You are on page 1of 32

เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6

เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 1


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

ระบบโครงร่ างของร่ างกาย

۞ ระบบโครงร่ างของสัตว์ แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด


1. ระบบโครงร่ างแข็งภายนอกลาตัว (exoskeleton)
- เป็ นโครงร่างที่ปกคลุมอยู่ภายนอก
- เช่น …………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
- ส่วนใหญ่เป็ นสารจาพวกหินปูน (CaCO3) และไคติน (chitin)

2. ระบบโครงร่ างแข็งภายในลาตัว (endoskeleton)


- พบเป็ นแกนของร่างกายสัตว์
- เช่น …………………………………………………
…………………………………………………
- ส่วนใหญ่เป็ นสารจาพวกหินปูน (CaCO3) แก้ ว หรื อโปรตีน

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 2


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

การเคลื่อนไหวของคนอาศัยโครงสร้ าง 3 อย่ าง คือ


1. ………………………………………………….
2. ………………………………………………….
3. ………………………………………………….

กระดูก Skeletal

۞ กระดูกแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท


1) ………………………………………………….
- เป็ นเนื ้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีองค์ประกอบเป็ น ………………………..
- เซลล์ของกระดูกแข็ง เรี ยกว่า ………………………………..……..

2) ………………………………………………….
- เป็ นเนื ้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีองค์ประกอบเป็ น ……………………….
……………………….
- เซลล์ของกระดูกอ่อน เรี ยกว่า ……………………………………...

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 3


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ การสร้ างกระดูกแข็ง (ossification)

การสร้ างกระดูกแข็ง (ossification)

☼ การสร้ างกระดูกแข็งโดยสร้ างจากเซลล์ เริ่มต้ น เช่ น ……………………….

Mesenchymal cell

เปลี่ยนแปลงรูปร่ าง

แบ่งเซลล์อย่างรวดเร็วรวมเป็ นกลุ่มแน่น

Osteoblast แต่ละเซลล์สร้ างสารต่างๆ และมีแคลเซียมมาเกาะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 4


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

☼ การสร้ างกระดูกแข็ง โดยสร้ างจากกระดูกอ่ อน เช่ น ……………………………..….

สร้ างกระดูกอ่อนก่อน

มีแคลเซียมมาสะสม

กระดูกของมนุษย์จะเจริญเติบโตเต็มที่เมื่ออายุประมาณ 18-20 ปี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 5


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ โครงสร้ างของกระดูกแข็ง
☼ …………………………………………….
☼ …………………………………………….
☼ …………………………………………….

☼ เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum)
☺ คือ เนื ้อเยื่อหนาที่ห่อหุ้มกระดูกอยู่
☺ ประกอบด้ วย - เส้ นประสาท
- หลอดเลือด : นาเลือดมาเลี ้ยงเซลล์กระดูกซึ่งอยู่ด้านใน

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 6


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

☼ กระดูกทึบ (compact bone)


☺ compact bone ประกอบด้ วย ……………………………อัดกันแน่นหลายหน่วย
☺ Haversian system แต่ละระบบ ประกอบด้ วยท่อ ……………………………
☺ Haversian canal แต่ละท่อ ถูกล้ อมรอบด้ วย …………………………. เป็ นชันๆ

☺ lamella แต่ละชัน้ มีช่องว่าง เรี ยกว่า ……………………………
☺ lacuna แต่ละช่อง จะมีเซลล์กระดูก เรี ยกว่า ……………………………อยู่ภายใน
☺ lacuna แต่ละช่อง ติดต่อกันทาง ……………………………
ดังนัน้ osteocyte จะได้ รับสารอาหารผ่านทาง ?.........................................

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 7


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

☼ กระดูกพรุน (spongy bone)


☺ กระดูกชันนี
้ ้คล้ ายรวงผึ ้ง หรื อ ฟองน ้า เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นร่างแห
☺ ซึ่งมีความแข็งแรงเช่นเดียวกับกระดูกทึบ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 8


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ ระบบโครงกระดูกแข็ง
→ ในทารกแรกเกิด จะมีกระดูกอ่อน ……………………… ชิ ้น
→ เมื่อโตเป็ นผู้ใหญ่ กระดูกอ่อนจะเชื่อมกันกลายเป็ นกระดูกแข็ง ………………ชิ ้น
→ และจะเชื่อมกันสมบูรณ์เมื่ออายุประมาณ 20-25 ปี

