You are on page 1of 23

ความเชื่อมั่น (Reliability)

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยุวลี ญาณปรีชาเศรษฐ

จัดทำโดย
กัญญาวีร์ เครือคช รหัสนักศึกษา 640610120 (ภาคปกติ)
นนทศักดิ์ แสงนนท์ รหัสนักศึกษา 640610123 (ภาคปกติ)
วรวัชร เลขะวัฒนะ รหัสนักศึกษา 640610125 (ภาคปกติ)

⑧ yua
ศุภกิจ ธูปแก้ว รหัสนักศึกษา 640610126 (ภาคปกติ)
รุจิภาส วารีนิล รหัสนักศึกษา 640610220 (ภาคปกติ)
ศุภวิชญ์ เพ็งจันทร์ รหัสนักศึกษา 640610222 (ภาคปกติ)
นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 3

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (464301)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566
ความเชื่อมั่น (Reliability)

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยุวลี ญาณปรีชาเศรษฐ

จัดทำโดย
กัญญาวีร์ เครือคช รหัสนักศึกษา 640610120 (ภาคปกติ)
นนทศักดิ์ แสงนนท์ รหัสนักศึกษา 640610123 (ภาคปกติ)
วรวัชร เลขะวัฒนะ รหัสนักศึกษา 640610125 (ภาคปกติ)
ศุภกิจ ธูปแก้ว รหัสนักศึกษา 640610126 (ภาคปกติ)
รุจิภาส วารีนิล รหัสนักศึกษา 640610220 (ภาคปกติ)
ศุภวิชญ์ เพ็งจันทร์ รหัสนักศึกษา 640610222 (ภาคปกติ)
นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 3

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ (464301)


คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566

คำนำ

รายงาน เรื่องความเชื่อมั่น (Reliability) ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัด และประเมินผลการ


เรียนรู้ (464301) จัดทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความเชื่อมั่น (Reliability) ในการ
วัด และการประเมินผลการเรียนรู้
โดยรายงานฉบับนี้มีขอบเขตของเนื้อหา ประกอบด วย ทฤษฎีความเที่ยง ความหมายของความ
เที่ยง ประเภทของความเที่ยง ได แก 1. ความเที่ยงแบบสอบซ้ำ (Measure of Stability) 2. ความเที่ยง
แบบใช ข อสอบคล ายกัน (Measure of Equivalence) 3. ความเที่ยงแบบวัดความคงที่และสมมูลกัน
(Measure of Stability and Equivalence) 4. ความเที่ยงแบบวัดความคงที่ภายใน (Measure of Internal
Consistency)วิธีการหาค่าแบบต่าง ๆ ได้แก่

• Split half method (ใช้วิธีแบ่งตามข้อคู่ข้อคี่ และอธิบายการใช้สูตรของ Spearman-Brown)


• Kuder-Richardson methods (KR20, KR21, สูตร, ยกตัวอย่าง)
• Cronbach’s Alpha method (สูตร, ยกตัวอย่าง)
• Hoyt’s Analysis of Variance method (สูตร, ยกตัวอย่าง)
ป จจัยที่มีผลต อสัมประสิทธิ์ความเที่ยง
ในการจัดทำรายงานฉบับนี้คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ยุวรี ณาญปรีชาเศรษฐ
อาจารย์ผู้สอนรายวิชาการวัด และการประเมินผลการเรียนรู้ (464301) ที่ได้ให้คำแนะนำในการศึกษา ค้นคว้า
ข้อมูลตลอดจนการตรวจสอบ และการปรับปรุงแก้ไขจนทำให้รายงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะ
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษา หากมีข้อผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
1.ทฤษฎีความเชื่อมั่น
nu 1
tos
12.ความหมายของความเชื่อมั่น 1
JaEr 3.ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
·
cein 2

