You are on page 1of 37

งานขอสอบงานกำลังพล

และสวัสดิการตางๆ กองทะเบียนพล (40 ขอ

1. กรณีที่ขาราชการตำรวจขอลาออกเพื่อดำรงตำแหนงที่กำหนดโดยรัฐธรรมนูญ ตำแหนงทางการเมือง หรือเพื่อ


ลงสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหการลาออกจากราชการมีผล
เมื่อไร
ก. นับถัดจากวันที่ผูนั้นขอลาออก
ข. นับถัดจากวันที่ผูบังคับบัญชาอนุมัติ
ค. นับตั้งแตวันที่ผูนั้นขอลาออก
ง. นับตั้งแตวันที่ผูบังคับบัญชาอนุมัติ
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 99 วรรคสอง กรณีที่ขาราชการตำรวจ
ลาออกเพื่อดำรงตำแหนงที่กำหนดโดยรัฐธรรมนูญ ตำแหนงทางการเมือง หรือเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเปน
สมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหการลาออกมีผลนับตั้งแตวันที่ผูนั้นขอลาออก

2. ขาราชการตำรวจผูใดถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก หรือถูกสั่งใหออกจากราชการ ใหผูนั้นอุทธรณคำสัง่


ดังกลาวตอ ก.ตร. ภายในกี่วัน
ก. ภายใน 30 วันทำการนับแตวันทราบคำสั่ง
ข. ภายใน 30 วันนับแตวันทราบคำสั่ง
ค. ภายใน 15 วันทำการนับแตวันทราบคำสั่ง
ง. ภายใน 15 วันนับแตวันทราบคำสั่ง
(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 105 ขาราชการตำรวจผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งให
ออกจากราชการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณไดดังตอไปนี้
(1 กรณีถูกสั่งลงโทษ ภาคทัณฑ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน ใหอุทธรณคำสั่ง
ดังกลาวตอผูบังคับบัญชาของผูบ ังคับบัญชาที่สั่งลงโทษ แตในกรณีที่ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งลงโทษ ให
อุทธรณตอ ก.ตร.
(2 กรณีถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก หรือถูกสั่งใหออก จากราชการ ใหอุทธรณ
คำสั่งดังกลาวตอ ก.ตร.
การอุทธรณตาม (1 และ ( 2 ใหอุทธรณภ ายในสามสิบวันนับแตวันทราบคำสั่ง

3. ขาราชการตำรวจผูใดแตงเครื่องแบบตำรวจในขณะกระทำความผิดอยางใดอยางหนึ่งตามที่บัญญัติไวใน
ประมวลกฎหมายอาญา มีกำหนดโทษอยางไร
ก. โทษจำคุกตั้งแต 1 ป ถึง 7 ป
ข. โทษจำคุกตั้งแต 6 เดือน ถึง 1 ป
ค. โทษจำคุกตั้งแต 1 ป ถึง 8 ป
ง. โทษจำคุกตั้งแต 1 ป ถึง 10 ป
(ตอบ ขอ ก. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 109 ขาราชการตำรวจผูใดแตงเครื่องแบบตำรวจ
ในขณะกระทำความผิดอยางใดอยางหนึ่งตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีกำหนดโทษจำคุกอยาง
สูงตั้งแตหนึ่งปขึ้นไป ตองระวางโทษจำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงเจ็ดป
-2 -

4. ขอใดไมใชคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ก. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
ข. ผูแทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. ผูแทนสำนักงานอัยการสูงสุด
ง. ผูแทนกระทรวงมหาดไทย
(ตอบ ขอ ง. (ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ไมใชคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 115 ใหมีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบดวย ผูบัญชาการตำรวจ
แหงชาติ เปนประธานกรรมการ ผูแทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ผูแทนสำนักงานอัยการสูงสุด ผูแทน
กระทรวงยุติธรรม ผูแทนสำนักงบประมาณ ผูแทนกรมบัญชีกลาง ผูแทนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และรองผู
บัญชาการตำรวจแหงชาติ หรือผูชวยผูบัญชาการตำรวจแหงชาติที่ไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
จำนวน 2 คน เปนกรรมการใหประธานกรรมการแตงตั้งขาราชการตำรวจเปนเลขานุการคนหนึ่งและผูชวยเลาขานุการ
ไมเกินสองคน

5. คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบการเงินและบัญชี สงผูสอบบัญชีตรวจสอบภายในกี่วันนับแตวันสิ้นป
ปฏิทินทุกป
ก. 150 วัน
ข. 120 วัน
ค. 90 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 117 ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบการเงิน
และบัญชี สงผูสอบบัญชีตรวจสอบภายใน 120 วันนับแตวันสิ้นปปฏิทินทุกป ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน
เป น ผู  ส อบบั ญ ชี ข องกองทุ น ทุ กรอบป แลว ทำรายงานผลการสอบบัญ ชี ข องกองทุน เสนอต อ ก.ต.ช. และ
กระทรวงการคลัง

6. ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 และทีแกไขเพิ่มเติม มาตรา 82 โทษทางวินัยมีกี่สถาน


ก. 5
ข. 6
ค. 7
ง. 8
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา ๘๒ โทษทางวินัยมี 7 สถาน ดังตอไปนี้
(1 ภาคทัณฑ (2 ทัณฑกรรม (3 กักยาม (4 กักขัง (5 ตัดเงินเดือน (6 ปลดออก (7 ไลออก

7. การใหทำงานโยธา การใหอยูเวรยาม นอกจากหนาที่ประจำ หรือการใหทำงานสาธารณประโยชนซึ่งตองไม


เกิน 6 ชั่วโมงตอหนึ่งวัน ถือเปนการลงโทษสถานใด
ก. กักยาม
ข. ทัณฑกรรม
ค. กักขัง
ง. ภาคทัณฑ
-3 -

(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 82 การลงโทษทัณฑกรรม ไดแก การใหทำงาน
โยธา การใหอยูเวรยามนอกจากหนาที่ประจำ หรือการใหทำงานสาธารณประโยขนซึ่งตองไมเกินหกชั่วโมงตอหนึ่งวัน

8. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูเขารวมโครงการปรับเปลี่ยนกำลังพล
ก. เปนขาราชการตำรวจที่มียศไมเกินพลตำรวจโท
ข. เปนขาราชการตำรวจที่มีอายุตั้งแต 55 ปบริบูรณขึ้นไป
ค. มีเวลาราชการ 25 ปบริบรู ณขึ้นไป โดยไมรวมเวลาทวีคูณ
ง. มีเวลาราชการเหลือตั้งแต 1 ปขึ้นไป นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปนั้น
(ตอบ ขอ ข. (ตามแนวทางปฏิบัติในการเขารวมโครงการสับเปลี่ยนกำลังพล ขอ 2.1 คุณสมบัติของผูเขารวม
โครงการฯ

9. การแกไขวันเดือนปเกิดใน ก.พ. 7 ในกรณีไมมีตนฉบับสูติบัตรมาตรวจสอบแลวตองสงหลักฐานอื่นเพื่อ


ประกอบการพิจารณานั้นขอใดไมใชหลักฐานที่ใชประกอบการพิจารณา
ก. ทะเบียนบาน
ข. บัตรประจำตัวประชาชน
ค. หลักฐานทางทหาร
ง. หลักฐานทางการศึกษา
(ตอบ ขอ ข. ( ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการแกไขวัน เดือน ปเกิด ในทะเบียนประวัติขาราชการ
พ.ศ.2548 ขอ 9 วรรคที่ 2 ในกรณีที่เปนการพนวิสัยที่จะหาหลักฐานตามวรรคหนึ่งได ใหสงหนังสือรับรองจากสวน
ราชการหรือหนวยงานที่มีหนาที่เก็บรักษาสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิด ซึ่งแจงเหตุขอของที่ไมอาจหาสูติบัตรหรือ
ทะเบียนคนเกิดได พรอมดวยหลักฐานตาง ๆ ดังตอไปนี้
1. ทะเบียนสำมะโนครัวหรือสำเนาทะเบียนบาน
2. หลักฐานการศึกษาอยางใดอยางหนึ่งที่แสดงวัน เดือน ปเกิดจากสถานศึกษาทุกแหงที่ผูนั้นเคย
ศึกษา
3. หลักฐานทางทหารในกรณีที่ผูยื่นคำขอเปนขาราชการชาย ไดแก ใบสำคัญทหาร
กองเกิน (แบบ สด.9 หรือใบสำคัญทหารกองหนุน (แบบ สด.8 หรือทะเบียนทหารกองประจำการ (แบบ สก.3
หรือสมุดประจำตัวทหารกองหนุน
4. หลักฐานทางราชการแสดง วัน เดือน ปเกิดของพี่นองรวมมารดา ในกรณีที่มีพี่นองรวม
มารดา
5. หลักฐานอื่นของทางราชการที่ระบุวัน เดือน ปเกิด โดยชัดแจง (ถามี

10. ขาราชการตำรวจผูที่เกิดวันที่ 2 ตุลาคม 2534 จะมีวันครบเกษียณอายุราชการใน วัน เดือน ป พ.ศ. ใด


ก. 30 กันยายน 2594
ข. 30 กันยายน 2595
ค. 1 ตุลาคม 2594
ง. 1 ตุลาคม 2595
(ตอบ ขอ ข. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0522.321/ว 570 ลง 18 ม.ค.38 เรื่อง การซักซอมความเขาใจ
เกี่ยวกับการนับอายุบุคคล
-4 -