☼ กระดูกแข็งทังหมดในร่
้ างกายมี 206 ชิ ้น
☺ กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) มีทงหมด
ั้ ……………… ชิ ้น
1) กระดูกกะโหลกศีรษะ…………… . มี ……………… ชิ ้น
2) กระดูกสันหลัง ……………...…… มี ……………… ชิ ้น
3) กระดูกซี่โครง ………………….… มี ……………… ชิ ้น
4) กระดูกหน้ าอก ……………..…… มี ……………… ชิ ้น

☺ กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton) มีทงหมด


ั้ ……………… ชิ ้น
กระดูกแขน ขา
กระดูกเชิงกราน (pelvic girdle)
กระดูกสะบัก (scapula)
กระดูกไหปลาร้ า (clavicle)
กระดูกฝ่ ามือฝ่ าเท้ ากระดูกนิ ้ว

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 9


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) มีทงั ้ หมด 80 ชิน้

1. กระดูกกะโหลกศีรษะ (skull) มี 29 ชิ ้น

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 10


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

2. กระดูกสันหลัง (vertebra) มี 26 ชิ ้น

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 11


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

3. กระดูกซี่โครง (rib) มี 12 คู่ 24 ชิ ้น


4. กระดูกหน้ าอก (sternum) มี 1 ชิ ้น

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 12


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton) มีทงั ้ หมด 126 ชิน้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 13


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton) มีทงั ้ หมด 126 ชิน้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 14


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ ข้ อต่ อ (joint)
→ ข้ อต่อเป็ นบริเวณที่กระดูก 2 ท่อนมาเชื่อมต่อกัน
→ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ตามลักษณะการเคลื่อนไหวได้ ดังนี ้
☼ ข้ อต่อชนิดที่เคลื่อนไหวไม่ได้ …………………………………..
☼ ข้ อต่อชนิดที่เคลื่อนไหวได้ บ้าง …………………………………..
☼ ข้ อต่อชนิดที่เคลื่อนไหวได้ มาก …………………………………..

☼ ข้ อต่ อชนิดที่เคลื่อนไหวไม่ ได้ (fibrous joint)


- เป็ นข้ อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้
- มีเนื ้อเยื่อบางๆ ยึดกระดูก 2 ชิ ้นไว้
- เช่น …………………………………..

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 15


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

☼ ข้ อต่ อชนิดที่เคลื่อนไหวได้ บ้าง (cartilagenous joint)


- เป็ นข้ อต่อที่เคลื่อนไหวได้ เล็กน้ อย
- มีกระดูกอ่อน (cartilage) หุ้มอยู่ที่ปลายของกระดูกทัง้ 2 ชิ ้นที่มาต่อกัน
- เช่น ……………………………………….…………..
…………………………………….……………..
…………………………………………………..

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 16


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

☼ ข้ อต่ อชนิดที่เคลื่อนไหวได้ มาก (Sylnovial joint)


- เป็ นข้ อต่อชนิดเคลื่อนไหวได้ มาก
- มีกระดูกอ่อน (cartilage) หุ้มอยู่ที่ปลายของกระดูกทัง้ 2 ชิ ้นที่มาต่อกัน
- ระหว่างปลายกระดูกทัง้ 2 ที่เชื่อมต่อกัน จะมีโพรงของข้ อต่ออยู่
- ภายในโพรงมีของเหลว เรี ยกว่า …………………………………..
ช่วยทาให้ ข้อต่อเคลื่อนที่ได้ สะดวก

ข้ อต่ อแบบบานพับ (hinge joint) ข้ อต่ อแบบบอล แอนด์ ซอกเคท


(ball and sockett joint)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 17


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

เอ็น
→ เอ็นทาหน้ าที่ช่วยในการเคลื่อนที่
→ เอ็นในร่างกายของคนเรา มี 2 ชนิด
1. …………………………. ยึดระหว่าง ………………………….
2. …………………………. ยึดระหว่าง ………………………….

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 18


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กล้ ามเนือ้ : muscle


การหดและคลายตัวของกล้ ามเนื ้อจะทาให้ เกิดการเคลื่อนไหว
กล้ ามเนื ้อที่พบในร่างกายของคน แบ่งตามลักษณะโครงสร้ างและการทางานได้ 3 ชนิด คือ
☼ กล้ ามเนื ้อหัวใจ ………………………….
☼ กล้ ามเนื ้อเรี ยบ ………………………….
☼ กล้ ามเนื ้อลาย ………………………….