E snorur
1. ความเชื่อมั่นแบบความคงที่ของคะแนน (Stability reliability) 2-4
2. 2. ความเชื่อมั่นโดยใช้แบบทดสอบที่เหมือนกันสองฉบับ (Equivalent-form reliability) 5
IWES
11820-11820
3. ความเชื่อมั่นโดยใช้ความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency Reliability) 5
4.วิธีแบ่ง
I
11820 E วิธีแบ่งครึ่งแบบทดสอบ (Split-Half Method) 6-8
วิ ธข
ี องคู เ ดอร์ - ริ ชาร์ ด สั น (Kuder-Richardson Procedure) RRO KR21 9-12
200 E
Serieวิธีของครอนบัค (Cronbach Alpha Procedure) 13-15

go 5.ความเชื่อมั่นแบบวัดความคงที่และสมมูลกัน( Measure of Stability and Equivalence) 16


6.วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance) 17
~
Ins 7.ปัจจัยที่มีผลต่อสัมประสิทธิ์ความเที่ยง (Reliability) 18
บรรณานุกรม ค
t
I
ob 1
ความเชื่อมั่น (Reliability)
ความเชื่อมั่น (reliability) หมายถึง ความคงที่ของคะแนนที่ได้จากการสอบนักเรียนคนเดีย วกัน หลาย
ครั้งในแบบทดสอบชุดเดิม เช่นนำแบบทดสอบวิชาวัดผลไปสอบกับนายสมคิด ครั้งแรกนายสมคิดได้คะแนน
25 เว้นไปประมาณ 1 สัปดาห์ นำแบบทดสอบฉบับเดิมสอบกับนายสมคิดอีกครั้งนึง แสดงว่าแบบทดสอบชุด
นั้นมีความเชื่อมั่นได้ แต่ถ้าปรากฏว่า นำแบบทดสอบชุดเดิม ไปสอบกับนายสมคิดซ้ำอีกครั้ง หนึ่งแล้ว นาย
สมคิดได้คะแนนเปลี่ยนไปจากเดิม แสดงว่า แบบทดสอบขาดความเชื่อมั่น ทำให้ผลการสอบนั้นมีความคาด
เคลื่อนไปจากคะแนนความรู้จริงของนักเรียน ความคลาดเคลื่อนชนิดนี้เรียกว่า ความคลาดเคลื่อนในการวัด
(Error of Measurement) และในการวัดผลนั้น จะต้องสร้างเครื่องมือที่ต้องการนำไปวัดผล ให้มีคุณภาพ ที่
เชื่อมั่นได้ เพื่อผลการวัดที่ออกมาจะได้เป็นคะแนนความรู้จริงของนักเรียนที่ปราศจากความคลาดเคลื่อนในการ
วัด และค่าความเชื่อมั่นจะมีค่าอยู่ระหว่าง -1 ถึง + 1 และจะพิจารณาเฉพาะค่าที่เป็นบวก เท่านั้น ซึ่งควรมีค่า
มากกว่า 0.70 จึงจะเป็นแบบทดสอบที่มีความเชื่อมั่นได้ ส่วนการคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น จะคำนวณในรู ป
ของการประมาณค่า หาในรูปของค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น มักใช้สัญลักษณ์ว่า rtt , rxx หรือ rcc โดยทั่วไป
แล้ว ความเชื่อมั่นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงกลุ่ม (Reliability of norm-
referenced test) กับความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Reliability of criterion-referenced test)
และในแต่ละประเภทของการคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นนั้น จะมีสูตรที่ใช้ในการประมาณค่าความเชื่อมั่นอยู่
หลายสูตรด้วยกัน ซึ่งมิธีคำนวณจำแนกตามลักษณะของแบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
นิยามของ Reliability มีผู้ให้นิยามที่แตกต่างกัน ดังนี้
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2556: 137) ได้ ให้ ความหมายของความเชื่ อมั ่ น (reliability) หมายถึง
คุณสมบัติของเครื่องมือวัดที่แสดงให้ทราบว่าเครื่องมือนั้นๆ ให้ผลการวัดที่คงที่ ไม่ว่าจะใช้วัดกี่ครั้งก็ตามกับ
กลุ่มเดิม
วรรณี แกมเกตุ (2555: 220) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของความเชื ่ อ มั ่ น ของเครื ่ อ งมื อ วิ จัย
(Reliability) หมายถึง คุณสมบัติของเครื่องมือที่ให้ผลการวัดที่คงที่ หรือคงเส้นคงวา เมื่อทำการวัดซ้ำหลาย ๆ
ครั้งด้วยเครื่องมือที่วัดสิ่งเดียวกัน
สุวิมล ติรกานันท์ (2551: 152) ได้ให้ความหมายของความเชื่อมั่น หมายถึง ความคงที่ของผล
ที่ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือชุดเดียวกันกับคนกลุ่มเดียวกัน ในเวลาที่ต่างกัน
2