11. ผูพิจารณาอนุญาตการขอตรวจสอบขอมูลหรือขอสำเนาเอกสารทางทะเบียนประวัติจากหนวยงานตาง ๆ ใน
สังกัด ตร. ตองมีตำแหนงใด
ก. รอง สว.
ข. ตั้งแต รอง สว. หรือเทียบเทาขึ้นไป
ค. สว. หรือเทียบเทา
ง. ตั้งแต สว. หรือเทียบเทาขึ้นไป
(ตอบ ขอ ง. ( ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี
ลักษณะที่ 13 พ.ศ.2556 หมวดที่ 4 ขอ 13 ขอมูลเอกสารหลักฐานทางทะเบียนประวัติขาราชการตำรวจ เปน
เอกสารสวนบุคคลและเปนเอกสารทางราชการที่ไมพึงเปดเผย ที่จัดทำขึ้นเพื่อใชสำหรับการบริหารงานของ
หนวยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ การขอตรวจสอบขอมูลหรือสำเนาเอกสารทางทะเบียนประวัติจาก
หนวยงานตาง ๆ ในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ ผูขอตองระบุวาจะนำไปใชเพื่อการใดในหนาที่ที่รับผิดชอบ
และผูพิจารณาอนุญาตตองมีตำแหนงตั้งแตสารวัตรหรือตำแหนงเทียบเทาขึ้นไป ที่รับผิดชอบในการจัดเก็บ ควบคุม
ดูแลรักษาขอมูลเอกสารดังกลาว สวนบุคคลทั่วไปหรือหนวยงานอื่น ๆ ที่ขอตรวจสอบตองเปนไปตามกฎหมายวา
ดวยขอมูลขาวสารของราชการ

12. กรณีตามขอใดไมสามารถเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณได
ก. รับราชการมาแลว 4 ป บริบูรณ
ข. ปที่ผานมามีผลการประเมินการปฏิบัติราชการในระดับพอใช
ค. ถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัยอยางรายแรง
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชู
ยิ่งชางเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.2564
ขอ 12 (6 เปนผูที่ไมอยูในระหวาง ถูกกลาวหาวา
(ก. กระท ำผิ ดวิ นั ย อยางรายแรงและถู กตั้งกรรมการสอบสวน หรืออยูร ะหว าง
พิจารณาโทษทางวินัย หรืออยูระหวางอุทธรณคำสั่งลงโทษทางวินัย
ขอ 18 ในการนับระยะเวลาเพื่อเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณตามระเบียบ
นี้
หากเปนผูมีกรณีดังตอไปนี้ในปใด ใหเพิ่มกำหนดระยะเวลาการขอพระราชทานอีกกรณีละหนึ่งป
(2 เปนผูมีผลการประเมินการปฏิบัติราชการหรือการปฏิบัติงานตามภารกิจที่
กฎหมายกำหนดต่ำกวาระดับดี เวนแตเปนการขอพระราชทานตามหลักเกณฑที่กำหนดระยะเวลาดำรงตำแหนง
หรือระยะเวลาเลื่อนชั้นตราเกินกวาหาปบริบูรณ ใหพิจารณาผลการประเมินดังกลาวในระยะเวลาหาป
บัญชี 19 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณใหแกขาราชการตำรวจ ทายระเบียบ
สำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณฯ

13. ถาขาราชการตำรวจ ซึ่งปฏิบัติงานดานการปองกันปราบปรามในสังกัดไดรับอันตรายจากการปฏิบัติหนาที่


ราชการจนเปนเหตุใหพิการขาขาด แตเจาตัวประสงคจะรับราชการตอไป ตนสังกัดควรดำเนินการตามขอใด?
ก. สั่งใหออกจากราชการเทานั้น เพราะถือวาเปนผูขาดคุณสมบัติการเปนขาราชการตำรวจแลว
ข. ใหลาออกจากราชการเทานั้น เพราะถือวาเปนผูขาดคุณสมบัติการเปนขาราชการตำรวจแลว
ค. เสนอเรื่องไปยัง ตร. เพื่อขออนุมัติรัฐมนตรีเจาสังกัดสั่งใหขาราชการตำรวจดังกลาวคงอยูรับราชการ
ตาม พ.ร.บ. สงเคราะหขาราชการผูไดรับอันตรายหรือการปวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ พ.ศ.2546
-5 -

ง. ใหขาราชการตำรวจดังกลาวปฏิบัติราชการตอไป โดยไมตองดำเนินการใด
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.สงเคราะหขาราชการผูไดรับอันตรายหรือการปวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ พ.ศ.
2546 มาตรา 8 ถาอันตรายหรือการปวยเจ็บ หรือการถูกประทุษรายอันเกิดจากกรณีดังกลาวใน มาตรา 5 ทำให
ขาราชการตำรวจผูใดตกเปนผูทุพพลภาพหรือพิการ อันเปนเหตุจะตองออกจากราชการตามกฎหมาย ระเบียบ
หรือขอบังคับที่ใชอยู หากรัฐมนตรีเจาสังกัดพิจารณาเห็นวาขาราชการผูนั้นยังอาจปฏิบัติหนาที่ราชการอื่นใดที่
เหมาะสมไดและเมื่อขาราชการผูนั้นประสงคจะรับราชการตอไป รัฐมนตรีเจาสังกัดจะสั่งใหขาราชการผูนั้นไปรับ
ราชการในตำแหนงหนาที่อื่นก็ได

14. ขอใดคือทายาทของขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ หรือพิการหรือทุพพล


ภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ราชการไดและถูกสั่งใหออกจากราชการเพราะเหตุแหงความพิการหรือทุพพล
ภาพนั้น ที่จะไดรับการพิจารณาเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจในลำดับแรก
ก. บุตร (ผูสืบสายโลหิต
ข. สามีหรือภรรยาโดยชอบดวยกฎหมาย
ค. บุตรบุญธรรม
ง. พี่นองรวมบิดามารดา
(ตอบ ขอ ก. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0006.332/292 ลง 15 ม.ค.44 เรื่อง การปรับปรุงแนวทางปฏิบัติใน
การรับสมัครทายาทของขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ เขารับราชการตำรวจการ
พิจารณาคัดเลือกเพื่อบรรจุผูใดผูหนึ่งเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจ ใหพิจารณาตามลำดับกอนหลัง ดังนี้
(1 บุตร (ผูสืบสายโลหิต และหากมีบุตรหลายคนผูที่จะไดรับพิจารณา ไดแก บุตรที่มีอายุ
สูงสุดและถัดลงมาตามลำดับ
(2 สามีหรือภรรยา (โดยชอบดวยกฎหมาย ในกรณีที่ไมมีบุตรหรือมี แต ขอสละสิ ทธิ
หรือไมอยูในเกณฑที่จะเขารับราชการได
(3 บุตรบุญธรรม ซึ่งมีการจดทะเ บียนรับบุตรบุญธรรมไวกอนการเสียชีวิต หรือ สามี
ภรรยา (โดยพฤตินัย ซึ่งอยูกินฉันทสามีภรรยาโดยเปดเผยตามลำดับ
ตามบันทึกสั่งการ ผบ.ตร. ลง 22 มิ.ย.54 ทายหนังสือ สกพ. ที่ 0009.242/4836 ลง
16 มิ.ย.54 เรื่อง การแกไขหลักเกณฑการบรรจุทายาทของขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติ
หนาที่ราชการ สำหรับขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตหรือพิการหรือทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ราชการ
ไดและถูกสั่งใหออกจากราชการเพราะเหตุแหงความพิการหรือทุพพลภาพนั้น ไมมีทายาทตามที่กำหนดตามขอ
1 – 3 ขางตน สำนักงานตำรวจแหงชาติจึงจะพิจารณาพี่หรือนองรวมบิดามารดาเดียวกันโดยพิจารณาตามลำดับ
อายุ

15. การโอนขาราชการตำรวจไปรับราชการในสวนราชการหรือหนวยงานอื่น จะกระทำไดอยางไร ตามขอใด


ก. เมื่อเจาตัวสมัครใจและหนวยงานตนสังกัดไมขัดของ
ข. สวนราชการหรือหนวยงานตองการรับโอนผูนั้น
ค. สวนราชการหรือหนวยงานที่ขอรับโอนทำความตกลงกับ ตร.
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ขอ ง. ( ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พงศ.2547 มาตรา 62 การโอนขาราชการตำรวจไปรับราชการ
ในสวนราชการหรือหนวยงานอื่นจะกระทำไดเมื่อเจาตัวสมัครใจและสวนราชการหรือหนวยงานตองการจะรับ
โอนผูนั้น โดยใหสวนราชการหรือหนวยงานที่ขอรับโอนทำความตกลงกับสำนักงานตำรวจแหงชาติ
-6 -

16. ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 11


การศึกษา การฝกและอบรม หลักสูตรการฝกอบรมขาราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเปนขาราชการ
ตำรวจชัน้ สัญญาบัตร (หลักสูตร กอส. ผูเขารับการฝกอบรมจะสำเร็จการฝกอบรมต องมีระยะเวลาการฝกอบรม
ไมนอยกวารอยละเทาใด
ก. ไมนอยกวารอยละ 75
ข. ไมนอยกวารอยละ 80
ค. ไมนอยกวารอยละ 85
ง. ไมนอยกวารอยละ 90
(ตอบ ขอ ข. (ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่
11 การศึกษา การฝกและอบรม (ฉบับที่ 19 พ.ศ.2558 บทที่ 14 การฝกอบรมพื้นฐานสำหรับขาราชการตำรวจ
ชั้นสัญญาบัตร ขอ 11 วรรคสอง ทั้งนี้ ผูเขารับการฝกอบรมที่จะถือวาเปนผูสำเร็จการฝกอบรมจะตองมีระยะเวลาการ
ฝกอบรมไมนอยกวารอยละ 80 ของเวลาการฝกอบรมทั้งหมด ฯลฯ

17. ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 11


การศึกษา การฝกและอบรม หลักสูตรการฝกอบรมขาราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเปนขาราชการ
ตำรวจชั้นสัญญาบัตร (หลักสูตร กอส. หากจำนวนผูที่จะไดรับการฝกอบรมมีจำนวนเกินกวาที่จำนวนสถาน
ฝกอบรมจะรับได ใหพิจารณาจัดลำดับ ยกเวนขอใด
ก. วันสำเร็จการศึกษา
ข. อายุราชการ
ค. อายุตัว
ง. ระดับคุณวุฒิ
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี
ลักษณะที่ 11 การศึกษา การฝกและอบรม บทที่ 14 การฝกอบรมพื้นฐานสำหรับขาราชการตำรวจชั้นสัญญา
บัตร ขอ 4.2.3.1 ใหพิจารณาผูขอเขารับการฝกอบรมตาม 2.4.1 กอน ถาหากจำนวนผูที่จะไดรับการฝกอบรม
มีจำนวนเกินกวาที่จำนวนสถานฝกอบรมจะรับได ใหพิจารณาจัดลำดับ ดังนี้
(1 พิจารณาผูที่สำเร็จการศึกษากอน
(2 ถาสำเร็จการศึกษาพรอมกัน ใหผูที่เขารับการศึกษากอน
(3 ถาสำเร็จการศึกษาและเขารับการศึกษาพรอมกัน ใหผูที่มีอายุราชการมากกวากอน
4 ถาอายุราชการรวมกัน ใหผูที่มีอายุตัวมากกวากอน

18. ตามแนวทางการปฏิ บ ั ติ ในการบรรจุ ขาราชการตำรวจซึ่งลาออกจากราชการเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเป น


ผูแทนราษฎร แตไมไดรับเลือกตั้งกลับเขารับราชการ หากขาราชการตำรวจที่ลาออกดังกลาวประสงคจะสมัคร
กลับเขารับราชการ ใหยื่นคำรองแสดงความจำนงยังตนสังกัดเดิมภายในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบ ขอ ข. (ตามหนังสือ ตร. ดวนที่สุด ที่ 0004.21/1859 ลง 10 มี.ค.49 กำหนดแนวทางการปฏิบัติ
ในการบรรจุขาราชการตำรวจซึ่งลาออกจากราชการ เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเปนผูแทนราษฎรแตไมไดรับเลือกตั้ง
-7 -

กลับเขารับราชการ หากประสงคสมัครกลับเขารับราชการ ใหยื่นคำรองแสดงความจำนงยังตนสังกัดเดิมภายใน


30 วัน นับจากวันที่ถัดจากวันประกาศผลการเลือกตั้ง

19. การบรรจุและแตงตั้งขาราชการตำรวจซึ่งออกจากราชการไปแลวกลับเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจใน
ตำแหนง รองผูบังคับการ ผูใดเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
ก. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
ข. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง จากผูที่ ก.ตร. ใหความเห็นชอบ
ค. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอำนาจจากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผู
สั่งบรรจุและแตงตั้ง
ง. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอำนาจจากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผู
สั่งบรรจุและแตงตั้ง จาก ก.ตร. ใหความเห็นชอบ
(ตอบ ขอ ค. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยผูมีอำนาจสั่งบรรจุและแตงตั้งบุคคลภายนอกเขารับราชการเปน
ข า ราชการตำรวจ พ.ศ.2547 ข อ 2 การบรรจุและแตงตั้งบุคคลเขารับ ราชการเปน ขาราชการตำรวจให
ผูบังคับบัญชาดังตอไปนี้ เปนผูมีอำนาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง ฯลฯ
(3 การบรรจุแ ละแตงตั้งบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจ ตำแหนงตั้งแตรองผู
บังคับการและพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญหรือตำแหนงเทียบเทาลงมาถึงตำแหนงสารวัตร และพนักงาน
สอบสวนผูชำนาญการหรือตำแหนงเทียบเทา ใหผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ หรือผูบัญชาการที่ไดรับมอบหมาย
จากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ เปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้งจากผูที่ ก.ตร. ใหความเห็นชอบ
(4 การบรรจุและแตงตั้งในตำแหนงตาม (3 หากเปนการบรรจุและแตงตั้งขาราชการ
ตำรวจซึ่งออกจากราชการไปแลวกลับเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจตามมาตรา 63 (2 (ก และ (ข ใน
ตำแหนงที่ไมสูงกวาเดิม ใหผูบัญชาการตำรวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการ
ตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
การบรรจุและแตงตั้งตามวรรคแรกในหนวยงานระดับกองบัญชาการ ใหผูบัญชาการหรือผู
ดำรงตำแหนงเทียบเทา เปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
ฯลฯ

20. ขาราชการตำรวจยศพันตำรวจโทไดรับเงินเดือนระดับใด
ก. ระดับ ส.3
ข. ระดับ ส.2
ค. ระดับ ส.4
ง. ระดับ ส.1
(ตอบ ขอ ก. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 68 (7 ขาราชการ
ตำรวจยศพันตำรวจโท ใหไดรับเงินเดือนระดับ ส.3

21. ปจจุบันการเลื่อนเงินเดือนขาราชการตำรวจเลื่อนปละกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง
ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง
ง. 4 ครั้ง
-8 -

(ตอบ ขอ ข. (ตามกฎ ก.ตร.วาดวยการกำหนดหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนขาราชการ


ตำรวจพ.ศ.2556 ขอ 5 การเลื่อนเงินเดือนขาราชการตำรวจใหเลื่อนปละสองครั้ง ดังนี้
(1 ครั้งที่หนึ่งครึ่งปแรก ใหเลื่อนตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปที่ไดเลื่อน
(2 ครั้งที่สองครึ่งปหลัง ใหเลื่อนตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปถัดไป

22. บำเหน็จความชอบ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการใหบำเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.


2521 หมายถึงขอใด
ก. การเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ
ข. เงินบำนาญพิเศษ
ค. เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการปราบปรามผูกระทำความผิด (พ.ป.ผ.
ง. ก. และ ค.
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใหบำเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.2521
บำเหน็จความชอบ หมายความวา การเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ หรือใหเงินเพิ่มพิเศษ และการขอพระราชทาน
ยศและเครื่องราชอิสริยาภรณอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน แลวแตกรณี

23. ขาราชการตำรวจปฏิบัติหนาที่ปราบปรามผูกระทำความผิดและเสียชีวิตจากการตอสู จะไดรับสิทธิในขอใด


ก. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 3 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 3 ชั้นยศ
ข. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 7 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 5 ชั้นยศ
ค. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 2 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 2 ชั้นยศ
ง. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 5 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 4 ชั้นยศ
(ตอบ ขอ ข. (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการใหบำเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.2521 ขอ
7 (1 ผูใดไดทำการตอสูจนไดรับอันตรายถึงเสียชีวิต ทุพพลภาพหรือพิการจาการตอสู ประกอบมติ ครม. ในการ
ประชุม เมื่อ 2 ก.ค.39 อนุมัติหลักการใหชั้นยศขาราชการทหาร ตำรวจ ตามระเบียบขางตน ใหพิจารณาเลื่อน
เงินเดือนกรณีพิเศษไมเกิน 7 ชั้น และเลื่อนยศสูงขึ้น 5 ชั้นยศ

24. ขอใดไมใชองคประกอบการแตงตั้งยศสูงขึ้น
ก. ดำรงตำแหนงซึ่งมีระดับเงินเดือนของยศที่จะแตงตั้ง
ข. มีจำนวนปที่รับราชการตามที่กำหนดไว ในกฎ ก.ตร.
ค. รับเงินเดือนไมต่ำกวาขั้นต่ำสุดของยศที่จะแตงตั้ง
ง. มีคุณสมบัติเหมาะสมครบถวนและผานการประเมินแลว
(ตอบ ขอ ง. ((ไมใชองคประกอบการแตงตั้งยศสูงขึ้น ตาม กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการแตงตั้ง
ยศ พ.ศ.2554 การแตงตั้งยศสูงขึ้น ตองมีองคประกอบ ดังนี้
(1 ดำรงตำแหนงซึ่งมีระดับเงินเดือนของยศที่จะแตงตั้งได
(2 มีจำนวนปที่รับราชการตามที่กำหนดไวในกฎ ก.ตร. นี้ และ
(3 รับเงินเดือนไมต่ำกวาชั้นต่ำสุดของย ศที่จะแตงตั้ง

25. การขอพระราชทานยศจะดำเนินการป ๒ ครั้ง ภายในวันใด


ก. 2 ครั้ง ภายใน 15 เม.ย. และ 15 ต.ค. ของทุกป
ข. 2 ครั้ง ภายใน 1 เม.ย. และ 1 ต.ค. ของทุกป
-9 -

ค. 2 ครั้ง ภายใน 31 มี.ค. และ 30 ก.ย. ของทุกป


ง. 2 ครั้ง ภายใน 20 เม.ย. และ 20 ต.ค. ของทุกป
(ตอบ ขอ ก. (ตามประมวลไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 7 บทที่ 2 การขอพระราชทานยศ แกไขโดย ระเบียบ
สำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวยประมวลไมเกี่ยวกับคดีลักษณะที่ 7 ยศตำรวจ (ฉบับที่ 2 พ.ศ.2554 และ
หนังสือ ตร. ที่ 0009.254/ว 11 ลง 20 มี.ค.61 ขอ 2 การเสนอขอพระราชทานยศ ใหถือปฏิบัติตามระเบียบการตำรวจ
ไมเกี่ยวกับคดี เลม 1 ตอน 1 ประเภทบุคคล ลักษณะที่ 7 บทที่ 2 ทั้งนี้ นอกจากการจัดทำบัญชีขอพระราชทานยศทั้ง
ผูสมควรขอ และไมสมควรขอพระราชทานยศตามแบบที่ ตร. กำหนด

26. หลังจากทราบผลการประเมินการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หากผูรับการประเมินไมพอใจผลการ


ประเมินฯ สามารถรองทุกขตอคณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินฯ ที่ทำหนาที่พิจารณาคำรองทุกขภายในกี่วัน
ก. ภายใน 3 วันทำการ
ข. ภายใน 7 วันทำการ
ค. อยางชาไมเกิน 7 วันทำการ
ง. ภายใน 10 วันทำการ นับแตวันทราบผลการประเมินฯ
(ตอบ ขอ ง. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติสำหรับการ
ประเมินผล การปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 4 ขอ 3.3.2 ผูรับการประเมิน...หากผูรับการประเมินยังไม
พอใจใหรองทุกขตอคณะกรรมการพิจารณาผลการประเมิน ที่ทำหนาที่พิจารณาคำรองทุกขของผูรับการประเมินที่เห็น
วาผลการประเมินของตนไมเปนไปตามขอเท็จจริง ภายใน 10 วันทำการ นับแตวันที่รับทราบผลการประเมิน

27. ผลการประเมินการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ แบงเปนกี่กลุม


ก. 4 กลุม ไดแก กลุมดีเยี่ยม กลุมดี กลุมพอใช และกลุมตองปรับปรุง
ข. 4 กลุม ไดแก กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง กลุมอยูในมาตรฐานกลาง กลุมต่ำกวามาตรฐานกลางและ กลุมตอง
ปรับปรุง
ค. 3 กลุม ไดแก กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง กลุมอยูในมาตรฐานกลาง และกลุมต่ำกวามาตรฐานกลาง
ง. 2 กลุม ไดแก กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง และกลุมอยูในมาตรฐานกลาง
(ตอบ ขอ ค. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติสำหรับ การ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 9 ขอ 5 ผลการประเมิน... การประเมินมี 4 ระดับ โดย
แบงเปน 3 กลุม ดังนี้
5.1 กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง คือ กลุมที่มีผลการประเมินอยูในระดับดีเยี่ยมและระดับดี
5.2 กลุมอยูในมาตรฐานกลาง คือ กลุมที่มีผลการประเมินอยูในระดับพอใช
5.3 กลุมต่ำกวามาตรฐานกลาง คือ กลุมที่มีผลการประเมินอยูในระดับตองปรับปรุง

28. การกำหนดขอตกลงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการเปนการตกลงกันระหวางผูใด
ก. ผูประเมินและผูตรวจสอบ
ข. ผูประเมินและผูรับการประเมิน
ค. ผูรับการประเมินและผูตรวจสอบ
ง. ผูรับการประเมินและคณะกรรมการพิจารณาผลการประเมิน
(ตอบ ขอ ข. (กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ขาราชการตำรวจ พ.ศ.2547 หนา 2 ขอ 5 ใหมีการกำหนดขอตกลงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการรว มกัน
ระหวางผูประเมินและผูรับการประเมิน... และตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจง
- 10 -

แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 3 ขอ 2.10 ขอตกลง


หมายถึง ขอตกลงระหวางผูรับการประเมินกับผูประเมิน ในการกำหนดรายละเอียดการปฏิบัติหนาที่ในแตละ
รอบระยะเวลาการประเมิน

29. ร.ต.ท.โชคชวย แคลวคลาด ตำแหนง รอง สว.บก.ตม.4 ทำเรื่องไปชวยราชการที่ บก.ตม.1 โดยขาดจากตน


สังกัด ไมครบรอบระยะเวลาการประเมิน หนวยงานใดเปนผูรับผิดชอบในการประเมิน
ก. บก.ตม.4 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน โดยให บก.ตม.1 ประเมินในหวงระยะเวลาที่ไปชวยราชการ
แลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.4 เพื่อเปนขอมูลประกอบการประเมิน
ข. บก.ตม.1 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน แลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.4 เพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน
ค. บก.ตม.1 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน โดยให บก.ตม.4 ประเมินในหวงระยะเวลาที่อยูปฏิ บ ั ติ
ราชการแลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.1 เพื่อเปนขอมูลประกอบการประเมิน
ง. บก.ตม.4 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน แลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.1 เพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน
(ตอบ ขอ ก. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติสำหรับการ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 9 ขอ 6 อื่น ๆ 6.1 กรณีผูรับการประเมินไปชวย
ราชการหรือปฏิบัติราชการใหดำเนินการ ดังนี้ หนา 10 ขอ 6.1.1 วรรคสอง ผูรับการประเมินชวยราชการหรือ
ปฏิบัติราชการขาดจากตนสังกัด หรือนอกสังกัด ตร. ไมครบรอบระยะเวลาการประเมินในแตละครั้ง หนวยงาน
ผูรับผิดชอบในการประเมิน คือ หนวยงานตนสังกัด โดยใหผูบังคับบัญชาในหนวยงานที่ผูรับการประเมินไปชวย
ราชการหรือปฏิบัติราชการ ประเมินในหวงระยะเวลาที่ชวยราชการหรือปฏิบัติราชการ แลวสงผลการประเมินไป
ยังหนวยงานตนสังกัด

30. ขอใด ไมใช วัตถุประสงคของการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ ตาม กฎ ก.ตร.วาดวย


หลักเกณฑวิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ พ.ศ.2547
ก. เพื่อใหผูบังคับบัญชาใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
ข. เพื่อใหผูบังคับบัญชาใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ
ค. นำผลการประเมินไปใชเปนขอมูลการพิจารณาแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน
ง. นำผลการประเมินไปใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน
(ตอบ ขอ ค. (กฎ ก.ตร. วาดวยหลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ข า ราชการตำรวจ พ.ศ.2547 หน า 1 ขอ 3 การประเมิน ผลการปฏิบ ัติร าชการของขาราชการตำรวจ มี
วัตถุประสงคเพื่อใหผูบังคับบัญชาใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติ
ราชการและนำผลการประเมินไปใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน

31. รอบระยะเวลาการประเมิน ขอใดถูกตองที่สุด


ก. ครั้งที่ 1 (1 ม.ค. – 30 มิ.ย. ของปเดียวกัน, ครั้งที่ 2 (1 ก.ค. – 31 ธ.ค. ของปเดียวกัน
ข. ครั้งที่ 1 (1 ม.ค. – 30 มิ.ย., ครั้งที่ 2 (1 ก.ค. – 31 ธ.ค.
ค. ครั้งที่ 1 (1 ต.ค. – 31 มี.ค. ของปถัดไป, ครั้งที่ 2 (1 เม.ย. – 30 ก.ย. ของปเดียวกัน
ง. ครั้งที่ 1 (1 ต.ค. – 31 มี.ค., ครั้งที่ 2 (1 เม.ย. – 30 ก.ย.
(ตอบขอ ค. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติราชการสำหรับการ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 3 ขอ 2.7 รอบระยะเวลาการประเมิน หมายถึง รอบ
- 11 -

ระยะเวลาการปฏิบัติราชการ 6 เดือน ไดแก รอบระยะเวลาประเมิน ครั้งที่ 1 ระยะเวลาตั้งแต 1 ต.ค. – 31


มี.ค. ของปถัดไป และครั้งที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต 1 เม.ย. – 30 ก.ย. ของปเดียวกัน

32. การสงไปรษณียสนามของตำรวจชายแดน ผูสงตองปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายวาดวยการ


ไปรษณีย
ทุกประเภท โดยเฉพาะการเขาหอซองหรือหุมหอ ขนาดและน้ำหนัก ตองเปนไปตามหลักเกณฑของไปรษณียและ
พัสดุไปรษณียแตละชนิดแลวแตกรณี สำหรับพัสดุไปรษณียที่สงตองมีน้ำหนักอยางสูงไมเกินกี่ กก.
ก. ไมเกิน 3 กก.
ข. ไมเกิน 4 กก.
ค. ไมเกิน 5 กก.
ง. ไมเกิน 6 กก.
(ตอบ ขอ ค. ระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะ
ที่ 54 งานสารบรรณ พ.ศ.2556 บทที่ 11 ไปรษณียสนามของตำรวจชายแดน ขอ 1.2 ผูสงตองปฏิบัติตาม
ระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายวาดวยการไปรษณียทุกประเภท โดยเฉพาะการเขาหอซองหรือหอหุม ขนาดและ
น้ำหนักตองเปนไปตามหลักเกณฑและไปรษณียภัณฑและพัสดุไปรษณียแตละชนิดแลวแตกรณี สำหรับพัสดุ
ไปรษณียที่สงตองมีน้ำหนักอยางสูงไมเกิน 5 กก.