۞ ตารางเปรียบเทียบกล้ ามเนือ้ ชนิดต่ างๆ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 19


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กล้ ามเนือ้ เรียบ กล้ ามเนือ้ ลาย กล้ ามเนือ้ หัวใจ


ลักษณะ smooth muscle striated muscle cardiac muscle

รูปร่ าง

ลาย

จานวนนิวเคลียส

ตาแหน่ งนิวเคลียส

การทางาน

อวัยวะที่พบ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 20


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ โครงสร้ างของกล้ ามเนือ้ ลาย (striated muscle)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 21


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ กล้ ามเนือ้ ลาย มีลายหรือไม่ ?

۞ กล้ ามเนือ้ ลาย มีลายได้ อย่ างไร ?

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 22


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

→ ลายตามขวาง เกิดขึ ้นจากชนิดของ myofilament ที่แตกต่างกัน


→ ซึ่ง myofilament ประกอบด้ วย - ………………………….
- ………………………….
→ ลายตามขวาง จะแบ่งเป็ น zone ต่างๆ ดังนี ้
…………………………. - มี ………………………….
- มีลกั ษณะลายหนา ทึบแสงและไม่สม่าเสมอ
…………………………. - มี ………………………….
- เป็ นที่แถบสีจาง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 23


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

☼ thick myofilament
- ประกอบด้ วยโปรตีน …………………………. เป็ นเส้ นใยสองเส้ นพันกันเป็ นเกลียว
- ปลายข้ างหนึ่งจะขดมีลกั ษณะกลม เป็ นส่วนหัว เรี ยกว่า ………………………….
- ส่วนปลายที่เหลือจะพันกันเป็ นเกลียว เรี ยกว่า………………………….

☼ thin myofilament
- จะประกอบด้ วยโปรตีน ………………………….
………………………….
………………………….
- actin จะมีตาแหน่งสาหรับให้ crossbridge ของ myosin มาเกาะ
เรี ยกบริเวณนี ้ว่า ………………………….

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 24


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 25


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ ทาไมกล้ ามเนือ้ ลาย จึงหดตัวได้ ?


→ ที่ crossbridge จะมีเอนไซม์ ………………………….อยู่
→ เมื่อมี Ca2+ มากระตุ้น เอนไซม์ ATPase จะสร้ าง ………………………….
→ พลังงานที่เกิดขึ ้นจะทาให้ crossbridge มีการเคลื่อนไหวไปเกาะกับ actin
→ ทาให้ มีการเลื่อนของ …………………………. เข้ าหา………………………….
สมมติฐานการเลื่อนของฟิ ลาเมนท์
(sliding filament hypothesis)
การหดตัวของกล้ ามเนือ้ เกิดจากการเลื่อนของแอกทิน เข้ าหากันตรงกลาง ซึ่ง
ต้ องอาศัย ATP และแคลเซียม ที่ทาให้ เส้ นใยกล้ ามเนือ้ หดตัวได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 26


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

sliding filament hypothesis

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 27


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

۞ การทางานของกล้ ามเนือ้
→ กล้ ามเนื ้อในร่างกายมีการทางานร่วมกันเป็ นคู่ ๆ ในสภาวะตรงกันข้ าม
แบบ……………………………………………….……….
→ กล้ ามเนื ้อด้ านใดหดตัวแล้ วทาให้ อวัยวะนันงอเข้
้ ามา
จะเรี ยกว่า กล้ ามเนื ้อ………………………….
→ กล้ ามเนื ้อด้ านใดหดตัวแล้ วทาให้ อวัยวะนันเหยี
้ ยดออก
จะเรี ยกว่า กล้ ามเนื ้อ………………………….