we
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงกลุ่มมีวิธีคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ 4 วิธี ดังนี้
1. ความเชื่อมั่นแบบความคงที่ของคะแนน (Stability reliability) เป็นการประเมินค่าความเชื่อมั่น
โดยพิจารณาจากคะแนนที่ได้จากการทดสอบ 2 ครั้ง ในเครื่องมือวัดชุดเดียวกันว่ายังคงมีค่าเท่ากันเหมือนเดิม
หรือไม่ ถ้ามีค่าเหมือนเดิม แสดงว่ามีความคงที่ของคะแนน วิธีนี้เป็นวิธีการทดสอบซ้ำ(Test-Retest method)
วิธีการหาความเชื่อมั่นแบบนี้มีจุดอ่อนลงช่วงเวลาของการทดสอบซ้ำ กล่าวคือถ้าการทดสอบครั้งแรกกับครั้งที่
สองเว้นช่วงการทดสอบนานไปผลของการทดสอบครั้งที่สองอาจจะมีผลจากนักเรียนได้รับการฝึกในเรื่องที่
ทดสอบมากขึ้นหรือนักเรียนอาจจะลืมเนื้อหานั้นไปทำให้การประมาณค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบต่ ำ
เกินไป แต่ถ้าการทดสอบครั้งแรกกับการทดสอบครั้งที่สองเว้นช่วงการทดสอบเร็วไปนักเรียนอาจจะจำข้อ สอบ
ได้ ทำให้การประมาณค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบสูงเกินไป ผลของการเปลี่ยนแปลงค่าความเชื่อมั่นนี้
เรียกว่าเกิด carry-over effect
การหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีนี้มักมีปัญหาและยากต่อการตีความหมายหากนำมาใช้ในทางจิตวิทยา
และการศึกษา เนื่องจากข้อสอบส่วนมากเป็นแบบ Relative Measures (Webb et al, 1966, อ้างถึงใน
อนั น ต์ ศรี โสภา, 2525, น. 67) ปัญหาเกี่ย วกั บความจำ จะมี ผลกระทบต่ อ การหาค่ าความเชื ่ อ มั ่ น ของ
แบบทดสอบที ่ เ กี ่ ย วกั บ Psychomotor Domain น้ อ ยมาก แต่จะมีผลมากกับแบบทดสอบที่เ กี่ย วกั บ
Cognitive Domain และ Affective Domain
วิธีการประมาณค่าความเชื่อมั่นแบบทดสอบซ้ำนี้จะคำนวณหาค่าโดยหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนน
การสอบสองครั้งโดยใช้สูตรคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเปียร์สัน (Pearson product-moment
coefficient correlation) โดยใช้สูตร

𝑁Σ𝑥𝑦 − Σ𝑥Σ𝑦
𝑟𝑡𝑡 =
√[𝑁Σ𝑥 2 − (Σ𝑥 )2 ][𝑁Σ𝑦 2 − (Σ𝑦)2 ]
เมื่อ rtt = สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
N = จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ
∑x = ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในการสอบครั้งแรก
3
∑x2 = ผลรวมของคะแนนในการสอบครั้งแรกแต่ละตัวนำมายกกำลังสอง
∑y = ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในการสอบครั้งที่สอง
∑y2 = ผลรวมของคะแนนในการสอบครั้งที่สองแต่ละตัวนำมายกกำลังสอง
∑xy = ผลรวมของผลคูณทั้งหมดระหว่างคะแนนสอบครั้งแรกกับครั้งที่สอง
15
6012

ตัวอย่างที่ 1.1 แบบทดสอบวิชาภาษาอังกฤษสอบกับผู้เรียน 5 คน จำนวนสองครั้งโดยเว้นช่วงการสอบ


ประมาณ 2 สัปดาห์ ได้ผลการสอบดังนี้
ผู้เรียน (x) การสอบครั้งที่ 1 (y) การสอบครั้งที่ 2
1 5 7
2 9 10
3 7 9
4 7 7
5 12 17