33. สำนักงานตำรวจแหงชาติแบงสวนราชการออกเปนกี่สวน
ก. 2 สวน
ข. 3 สวน
ค. 4 สวน
ง. 5 สวน
(ตอบ ขอ ก. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 10 สำนักงานตำรวจแหงชาติแหงชาติแบงสวน
ราชการออกเปนดังนี้
(1 สำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(2 กองบัญชาการ

34. ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 24 ชั้นขาราชการตำรวจมีกี่ชั้น


ก. 2 ชั้น
ข. 3 ชั้น
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ชั้น
(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 24 ชั้นขาราชการตำรวจมีดังตอไปนี้
(1 ชั้นสัญญาบัตร ไดแกผูมียศตั้งแตรอยตำรวจตรีขึ้นไป
(2 ชั้นประทวน ไดแก ผูมียศสิบตำรวจตรี สิบตำรวจโท สิบตำรวจเอก จาสิบตำรวจ และ
ดาบตำรวจ
(3 ชั้นพลตำรวจ ไดแก พลตำรวจสำรอง

35. คำสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัด ตร. จะถือวาสิ้นสุดเมื่อใด


- 12 -

ก. ครบระยะเวลาตามที่ไดกำหนดไว
ข. ขาราชการตำรวจผูนั้นไดรับการแตงตั้งไปดำรงตำแหนงอื่น
ค. ขาราชการตำรวจผูนั้นถูกสงตัวกลับตนสังกัด
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ขอ ง (ตามระเบียบ ตร. วาดวยการสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัด ตร. พ.ศ.2545
ขอ 11 คำสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการใหถือวาสิ้นสุดลง ในกรณีหนึ่งกรณีใด ดังตอไปนี้
11.1 ครบระยะเวลาตามที่ไดกำหนดไวในขอ 10
11.2 ขาราชการตำรวจผูนั้นไดรับการแตงตั้งไปดำรงตำแหนงอื่น
11.3 ขาราชการตำรวจผูนั้นถูกสงตัวกลับสังกัดเดิม

36. การใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ ใครเปนผูมีอำนาจพิจารณาสั่งการ


ก. ผูกำกับการที่ขาราชการตำรวจผูนั้นสังกัดอยู
ข. ผูบังคับการที่ขาราชการตำรวจผูนั้นสังกัดอยู
ค. ผูบัญชาการที่ขาราชการตำรวจผูนั้นสังกัดอยู
ง. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบ ตร. วาดวยการสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัด ตร. พ.ศ.2545
ขอ 7 การสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ ใหผูบัญชาการตำรวจ
แหงชาติเปนผูพิจารณาสั่งการ

37. ตาม กฎ ก.ตร.วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561 กำหนดใหการแตงตั้งมีทั้งหมดกี่วาระ


อะไรบาง
ก. 3 วาระ ไดแก วาระประจำป นอกวาระประจำป วาระเมษายน
ข. 2 วาระ ไดแก วาระประจำป วาระเมษายน
ค. 3 วาระ ไดแก วาระ ผบก. ขึ้นไป วาระ รอง ผบก. - สว. วาระ รอง สว. ลงมา
ง. 4 วาระ ไดแก วาระ ผบก. ขึ้นไป วาระ รอง ผบก. - สว. วาระ รอง สว. ลงมา วาระเมษายน
(ตอบ ขอ ข. ( ตามกฎ ก.ตร. วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561ขอ 7 ใหมีการคัดเลือกหรือ
แตงตั้งขาราชการตำรวจเปนสองวาระ ดังนี้
(1 วาระที่ 1 เรียกวา วาระประจำป ใหดำเนินการคัดเลือกหรือแตงตั้งขาราชการตำรวจ
ดังนี้
(ก ตำแหน งระดับ ผูบ ังคับ การถึงจเรตำรวจแหงชาติและรองผูบ ัญ ชาการตำรวจ
แหงชาติ ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 สิงหาคมของทุกป
(ข ตำแหนงระดับสารวัตรถึงรองผูบังคับการ ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 30 พฤศจิกายนของ
ทุกป
(ค ตำแหนงระดับรองสารวัตรลงมา ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 มกราคมของทุกป
(2 วาระที่ 2 เรียกวา วาระเดือนเมษายน ใหดำเนินการคัดเลือกแตงตั้งขาราชการตำรวจ
ภายหลังจากการคัดเลือกแตงตั้งตามขอ 7(1 (ก โดยใหแลวเสร็จภายในวันที่ 30 เมษายนของทุกป
- 13 -

38. ตำแหนงขาราชการตำรวจมีกี่ระดับ
ก. 11 ระดับ
ข. 12 ระดับ
ค. 13 ระดับ
ง. 14 ระดับ
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 44 ตำแหนงขาราชการตำรวจ มีดังตอไปนี้
(1 ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(2 จเรตำรวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(3 ผูชวยผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(4 ผูบัญชาการ
(5 รองผูบัญชาการ
(6 ผูบังคับการ
(7 รองผูบังคับการ
(8 ผูกำกับการ
(9 รองผูกำกับการ
(10 สารวัตร
(11 รองสารวัตร
(12 ผูบังคับหมู
(13 รองผูบังคับหมู

39. ผูที่ดํารงตําแหนงผูกำกับการสถานีตํารวจ หามดำรงตำแหนงเดิมติดตอกันเกินกี่ป


ก. ๒ ป
ข. ๓ ป
ค. ๔ ป
ง. ๕ ป
(ตอบ ขอ ค. (ตาม กฎ ก.ตร. วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561 ขอ 20 ผูดำรงตำแหนง
หัวหนาสถานีตำรวจระดับผูกำกับการ เมื่อดำรงตำแหนงเดียวติดตอกันครบสี่ป ใหแตงตั้งสับเปลี่ยนหมุนเวียนไป
ดำรงตำแหนงอื่นทุกราย

40. พ.ต.ต.วันทอง สองใจ สวป.สน.ลาดพราว ตองดำรงตำแหนงระดับ สว. ไมนอยกวากี่ปจึงจะสามารถเลื่อน


เปน
รอง ผกก. ได
ก. ไมนอยกวา ๔ ป
ข. ไมนอยกวา ๕ ป
ค. ไมนอยกวา ๖ ป
ง. ไมนอยกวา ๗ ป
(ตอบ ขอ ค. (ตามกฎ ก.ตร. วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561 ขอ 16 การคัดเลือกหรือ
แตงตั้งขาราชการตำรวจเลื่อนตำแหนงสูงขึ้นตั้งแตระดับจเรตำรวจแหงชาติและรองผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
ลงมาถึงระดับสารวัตร ใหผูมีอำนาจพิจารณาจากผูมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
- 14 -

ระดับตำแหนง ยศ ระยะเวลาการดำรงตำแหนง
ในแตละระดับไมนอยกวา
ผูชวย ผบ.ตร. เลื่อนเปน จตร.และ พล.ต.ท. 1 ป
รอง ผบ.ตร.
ผบช. เลื่อนเปน ผูชวย ผบ.ตร. พล.ต.ท. 1 ป
รอง ผบช. เลื่อนเปน ผบช. พล.ต.ต. 1 ป
ผบก. เลื่อนเปน รอง ผบช. พล.ต.ต. 2 ป
รอง ผบก. เลื่อนเปน ผบก. พ.ต.อ. ซึ่งไดรับอัตราเงินเดือน 5 ป และมีคุณสมบัติครบถวนตาม
พ.ต.อ.(พิเศษ หลักเกณฑการเลื่อนยศ เปน พล.ต.ต.
ผกก. เลื่อนเปน รอง ผบก. พ.ต.อ. 5 ป
รอง ผกก. เลื่อนเปน ผกก. พ.ต.ท. 4 ป
สว. เลื่อนเปน รอง ผกก. พ.ต.ท. 6 ป
รอง สว. เลื่อนเปน สว. ร.ต.อ. 7 ป
- 15 -

ขอสอบงานอำนวยการ กองสวัสดิการ (40 ขอ

41. “ครอบครัว” ของผูมีสิทธิเขาพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางสำนักงานตำรวจแหงชาติหมายถึงขอใด


ก. คูสมรส บุตร บิดามารดาของผูมีสิทธิพักอาศัย
ข. บิดามารดาคูสมรสของผูมีสิทธิพักอาศัย
ค. ขอ ก. และ ข. ถูกตอง
ง. ถูกตองเฉพาะขอ ก.
(ตอบ ค. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขา
พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. 2553 หมวด 1 คำนิยามศัพท ขอ 4
“ครอบครัว”

42. ผูพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางสำนักงานตำรวจแหงชาติตองดำเนินการอยางไร กรณีมีการเปลี่ยนแปลง


ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-ตำแหนงหรือสังกัด
ก. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 15 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
ข. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 30 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
ค. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 60 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
ง. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 90 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
(ตอบ ก. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขา
พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. 2553 หมวด 3 อำนาจ หนาที่ ขอ 18 ผู
พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง มีหนาที่ดังนี้ (ขอ 18.16)

43. ผูพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางสำนักงานตำรวจแหงชาติจะหมดสิทธิพักอาศัยดวยเหตุใด
ก. ยายไปอยูหนวยซึ่งมีที่ทำการตั้งอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร
ข. มีบานพักเปนของตัวเองหรือคูสมรสในเขตกรุงเทพมหานคร
ค. ถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. 2553 หมวด 4 ขอ 19 ผูพักอาศัยจะหมด
สิทธิพักอาศัยในบานพักสวนกลาง ดวยเหตุตางๆ

44. สวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ แบงเปน 2 ระดับ ไดแก


ก. สวัสดิการระดับกองบัญชาการ และสวัสดิการระดับกองบังคับการ
ข. สวัสดิการระดับสำนักงานตำรวจแหงชาติ และสวัสดิการระดับหนวยงาน
- 16 -

ค. สวัสดิการระดับกองบังคับการ และสวัสดิการระดับกองกำกับการ
ง. สวัสดิการระดับบน และสวัสดิการระดับลาง
(ตอบ ข. (ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยการจัดสวัสดิการ พ.ศ.2550 หมวด
1 ขอความทั่วไป ขอ 4 สวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ แบงเปน 2 ระดับ

45. สวนราชการอาจจัดใหมีสวัสดิการภายในสวนราชการประเภทตางๆ ไดในขอใด


ก. การฝกวิชาชีพเพื่อเสริมรายไดหรือลดรายจายใหแกสมาชิก
ข. การเคหะสงเคราะห
ค. การใหบริการรานคาสวัสดิการ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการจัดสวัสดิการภายในสวนราชการ พ.ศ.2547 หมวด 1
การจัดสวัสดิการภายในสวนราชการ ขอ 10 สวนราชการอาจจัดใหมีสวัสดิการภายในสวนราชการประเภทตางๆ
ได ดังนี้