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 28


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

จงเปรียบเทียบการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อโครงร่าง

� ตะคริวเป็นอาการเกร็งตัวหรือหดเกร็งของกล้ามเนื้อ เพราะเหตุใดถ้ามีการออกกำลังกายหนัก
จึงอาจเป็นตะคริวได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 29


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

จงเติมคําศัพท์เป็นภาษาอังกฤษ (เอกพจน์) ลงในช่องว่างตามหมายเลขที่กําหนด โดยให้


มีความหมายตรงกับข้อความ

แนวนอน
3. กล้ามเนื้อที่เกาะติดกับกระดูก ทําหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เรียกว่า
................. muscle
6. ไซโทพลาซึมชั้นนอก มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว พบในอะมีบา
7. กล้ามเนื้อบริเวณต้นแขนของมนุษย์ที่เมื่อหดตัวทําให้แขนข้างนั้นงอเข้า
8. แถบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีความเหนียว ยึดระหว่างกระดูกกับกระดูก

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 30


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

12. กล้ามเนื้อบริเวณต้นแขนของมนุษย์ที่เมื่อหดตัวทําให้แขนข้างนั้นเหยียดออก
13. ตําแหน่งที่กระดูกตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปมาต่อกัน
14. การเคลื่อนที่โดยการยื่นส่วนของไซโทพลาซึมออกไป พบในอะมีบาเรียกการเคลื่อนที่นี้
ว่า .............................................. movement
16. โปรตีนที่มีลักษณะเป็นสายหนาในเส้นใยกล้ามเนื้อเล็กทําให้แอกทินเคลื่อนที่
17. โปรตีนที่มีลักษณะเป็นสายบางในเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก
19. โครงสร้างที่อยู่รวมกันเป็นมัดภายในเซลล์กล้ามเนื้อหรือเส้นใยกล้ามเนื้อ มีลักษณะ
เป็นท่อนยาวเรียงซ้อนกัน
21. กล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวแล้ว ทําให้ขาของแมลงงอเข้า
22. การหดตัวและคลายตัวสลับกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุดในไส้เดือนดิน เป็นจังหวะเหมือน
ระลอกคลื่นซึ่งทําให้เกิดการเคลื่อนที่
23. กล้ามเนื้อผนังลําตัวของไส้เดือนดิน ที่เรียงตัวเป็นวงรอบลําตัว เรียกว่า........muscle
24. ชั้นที่แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและชั้นใน ลักษณะคล้ายเจล พบในแมงกระพรุน
แนวตั้ง
1. ส่วนของไซโทพลาซึมที่ยื่นออกมาชั่วคราว ใช้ในการเคลื่อนที่และฟาโกไซโทซิส
2. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบของเส้นใยกล้ามเนื้อซึ่งเป็นแหล่งสะสม Ca2+
เรียกอีกชื่อว่า .................... reticulum
4. กล้ามเนื้อของผนังลําตัวของไส้เดือนดินที่เรียงตามยาวขนานกับลําตัว เรียกว่า
......................... muscle
5. โครงสร้างที่ยื่นออกมาจากผนังลําตัวของไส้เดือนดิน ลักษณะคล้ายเข็มแหลม ช่วยใน
การเคลื่อนที่
9. แถบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีความเหนียว ยึดระหว่างกล้ามเนื้อและกระดูก
10. กล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวแล้ว ทําให้ขาของแมลงเหยียดออก
11. ท่อสําหรับพ่นน้ำออก ทําให้หมึกเคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของน้ำที่พ่น
14. กระดูกแกนกลางลําตัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วย กะโหลกศีรษะ กระดูก
สันหลัง กระดูกอกและกระดูกซี่โครง เรียกว่า ..................... skeleton
15. ช่องติดต่อกับภายนอกสําหรับปรับปริมาณน้ำภายในระบบท่อน้ำพบในดาวทะเล
18. โปรตีนที่ยื่นมาจากไมโครทูบูลกลุ่มหนึ่งไปยึดกับไมโครทูบูลอีกกลุ่มหนึ่ง พบในซิเลีย
และแฟลเจลลัม
20. ถุงที่มีแก๊สบรรจุไว้ ทําหน้าที่ควบคุมการลอยหรือการจมในปลา เรียกว่า swim
………...........

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 31


เอกสารประกอบการเรียนวิชา ชีววิทยา 5 (ว 33245) มัธยมศึกษาปี ที่ 6
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย

เอกสารประกอบการเรียน ชีววิทยา 5 (ว 33245)


การเคลือ่ นที่ในสิ่งมีชวี ิต
(Movement in Animals)

โดย คุณครูอุไรวรรณ กุลีช่วย


โรงเรียนศรียาภัย
ชื่อ………………………………………….…ชั้น……………เลขที่……….

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียน ศรียาภัย หน้ า 32

You might also like