วิธีทำ จากข้อมูลในตาราง หาค่าต่อไปนี้ (ประกอบด้วยค่าทั้งหมด 5 ค่า คือ x, y, x2, y2 และ xy)

ผู้เรียน x y x2 y2 xy

1 5 7 25 49 35
2 9 10 81 100 90
3 7 9 49 81 63
4 7 7 49 49 49
5 12 17 144 289 204
รวม 40 50 348 568 441
4
จากสูตร
𝑁Σ𝑥𝑦 − Σ𝑥Σ𝑦
𝑟𝑡𝑡 =
√[𝑁Σ𝑥 2 − (Σ𝑥 )2 ][𝑁Σ𝑦 2 − (Σ𝑦)2 ]

แทนค่า N = 5, Σx = 40, Σy = 50, Σx2 = 348, Σy2 = 568 และ Σxy = 441
(5×441)−(40×50)
𝑟𝑡𝑡 =
√[(5×348)−(40)2 ][(5×568)−(50)2 ]

2205 − 2000
=
√[1740 − 1660][2840 − 2500]

205
=
√140 × 340

205
=
√47600

= 0.94
ดังนั้น แบบทดสอบภาษาอังกฤษฉบับนี้มีค่าความเชื่อมั่น 0.94
I wor
5
&
2. ความเชื่อมั่นโดยใช้แบบทดสอบที่เหมือนกันสองฉบับ (Equivalent-form reliability) วิธีนี้เป็นวิธี
ที่แตกต่างจาก Test-retest method คือจะใช้แบบทดสอบสองชุดที่มีเนื้อหา ค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวน
เท่ากัน ทำการประมาณค่าความเชื่อมั่น โดยการใช้แบบทดสอบที ่มี ลั กษณะวัด สิ ่งเดี ย วกัน หรือคู่ ขนานกั น
(Parallel forms) ไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มเดีย วกัน แล้วนำคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบทั้ง สองฉบับที่
คู่ขนานกันนี้ไปคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โดยใช้สูตรของเปียร์สันเช่นเดียวกับการหาความเชื่อมั่น
แบบความคงที่ของคะแนน ความเชื่อมั่นแบบนี้มีปัญหาตรงสร้างเครื่องมือวัดให้คู่ขนานกัน ที่ แบบทดสอบจะ
เป็นคู่ขนานกันนั้นนอกจากแบบทดสอบทั้งสองฉบับนั้นจากวัดในเนื้อหาเดียวกันแล้วยังต้องมีคะแนนเฉลี่ย
ความแปรปรวน และค่าสถิติอื่น ๆ เท่ากันด้วย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องค่อนข้างยากที่จะสร้างเครื่องมือวั ดให้คู่ขนาน
กันได้ ในกรณีที่คะแนนของผู้เรียนมาจากแบบทดสอบที่มี องค์ ประกอบคล้ายกัน แต่คำถามต่ างกั น ดังนั้น
ความคลาดเคลื่อนจึงเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับความรู้โดยเฉพาะผู้เรียน อาจทราบคำถามที่ ถูกต้อง
ในแบบทดสอบฉบับแรก แต่อาจไม่ทราบคำตอบที่ถูกต้องซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน (equivalent) ในแบบทดสอบ
ฉบับหลังหรือไม่ก็ได้ ความแตกต่างของคะแนนที่ได้นี้ถือว่าเป็นความคลาดเคลื่อน ในการหาค่าความเชื่อมั่นโดย
วิธีนี้ ย่อมมีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากข้อสอบที่คล้ายกัน ความแตกต่างของสเกลหรือความแตกต่างของ
ข้อสอบในแบบทดสอบทั้งสองฉบับ
สิ่งที่ควรระวังในการสร้างข้อสอบแบบคล้ายกัน ได้แก่ ความเท่ากัน (ในความหมายของสถิติ) ได้แก่
ความเท่ากันของค่าเฉลี่ย (mean) ความเท่ากันของค่าความแปรปรวน (variance) และความเท่ากันของ item
intercorrelation และความเท่ากันในด้านเนื้อหา (content) นับว่าเป็นส่วนสำคัญในข้อสอบทั้ง สองฉบั บที่มี
เนื้อหาคล้ายหรือขนานกัน ในการสร้างข้อสอบทั้งสองฉบับให้มีความคล้ายกัน จำเป็นที่จะต้องสร้าง Test Blue
Print ให้เหมือนกัน ความยากง่ายของข้อสอบแต่ละฉบับต้องมีความคล้ายกันข้อต่อข้อ ชนิดของข้อสอบ คำสั่ง
คำชี้แจง วิธีการให้คะแนน และระยะเวลาในการทำข้อสอบต้องเหมือนกัน
แบบทดสอบชนิด Equivalent forms สามารถนำไปใช้ในการประเมินผลหลักสูตร ประเมินผลการ
เรียนรู้ของผู้เรียนได้ เช่น Pretest และ Post Test เพื่อกำจัดอิทธิพลการจดจำข้อสอบของผู้เรียนและการ
เรียนรู้ที่เกิดจากการทำข้อสอบครั้งแรกลงไป