46. ขาราชการตำรวจมีสิทธิไดรับการชวยเหลือเกี่ยวกับเงินการศึกษาบุตร ในระดับการศึกษาปริญญาตรี คนละ


เทาใด ตอป
ก. 20,000 บาท
ข. 22,500 บาท
ค. 25,000 บาท
ง. 27,500 บาท
(ตอบ ค. (พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2562
มาตรา 8 (2 บุตรที่ศึกษา ในสถานศึกษาของทางราชการในหลักสูตรระดับปริญญาตรีใหไดรับ เงิน
บำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ไดจายจริง แตทั้งนี้ ตองเปนไปตามประเภทและไมเกินอัตราที่กระทรวงการคลัง
กำหนด
หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค 0422.3/ว 257 ลง 28 มิ.ย.59 เรื่อง ประเภทและอัตราเงิน
บำรุงการศึกษาและคาเลาเรียน
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
6.ระดับปริญญาตรี ปการศึกษาละไมเกิน 25,000 บาท
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
3.หลักสูตรระดับปริญญาตรีใหเบิกจายไดครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ไดจายไปจริงของคาเลาเรียน
ปการศึกษาละไมเกิน 25,000 บาท
- 17 -

47. ขาราชการตำรวจมีสิทธิไดการชวยเหลือเกี่ยวกับเงินการศึกษาของบุตร ไดกี่คน


ก. 2 คน
ข. 3 คน
ค. 4 คน
ง. ทุกคน
(ตอบ ข. (พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2562
มาตรา 6 ใหผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการของบุตรไดเพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม

48. ขาราชการตำรวจรับราชการมาแลวกี่ปถึงจะมีสิทธิไดรับบำนาญปกติ (กรณีเกษียณอายุราชการ


ก. 10 ป
ข. 15 ป
ค. 20 ป
ง. 25 ป
(ตอบ ง. (พระราชบัญญัติ บำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2494
มาตรา 14 บำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนานนั้น ใหแกขาราชการ ซึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณ
บำเหน็จบำนาญครบสามสิบปบริบูรณแลวถาขาราชการผูใดมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ
ยี่สิบหาป บริบูรณแลว ประสงคจะลาออกจากราชการก็ใหผูมีอำนาจสั่ง อนุญาตใหลาออกจากราชการเพื่อรับ
บำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนานได

49. เมื ่ อข า ราชการตำรวจเกษี ย ณอายุ ร าชการ และขอรับ บำนาญ สิทธิในการเบิกคาการศึ กษาบุต รและ
คารักษาพยาบาล สามารถดำเนินการยื่นเอกสารขอเบิกได ณ ที่ใด
ก. กองการเงิน สำนักงานงบประมาณและการเงิน สำนักงานตำรวจแหงชาติ
ข. กรมบัญชีกลาง
ค. หนวยงานตนสังกัดที่ขอรับบำนาญ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ค. (พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
มาตรา 4 “ผูมีสิทธิ” หมายความวา
(3 ผูไดรับบำนาญปกติหรือผูไดรับบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพตามกฎหมายวาดวยบำเหน็จ
บำนาญข า ราชการหรื อ กฎหมายว า ด ว ยกองทุ น บำเหน็ จ บำนาญข า ราชการ และทหารกองหนุ น
มีเบี้ยหวัดตามขอบังคับกระทรวงกลาโหมวาดวยเงินเบี้ยหวัด
หลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553
หมวดที่ 2 การรับรองสิทธิและการอนุมัติ
ข อ 10 ให ห ั ว หน า ส ว นราชการผู  เ บิ ก บำนาญหรื อ เบี ้ ย หวั ด หรื อ ผู  ท ี ่ ห ั ว หน า ส ว นราชการ
ผูเบิกมอบหมายเปนผูมีอำนาจอนุมัติการเบิกเงินคารักษาพยาบาลของผูไดรับบำนาญหรือเบี้ยหวัด
- 18 -

50. สิทธิประโยชนของขาราชการตำรวจพึงไดจากทางราชการเมื่อรับราชการจนเกษียณอายุราชการมีอะไรบาง
ก. บำเหน็จตกทอด , เงินชวยเหลือพิเศษ
ข. บำเหน็จตกทอด , เงินชวยเหลือพิเศษ , กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ (กบข.
ค. บำเหน็จตกทอด , เงินชวยเหลือพิเศษ , กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ (กบข. , เงินฝากและหุน
จากสหกรณออมทรัพย
ง. ไมมีขอถูก
(ตอบ ข. (พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2494
มาตรา 48 ขาราชการผูใดตายในระหวางรับราชการอยู หรือทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดตาย ถาความตาย
นั้นมิไดเกิดขึ้นเนื่องจากการประพฤติชั่วอยางรายแรงของตนเอง ใหจายเงินเปนบำเหน็จตกทอดเปนจำนวนตาม
หลักเกณฑในมาตรา 32 (1 ใหแกทายาทผูมีสิทธิ
พระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน
มาตรา 23 ข า ราชการผู  ใดถึ งแกความตายในระหวางรับ ราชการใหจ ายเงินพิเศษจำนวนสามเทา
ของเงิ น เดื อ นเต็ ม เดื อ นที ่ ข  า ราชการผู  น ั ้ น มี ส ิ ท ธิ ไ ด ร ั บ ในเดื อ นที ่ ถ ึ ง แก ค วามตาย และหากข า ราชการ
ผูนั้นมีสิทธิไดรับเงินเพิ่มพิเ ศษคาวิชาเงิน ประจำตำแหน งที่ตองฝาอันตรายเปนปกติ เงินเพิ่มพิเศษสำหรับ
การสูรับ และเงินเพิ่มพิเศษสำหรับการปราบปรามผูกระทำผิด ใหรวมเงินดังกลาวกับเงินเดือนเพื่อคำนวณเปน
เงินชวยพิเศษจำนวนสามเทาดวย
พระราชบัญญัติ กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 37 บำเหน็จบำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ และบำเหน็จตกทอด ใหจายจากเงินงบประมาณ สำหรับ
เงินสะสม เงินสมทบ เงินประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวใหจายจากกองทุน ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑที่กำหนดไวในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 55 สิ ท ธิ ใ นการรั บ บำนาญให เ ริ ่ ม มี ต ั ้ ง แต เ มื ่ อ สมาชิ ก ภาพของสมาชิ ก สิ ้ น สุ ด ลงจนกระทั่ ง
ผูนั้นถึงแกความตาย

51. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล
ก. ผูมีสิทธิเขารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทางราชการทั้งประเภทผูปวยภายนอกและ
ผูปวยภายในใหเบิกคารักษาไดเต็มจำนวนที่จายจริงตามที่กระทรวงการคลังกำหนด
ข. หากมีความจำเปนเรงดวนซึ่งหากมิไดรับการรักษาพยาบาลในทันทีอาจเปนอันตรายตอชีวิตเมื่อได
ใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลของเอกชนมาประกอบใหเบิกคารักษาได
ค. คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ใหเบิกไดครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ไดจายไปจริงแตไมเกิน 4,000 บาท
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (อัตราการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล ผูมีสิทธิเขารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของ
ทางราชการทั้งประเภทผูปวยภายนอกและผูปวยภายในใหเบิกคารักษาไดเต็มจำนวนที่จายจริงตามที่
กระทรวงการคลังกำหนด และหากผูมีสิทธิเขารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลเอกชนประเภทผูปวย
ภายในเฉพาะกรณีที่ผูมีสิทธิประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัย หรือมีความจำเปนเรงดวนซึ่งหากมิไดรับการรักษาพยาบาล
ในทันทีอาจเปนอันตรายตอชีวิตเมื่อไดใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลของเอกชนมาประกอบใหเบิกคารักษา
ได ดังนี้
- 19 -

1. คาหองและคาอาหาร คาอวัยวะเทียมและอุปกรณที่ใชในการบำบัดรักษาโรคใหเบิกจ ายได


ตามประกาศกระทรวงการคลั ง เรื ่ อ ง อั ต ราค า บริ ก ารสาธารณสุ ข เพื ่ อ ใช ส ำหรั บ การเบิ ก จ า ย
คารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ
2. คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ใหเบิกไดครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ไดจายไปจริงแตไมเกิน 4,000บาท
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. อัตราการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล, คูมือสวัสดิการและ
สิทธิประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

52. ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด สำหรับผูมีสิทธิยื่นคำรองขอเขาพักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง


ก. ขาราชการตำรวจทุกนาย
ข. ลูกจางประจำในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ค. คูสมรสของขาราชการตำรวจ
ง. ข า ราชการตำรวจและลู กจ า งประจำในสัง กัดสำนั ก งานตำรวจแหงชาติ ซึ่งที่ทำการตั้ ง อยู ใ นเขต
กรุงเทพมหานคร
(ตอบ ง. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 คำนิ ย าม ข อ 4 “สมาชิก” หมายความวา ขาราชการตำรวจและลูกจางประจำในสังกัด
สำนักงานตำรวจแหงชาติ ที่มีที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร

53. ขอใดถูกตอง
ก. บำเหน็จ หมายถึง เงินตอบแทนความชอบที่ไดรับราชการมา ซึ่งจายเปนรายเดือน
ข. ประเภทของบำเหน็จบำนาญมี 2 ประเภท ไดแก บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จตกทอด
ค. บำเหน็จตกทอด คือ กรณีขาราชการหรือผูรับบำนาญประสงคโอนใหแกทายาทที่ไดแสดงเจตนาไว
ง. ไมมีขอใดถูก
(ตอบ ง. (เงินบำเหน็จหรือเงินบำนาญ
บำเหน็จ หมายถึง เงินตอบแทนความชอบที่ไดรับราชการมา ซึ่งจายใหครั้งเดียว
ประเภทของบำเหน็จบำนาญมี 3 ประเภท ไดแก บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จตกทอด และบำเหน็จ
บำนาญพิเศษ
บำเหน็จตกทอด คือ กรณีที่ขาราชการถึงแกกรรมขณะรับราชการหรือผูรับบำนาญตาย ทางราชการ
จายเงินเปนเงินกอนใหแกทายาทฯ หรือบุคคลซึ่งผูตายแสดงเจตนาไว
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. เงินบำเหน็จหรือเงินบำนาญ, คูมือสวัสดิการและสิทธิ
ประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.14. กรุงเ ทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

54. ขอใดกลาวถึงการขอเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางไดอยางถูกตอง
ก. การเปลี่ยนแปลงสิทธิใหตรงตามสถานภาพ เชน การเปลี่ยนจากหองชั้นประทวนเปนชั้นสัญญาบัตร หรือ
จากโสดเปนสมรส
ข. การขอเปลี่ยนแปลงเนื่องจากไมพอใจประเภทหอง
ค. การขอเปลี่ยนแปลงเนื่องจากยายสถานที่ทำงาน
- 20 -

ง. การขอเปลี่ยนแปลงสิทธิใหผูอื่นมาอาศัยแทน
(ตอบ ก. (การขอเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัย มี 2 กรณี คือ
1. การเปลี่ยนแปลงสิทธิใหตรงตามสถานภาพ เชน การเปลี่ยนหองชั้นประทวนเปนชั้นสัญญาบัตร หรือ
จากโสดเปนสมรส เพื่อใหสถานภาพตรงตามประเภทหอง
2. การเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัยจากอาคารหนึ่งไปอีกอาคารหนึ่ง
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. การขอเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัย, คูมือสวัสดิการและ
สิทธิประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.52. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

55. สถานพักฟนและตากอากาศมีไวเพื่อวัตถุประสงคใด
ก. เพื่อใหการสงเคราะหแกขาราชการตำรวจ ผูที่ไดรับบาดเจ็บเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ในรูปของการเขา
พักฟนและตากอากาศ
ข. เพื่อใหเปนสถานฝกอบรม และสัมมนาของขาราชการตำรวจและครอบครัว
ค. เพื่อการนันทนาการและการพักผอนสำหรับขาราชการตำรวจและครอบครัว
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (สถานพักฟนและตากอากาศ ตั้งอยูเลขที่ 106 หมูที่ 3 ถนนสุขุมวิท (กม.ที่ 134-135 ตำบล
บางละมุง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงค
1.เพื่อใหการสงเคราะหแกขาราชการตำรวจ ผูที่ไดรับบาดเจ็บเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ในรูปของการ
เขาพักฟนและตากอากาศ
2.เพื่อใหบริการหรือจัดกิจกรรมอันจะกอใหเกิดประโยชนแกขาราชการตำรวจและครอบครัว
3.สงเสริมการกีฬา การนันทนาการและการพักผอนสำหรับตำรวจและครอบครัว
4.เพื่อใชเปนสถานฝกอบรม และสัมมนาของขาราชการตำรวจและครอบครัว
5.การดำเนินการดานอื่นๆ
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. สถานพักฟนและตากอากาศ, คูมือสวัสดิการและสิทธิ
ประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.53. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

56. กองสวัสดิการ สำนักงานกำลังพล ตั้งอยูที่ใด


ก. ภายในสโมสรตำรวจ ถนนวิภาวดี
ข. ชั้น 2 อาคาร 8 ตร.
ค. ชั้น 10 อาคาร 5 ตร.
ง. ชั้น 20 อาคาร 1 ตร.
(ตอบ ค.

57. แฟลตใด ไมใชแฟลตสวนกลาง


ก. แฟลตลือชา
ข. แฟลตอุดมสุข
ค. แฟลตรามอินทรา
ง. แฟลตวิภาวดี
- 21 -

(ตอบ ค. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขา


พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 คำนิยาม ขอ 4 “อาคารบานพักสวนกลาง” หมายความวา อาคารบานพักของสำนักงานตำรวจ
แห งชาติ ที ่ ก ำหนดให เ ป น ที ่ พั ก อาศั ย ของข าราชการตำรวจและลู กจ างประจำ ซึ่งมีที่ทำการตั้ งอยู ใ นเขต
กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย อาคารบานพักลือชา เฉลิมลาภ วิภาวดี ลาดยาว ทุงสองหอง ถนอมมิตร และ อุดมสุข

58. ขาราชการตำรวจนายใด ไมสามารถขอแฟลตสวนกลางได


ก. ส.ต.ต.มงคลฯ ผบ.หมู ป. สน.ปทุมวัน
ข. ร.ต.ท.หญิง อรวรรณฯ รอง สว.ฝายประวัติบุคคล ทพ.
ค. ส.ต.ท.สมพงษฯ ผบ.หมู ฝอ.1 บก.อก.ภ.1
ง. ทุกขอ สามารถขอแฟลตสวนกลางได
(ตอบ ง. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 คำนิ ย าม ข อ 4 “สมาชิก” หมายความวา ขาราชการตำรวจและลูกจางประจำในสังกัด
สำนักงานตำรวจแหงชาติ ที่มีที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร

59. การขอแฟลตสวนกลางสามารถทำไดวิธีใด
ก. ทำคำรองขอบานพักผานหนวยงานตนสังกัด
ข. สงคำรองดวยตนเองที่กองสวัสดิการ
ค. สงคำรองดวยตนเอง ณ บานพักสวนกลางที่ประสงคเขาพัก
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ก. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 2 สิทธิการเขาพักอาศัย ขอ 7 การขอสิทธิเขาพักอาศัย มีหลักเกณฑและขอปฏิบัติ ดังนี้
7.1 สมาชิกยื่นคำรองตอผูบังคับบัญชาตนสังกัด พรอมหลักฐาน

60. สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห มีกี่ประเภท อะไรบาง


ก. 1 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ
ข. 2 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ และ สมาชิกสมทบ
ค. 2 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ และ สมาชิกวิสามัญ
ง. 3 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ และสมาชิกสมทบ
(ตอบ ข. (ระเบี ย บสำนั กงานตำรวจแหงชาติ วาดว ย การฌาปนกิจ สงเคราะหของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ
ลักษณะที่ 36 (เดิม บทที่ 31 ระเบียบการฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 ขอความทั่วไป ขอ 4 ในระเบียบนี้ “สมาชิก” หมายความวา สมาชิกสามัญและสมาชิกสมทบ
ของการฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
- 22 -

61. ขอใด เปนบริการ สวัสดิการดนตรี


ก. การบริการวงดนตรี
ข. บริการการสอนดนตรี
ค. การใหบริการหองบันทึกเสียง
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ฝายดนตรี สก. มีหนาที่และความรับผิดชอบงานบริการดานดนตรีสำหรับพิธีการตางๆ งาน
ดนตรี งานวิชาการดนตรี งานประพันธ และโรงเรียนสอนดนตรี รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับ และคำสั่งของผูบังคับบัญชา แบงออกเปน 4 งาน ดังนี้
1. งานบริการดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
- งานอำนวยการของฝายดนตรี
- งานคลังดนตรี
- งานอาภรณดานดนตรี
- งานซอมบำรุงเบื้องตน เครื่องดนตรี และอุปกรณดนตรี
- งานการเงิน-บัญชี
2. งานดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
งานเสนอดนตรีประเภทตางๆ ในงานราชพิธี รัฐพิธี พิธีการสำคัญของสำนักงานตำรวจแหงชาติ และหนวยงาน
ราชการอื่นที่รองขอ รวมถึงการจัดการแสดงดนตรีประเภทตางๆเพื่อเปนสวัสดิการแกขาราชการตำรวจ โดยมีวง
ดนตรีประเภทตางๆ ที่อยูในความรับผิดชอบ ดังนี้
- งานวงโยธวาทิต
- งานปสก็อต
- งานวงหัสดนตรี
- งานเชมเบอรมิวสิค
- วงดนตรีไทย
- วงดนตรีประเภทอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามความเหมาะสม
3. งานวิชาการดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
- จัดทำทะเบียนเพลง
- ประพันธ คิดคน คัดแปลงบทเพลง จังหวะลีลา ทวงทำนองเพลง
- เรียบเรียงเสียงประสาน
- คัดลอกและซอมบำรุงโนตเพลง
- เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนำมาวิจัยและพัฒนาทางดุริยางค
- เก็บรวบรวมบทเพลงตางๆ ตำราทางดนตรี
- งานหองบันทึกเสียง
- งานเทคโนโลยีดนตรี
4. งานโรงเรียนดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
- แนะนำเผยแพรขาวสารการบรรเลงตางๆ ของงานดุริยางคใหเปนที่รูจักแพรหลาย
- จัดฝกอบรมแกเจาหนาที่และหนวยงานตางๆ ในเรื่องเกี่ยวกับดนตรี
- งานบริการการศึกษา งานธุรการ ทะเบียนเพลงของงานโรงเรียนดนตรี
- 23 -

- งานวิชาการ การเรียน การสอน ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การจัดทำหลักสูตร และตำราเรียนตางๆ


- งานหองสมุด และพิพิธภัณฑดนตรี
- งานสงเสริมวิชาการดนตรี การจัดกิจกรรมสงเสริมทางดานดนตรีนอกเหนือจากการเรียนการสอนปกติ

