200x1.5) = 100 kN.
VBR = 100 – 100 = 0 kN.
800 พิจารณาโมเมนต์ ดัด
500
400 100 MA = - 1350 kN - m.
0
MC = - 1350 + 800  1.5 - (200x1.5x 1.5 )
2
SFD
= - 375 kN – m
0 MB = - 1350 + (800 x 3) -(100 x 1.5) -(200 x 3 x 3 )
375 2
= 0 kN - m.

1350
BMD

You might also like