& 3. ความเชื่อมั่นโดยใช้ความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency Reliability) เป็นการหาค่า


ความเชื่อมั่นที่ใช้แบบทดสอบฉบับเดียวทำแบบทดสอบเพียงครั้งเดียว มีวิธีการประมาณค่าความเชื่อมั่นดังนี้

6683
grow
6
วิธีที่ 1 วิธีแบ่งครึ่งแบบทดสอบ (Split-Half Method) แบ่งแบบทดสอบเป็นสองส่วนโดยแบ่ง ให้ แต่
ลำส่วนมีลักษณะคู่ขนานกัน นิยมแบ่งเป็นการจับข้อคู่และข้อคี่เมื่อวิเคราะห์หาค่าความยากเป็นรายข้อ แล้ ว ก็
เรียงข้อสอบจากข้อง่ายไปยังข้อยากแล้วนำไปสอบกับผู้เรียน เมื่อสอบเสร็จแล้วผู้สอนตรวจให้คะแนนโดยแยก
เป็นสองส่วน คือ ข้อคู่ และ ข้อคี่ แล้วหาค่าสหสัมพันธ์ของคะแนนทั้งสองส่วน โดยใช้สูตรของเปียร์สัน
(Pearson Product-Moment Coefficient Correlation) คือ
𝑁Σ𝑥𝑦 − Σ𝑥Σ𝑦
𝑟1 =
2 √[𝑁Σ𝑥 2 − (Σ𝑥 )2 ][𝑁Σ𝑦 2 − (Σ𝑦)2 ]
จะได้ค่าความเชื่อมั่นเพียงครึ่งฉบับ (r1/2) จากนั้นจึงนำไปหาค่าความเชื่อมั่นของทั้งฉบับโดยใช้สูตรของสเปียร์
แมนบราวน์ (Spearman-Brown Formular) ดังนี้
2𝑟1
2
𝑟𝑡𝑡 =
1 + 𝑟1
2

เมื่อ 𝑟𝑡𝑡 = ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ

𝑟1 = ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบครึ่งฉบับ
2
1828 7
ตัวอย่าง 3.1 แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์สอบกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 5 คน ได้คะแนนข้อคู่และข้อคี่ดังนี้
ผู้เรียน (x) ข้อคู่ (y) ข้อคี่
1 10 10
2 10 8
3 9 9
4 8 8
5 8 9
จงหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบฉบับนี้
วิธีทำ จากตารางข้อมูลหาค่าดังนี้
ผู้เรียน x y x2 y2 xy
1 10 10 100 100 100
2 10 8 100 64 80
3 9 9 81 81 81
4 8 8 64 64 64
5 8 9 64 81 72
รวม 45 44 409 390 397

𝑁Σ𝑥𝑦− Σ𝑥Σ𝑦
จากสูตร 𝑟1 =
2 √[𝑁Σ𝑥 2 −(Σ𝑥)2 ][𝑁Σ𝑦 2 −(Σ𝑦)2 ]

จากตาราง N = 5, Σx = 45, Σy = 44, Σx2 = 409, Σy2 = 390, Σxy = 397


(5×397) −(45×44)
แทนค่า 𝑟1 =
2 √[(5×409)−(45)2 ][(5×390)−(44)2 ]

1985 −1980
𝑟1 =
2 √[2045−2025][1950−1936]

5
𝑟1 =
2 √20×14
5
𝑟1 =
2 √280
8
5
𝑟1 =
2 16.73

𝑟1 = 0.30
2
2𝑟1
2
จากสูตร 𝑟𝑡𝑡 =
1+𝑟1
2

2×0.30
𝑟𝑡𝑡 = 1+0.30
0.60
𝑟𝑡𝑡 =
1.30
0.60
𝑟𝑡𝑡 = 1.30

𝑟𝑡𝑡 = 0.46
ดังนั้น ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์เท่ากับ 0.46
zi 9
วิธีที่ 2 วิธีของคูเ ดอร์ - ริช าร์ด สัน (Kuder-Richardson Procedure) โดยวิ ธี นี้ จะต้ อ งมี ลั ก ษณะที ่ วั ด
องค์ประกอบร่วมกันและคะแนนที่ทำถูกได้ 1 คะแนน และทำผิดได้ 0 คะแนน หากให้คะแนนนอกเหนือจากนี้
จะหาค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีนี้ไม่ได้ มี 2 สูตร ได้แก่ KR.20 และ KR.21 ดังนี้
KR.20
𝑘 𝛴𝑝𝑞
𝑟𝑡𝑡 = {1 − 2 }
𝑛−1 𝜎

เมื่อ k คือ จำนวนข้อสอบ


จำนวนผู้เรียนที่ทำถูก
p คือ สัดส่วนของคนที่ทำข้อนั้นได้ = จำนวนผู้เรียนที่ทำผิด

q คือ สัดส่วนของผู้เรียนที่ทำข้อนั้นผิด = 1-p

σ 2 คือ คะแนนความแปรปรวนของแบบทดสอบทั้งฉบับ หาได้จาก


𝑁Σ𝑥 2 −(Σx)2
𝜎2 = 𝑁2
son 10
ตัวอย่าง 3.2 &
นำแบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ไปทดสอบกับผู้เรียน 5 คน ได้ผลดังนี้ 5, 4, 3, 1, 3 จงหาค่า
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบฉบับนี้
-

วิธีทำ นำกระดาษคำตอบของกลุ่มตัวอย่างมาดูเป็นรายข้อว่าทำผิดและทำถูกข้อใด แล้วนำมาบรรจุ


ในตารางดังต่อไปนี้
->
คน/ข้อ
- 1 2 3 4 5 x x2
1 1 1 1 1 1 5 25

↓ 2
3
4
1
1
1
1
0
0
1
1
0
1
1
0
0
0
0
4
3
1
16
9
1
5 0 1 1 0 1 3 9
Σ 4 3 4 3 2 16 60
p 0.8 0.6 0.8 0.4
0.6
q 0.2 0.4 0.2 0.4 0.6
pq
- 0.16 0.24 0.16 0.24 0.24
--
Σ𝑝𝑞 = 0.16 + 0.24 + 0.16 + 0.24 + 0.24 = 1.04

จะได้
innensunvruses 𝑁Σ𝑥 2 −(Σx)2
𝜎2 =
𝑁2
5×60−162
= 52
300−256
= 25
44
= 25

= 1.76
sc 11
𝑘 𝛴𝑝𝑞
จากสูตร 𝑟𝑡𝑡 = {1 − }
𝑛−1 𝜎2
5 1.04
แทนค่า 𝑟𝑡𝑡 = 5−1 {1 − 1.76}
5
𝑟𝑡𝑡 = 4 {1 − 0.59}
5
𝑟𝑡𝑡 = 4 × 0.41
2.05
𝑟𝑡𝑡 = 4

𝑟𝑡𝑡 = 0.51

ดังนั้น แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์นี้มีค่าความเชื่อมั่นโดย KR.20 มีค่า 0.51

conten
KR.21
𝑘 𝜇(𝑘−𝜇)
จากสูตร 𝑟𝑡𝑡 = {1 − }
𝑘−1 𝑘𝜎2

เมื่อ k คือ จำนวนข้อสอบ


Σ𝑥
𝜇 คือ คะแนนเฉลี่ย คำนวณจาก 𝑁

𝜎2 คือ คะแนนความแปรปรวน
12
จากตัวอย่าง 3.2

คำนวณค่า 𝜎2 = 1.76
Σ𝑥 16
𝜇= = = 3.2
𝑁 5
𝑘 𝜇(𝑘−𝜇)
ดังนั้น 𝑟𝑡𝑡 = {1 − }
𝑘−1 𝑘𝜎2
5 3.2(5−3.2)
𝑟𝑡𝑡 = {1 − }
5−1 5×1.76
5 5.76
𝑟𝑡𝑡 = {1 − }
4 8.8
5
𝑟𝑡𝑡 = {1 − 0.65}
4
5
𝑟𝑡𝑡 = × 0.35
4
1.75
𝑟𝑡𝑡 = 4

𝑟𝑡𝑡 = 0.44
ดังนั้น แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ที่หาค่าโดย KR.21 มีค่า 0.44
sor 13
วิธีที่ 3 วิธีของครอนบัค (Cronbach Alpha Procedure) เป็นการหาค่าความเชื่อมั่นในรูปของสัมประสิทธิ์
แอลฟา (α-Coefficient) โดยพัฒนามาจากสูตร KR.20 เพราะสามารถตรวจหาค่าความเชื่อมั่นของ
แบบทดสอบที่ไม่ได้ให้คะแนน 1 และ 0 ได้ สูตรที่ใช้คือ

𝑘 Σ𝜎𝑖2
𝛼= {1 − 2 }
𝑘−1 𝜎
เมื่อ 𝛼 คือ สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น
k คือ จำนวนข้อสอบ

𝜎𝑖2 คือ คะแนนความแปรปรวนรายข้อซึ่งหาได้จากสูตร

𝑁Σ𝑥𝑖2 − (Σ𝑥𝑖 )2
𝜎𝑖2 =
𝑁2
โดยที่ Σ𝑥𝑖 คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนในข้อที่ i

Σ𝑥𝑖2 คือ ผลรวมของคะแนนในข้อที่ i ของแต่ละคนยกกำลังสอง


N คือ จำนวนผู้เข้าสอบ

𝜎2 คือ คะแนนความแปรปรวนของทั้งฉบับคำนวณจากสูตร

𝑁Σ𝑥 2 − (Σ𝑥)2
𝜎2 =
𝑁2
โดยที่ Σ𝑥 คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนของข้อสอบทั้งฉบับ

Σ𝑥 2 คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแต่ละคนยกกำลังสอง
Warn 14
ตัวอย่าง 3.3 แบบสอบถามความคิดเห็นจำนวน 5 ข้อ สอบถามความคิดเห็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 6 คน
แต่ละข้อใช้มาตราวัดแบบ 3 ค่า คือ
เห็นด้วย ให้คะแนนเท่ากับ 3
เฉย ๆ ให้คะแนนเท่ากับ 2
ไม่เห็นด้วย ให้คะแนนเท่ากับ 1
ผลการวัดปรากฏดังตารางต่อไปนี้ ให้หาค่าความเชื่อมั่น

คน/ข้อ 1 2 3 4 5 x x2
1 2 2 1 1 2 8 64
2 1 2 2 2 2 9 81
3 1 2 2 2 1 8 64
4 1 1 2 2 2 8 64
5 2 1 2 2 2 9 81
6 1 1 1 1 1 5 25
Σ𝑥𝑖 8 9 10 10 10 47 379
Σ𝑥𝑖2 12 15 18 18 18
𝜎𝑖2 0.22 0.25 0.22 0.22 0.22

𝜎𝑖2 = 0.22 + 0.25 + 0.22 + 0.22 + 0.22 = 1.13

𝑁Σ𝑥 2 −(Σ𝑥)2
𝜎2 = 𝑁2
6×379−(47)2
𝜎2 = 62
2274−2209
𝜎2 = 36
2274−2209
𝜎2 = 36
65
𝜎2 =
36
15

𝜎 2 = 1.81
𝑘 Σ𝜎𝑖2
จากสูตร 𝛼 = 𝑘−1 {1 − }
𝜎2
5 1.13
จะได้ 𝛼 = 5−1 {1 − 1.81}
5
𝛼 = 4 {1 − 0.62}
5
𝛼 = 4 {0.38}

𝛼 = 0.48
ดังนั้น แบบสอบถามความคิดเห็นมีค่าความเชื่อมั่น 0.48
tod
y
16

B ความเชื่อมั่นแบบวัดความคงที่และสมมูลกัน( Measure of Stability and Equivalence) หรือวิธี


ทดสอบซ้ำด้วยเครื่องมือที่สมมูล เป็นการทดสอบผู้ให้ข้อมูลกลุ่มเดียวกัน 2 ครั้ง ในเวลาที่ต่างกันโดยใช้
เครื่องมือการวิจัยที่มีความสมมูลกัน แล้วน าคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบ ทั้ง 2 ฉบับหาค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ดังแสดงขั้นตอนในภาพ (ศิริชัย กาญจนวาสี,2544 : 40) สำหรับองค์ประกอบที่ส่งผล
ต่อวิธีการนี้ก็คือ คุณลักษณะที่จะวัดต้องคงที่ การใช้ช่วงเวลา สอบซ้ำที่เหมาะสม และความสมมูลกันของ
เครื่องมือวิจัย และวิธีการที่สมดุลในการจัดการดำเนินการ ทั้ง 2 ฉบับ

สมมูลกัน
เครื่องมือวิจัยชุด A เครื่องมือวิจัยชุด B
ใช้เวลาต่างกัน

คะแนน X คะแนน Y

𝑋𝑌
วิธีการทดสอบแบบซ้ำและสมมูล
bu 17
วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance)
วิธีนี้เป็นการหาจากค่าความแปรปรวนของคะแนนสอบโดยตรง ใช้หาค่าความเชื่อมั่นของ
แบบทดสอบทั้งแบบอัตนัย ปรนัย และแบบวัดเจตคติ โดยการนำไปทดสอบครั้งเดียว แล้วนำมาวิเคราะห์ความ
แปรปรวนแบบสองทาง (Two Way Analysis of Variance) เพื่อแทนค่าใน สูตรที่ใช้หาค่าความเชื่อมั่น (Ebel
and Frisbie, 1986 : 70-78) สูตรของฮอยท์ (Hoyt’s) (Mehrens, 1973 : 47-48)
𝑀𝑆𝐸
𝑟ℎ = 1 −
𝑀𝑆𝑃
𝑀𝑆𝐸 คือ คะแนนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน (Error)

𝑀𝑆𝑃 คือ คะแนนความแปรปรวนระหว่างคน (Between people)


sw 18
ปัจจัยที่มีผลต่อสัมประสิทธิ์ความเที่ยง (Reliability)
F.N. Kerlinger (1992) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความเที่ยง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ด้าน
ดังนี้
1. องค์ประกอบด้านเหตุการณ์ที่ไม่คงที่ (Events producing inconsistency) แยกได้เป็น True
score change และ Error score change โดย 2 ตัวนี้ มักเกิดขึ้นเมื่อมีการวัดมากกว่า 1 ครั้ง เช่น แบบการ
สอบซ้ำ (Test-Retest)
2. องค์ประกอบด้านข้อกระทงแบบสอบความยาวของแบบสอบ (Test length) โดยกฎเกณฑ์
โดยทั่วไปคือ การเพิ่มความยาวของแบบสอบจะทาให้ค่า ความเที่ยงเพิ่มขึ้น เนื่องจากจะสามารถมีข้อสอบที่มี
ความหลากหลาย ส่งผลให้เกิดความครอบคลุมใน สิ่งที่ต้องการวัด อย่างไรก็ดี ข้อสอบที่ยาวเกินไปจะส่งผลต่อ
ความตั้งใจเช่นกัน
3. องค์ประกอบด้ำนสถิติ (Statistical Factors) ซึ่งก็คือความแปรปรวนของกลุ่มผู้ได้รับการทดสอบ
หากกลุ่มผู้ได้รับการทดสอบ มีลักษณะคล้ายคลึงกัน จะทาให้พิสัยคะแนนความสามารถกลุ่มน้อย ซึ่งจะไปลด
ค่าความเที่ยง ในทางกลับกัน หากกลุ่มผู้ได้รับการทดสอบมีลักษณะที่หลากหลาย จะไปขยายพิสัยช่วงคะแนน
ของกลุ่ม ซึ่งจะส่งผลให้เพิ่มค่าความเที่ยงได้

บรรณานุกรม

You might also like