62. ฝายดนตรี ใหบริการวงดนตรีประเภทใด


ก. วงโยธวาทิต
ข. วงเชมเปอร
ค. วงปสก็อต
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (หน า ที ่ ค วามรั บ ผิ ดชอบ ฝายดนตรี ขอ 2. งานดนตรี มีห นาที่ และความรั บ ผิ ดชอบ ดัง นี้
งานเสนอดนตรีประเภทตางๆ ในงานราชพิธี รัฐพิธี พิธีการสำคัญของสำนักงานตำรวจแหงชาติ และหนวยงาน
ราชการอื่นที่รองขอ รวมถึงการจัดการแสดงดนตรีประเภทตางๆเพื่อเปนสวัสดิการแกขาราชการตำรวจ โดยมี
วงดนตรีประเภทตางๆ ที่อยูในความรับผิดชอบ ดังนี้
- งานวงโยธวาทิต
- งานปสก็อต
- งานวงหัสดนตรี
- งานเชมเบอรมิวสิค
- วงดนตรีไทย
- วงดนตรีประเภทอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามความเหมาะสม
63. ขอใดไมใชโครงการที่เปนสวัสดิการของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ก. โครงการกูงายไดบาน
ข. โครงการสมรสสวัสดิการ
ค. โครงการอุปสมบทหมู
ง. โครงการแกไขปญหาหนี้สินตำรวจและลูกจางประจำ
(ตอบ ก. (โครงการกูงายไดบาน เปนโครงการสวัสดิการของ สหกรณออมทรัพยตำรวจนครบาล

64. สวัสดิการใด สามารถจองการใชบริการไดในแอปพลิเคชัน “แทนใจ”


ก. จองบริการรถรับ-สง ระหวางบานพักและสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ข. การเลือกวัดในการฌาปนกิจผูวายชนม
ค. การจองเขาใชหองประชุมของกองสวัสดิการ
ง. การจองใชบริการสนามฟุตบอลบุณยะจินดา
(ตอบ ง.

65. ขอใดไมสามารถดูไดในแอปพลิเคชัน “แทนใจ”


ก. ผลการพิจารณาคำรองขอรับการแตงตั้ง
ข. ขาวสารบานเมืองทั่วไป
ค. กพ.7 อิเล็กทรอนิกส
- 24 -

ง. บัตรสวัสดิการดิจิทัล
(ตอบ ค.

66. ขอใดไมใชสวัสดิการตำรวจ
ก. สถานพักฟนและตากอากาศบางละมุง
ข. รถรับสงสวัสดิการ
ค. สารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ง. สโมสรตำรวจ
(ตอบ ค.
67. ใครคือหัวหนาคณะทำงานแกไขปญหาหนี้สินขาราชการตำรวจและลูกจางประจำ ตร. ในระดับ บก.
ก. ผบก.
ข. รอง ผบก. ที่ไดรับมอบหมาย
ค. หัวหนาสถานีตำรวจ หรือหัวหนาหนวยในสังกัดทุกแหง
ง. ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณของกองบังคับการ
(ตอบ ก. (คำสั ่ ง ตร. ที ่ 589/2564 ลง 17 พ.ย.64 เรื่อง แตงตั้งคณะทำงานแกไขปญ หาหนี้สิน
ขาราชการตำรวจและลูกจางประจำ สำนักงานตำรวจแหงชาติ โดยมีคณะทำงานฯ 3 ระดับ คือ ระดับ ตร. ระดับ
บช. และระดับ บก. ซึ่งคณะทำงานฯ ในระดับ บก. (ขอ 3.2 มีหัวหนาคณะทำงาน คือ ผบก. (ข อ 3.2.1.1

68. การขอรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ จากกองทุน


สวัสดิการ ตร. ใครเปนผูมีอำนาจอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิ์ไดรับเงินชวยเหลือฯ เสนอ ผบ.ตร.
ก. ผบช.สกพ. ผูมีอำนาจอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิ์ไดรับเงินชวยเหลือ
ข. ผบก.สก. ผูมีอำนาจอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิ์ไดรับเงินชวยเหลือ
ค. คณะทำงานพิจารณาการขอรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการ
ปฏิบัติหนาที่ จากกองทุนสวัสดิการ ตร.
ง. คณะกรรมการสวัสดิการ ตร.
(ตอบ ค. (คำสั ่ ง คณะกรรมการสวั ส ดิ ก ารสำนั ก งานตำรวจแห ง ชาติ ที ่ 3/2553 เรื ่ อ ง แต ง ตั้ ง
คณะทำงานพิจารณาการขอรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติ
หนาที่ โดยคณะทำงาน มีอำนาจหนาที่ พิจารณาอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือจากกองทุนสวัสดิการ
สำนักงานตำรวจแหงชาติตามระเบียบ คำสั่งหรือหลักเกณฑที่เกี่ยวของ (ขอ 2.2

69. เมื่อไดรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ จากกองทุน


สวัสดิการ ตร. จะไดรับเงินชวยเหลือผานชองทางใดบาง
ก. โอนเงินผานธนาคารกรุงไทย เขาบัญชีผูรับสิทธิ์
ข. เงินสด
ค. เช็คเงินสด
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบ ง.
- 25 -

70. เมื่อไดรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ จากกองทุน


สวัสดิการ ตร. แลว มีสิทธิ์ไดรับเงินเพิ่มเติมไดในกรณีใดบาง
ก. สูญเสียอวัยวะ
ข. ไดรับการพิจารณาอาการบาดเจ็บเพิ่มเติม หรืออาการรุนแรงกวาที่ไดรับอนุมัติกอนหนา
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ไมมีสิทธิ์ไดรับเงินเพิ่มเติม
(ตอบ ค. (หลักเกณฑการจายเงินชวยเหลือขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติ
หนาที่ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ ตร. ครั้งที่ 2/2560 เมื่อ 2 มิ.ย.2560 ขอ 4. และ หมายเหตุ
ขอ2

71. การลากิจสวนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรลาไดไมเกินกี่วันทำการ
ก. ไมเกิน 45 วันทำการ
ข. ไมเกิน 60 วันทำการ
ค. ไมเกิน 90 วันทำการ
ง. ไมเกิน 150 วันทำการ
(ตอบ ง. (การลาคลอดบุตร ลาไดไมเกิน 90 วัน (โดยไดรับเงินเดือน และมีสิทธิลากิจสวนตัวเพื่อเลี้ยงดู
บุตรตอเนื่องจากการลาคลอดไดอีกไมเกิน 150 วันทำการ โดยไมไดรับเงินเดือนระหวางลา (ขาราชการมีสิทธิลา
โดยไดรับเงินเดือนระหวางลาภายใตพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นใน
ลักษณะเดียวกัน พ.ศ.2522 ตามประเภทของการลา แหงระเบียบวาดวยการลาของขาราชการ พ.ศ.2535

72. ประเภทสมาชิกสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ มีกี่ประเภท


ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
(ตอบ ข. (สมาชิกสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ มีสมาชิก 3 ประเภท ไดแก
1. สมาชิกสามัญ ไดแก ขาราชการตำรวจ พนักงานของรัฐ และลูกจางประจำ
2. สมาชิกสามัญ ไดแก พนักงานราชการ และลูกจางชั่วคราว
3. สมาชิกสมทบ ไดแก สมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญที่พนจากการปฏิบัติงานในสำนักงาน
ตำรวจแหงชาติแลว

73. หลักเกณฑการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรตองเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายที่มีอายุกี่ป
ก. อายุไมเกิน 25 ปบริบูรณ
ข. อายุไมเกิน 20 ปบริบูรณ
ค. อายุตั้งแต 3 ป ถึง 25 ปบริบูรณ
ง. อายุตั้งแต 5 ป ถึง 20 ปบริบูรณ
(ตอบ ค. (ตามพระราชกฤษฎี กาเงินสวัสดิ การเกี่ยวกับการศึกษาบุตร พ.ศ.2562 มาตรา 4 “บุตร”
หมายความวา บุตรโดยชอบดวยกฎหมายซึ่งมีอายุครบสามปแตไมเกินยี่สิบหาป...
- 26 -

74. ใครมีสิทธิขอบานพักสวนกลางได
ก. ขาราชการตำรวจทั่วประเทศ
ข. ขาราชการตำรวจหรือคูสมรสของขาราชการตำรวจ
ค. ขาราชการตำรวจเฉพาะอยูในหนวยที่มีที่ตั้งในกรุงเทพฯ
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบ ค. (อาคารบ า นพั ก ส ว นกลาง ผู  ม ี ส ิ ท ธิ ย ื ่ น คำร อ งขอเข า พั ก อาศั ย คื อ ข า ราชการตำรวจและ
ลูกจางประจำในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติซึ่งที่ทำการตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. อาคารบานพักสวนกลาง, คูมือสวัสดิการและสิทธิประโยชน
ขาราชการตำรวจ. (น.51. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

75. เงินสวัสดิการเบี้ยกันดารจะไดรับในอัตราสวนเทาใด
ก. อัตราสวนรอยละ 10 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 200 บาท
ข. อัตราสวนรอยละ 10 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 300 บาท
ค. อัตราสวนรอยละ 20 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 300 บาท
ง. อัตราสวนรอยละ 20 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 400 บาท
(ตอบ ก. (เงินสวัสดิการเบี้ยกันดาร เปนเงินสวัสดิการที่เกี่ยวกับเบี้ยกันดารเพื่อจายใหสำหรับขาราชการ
หรือลูกจางประจำที่ปฏิบัติราชการประจำอยูในทองที่กันดารตามที่ราชการกำหนด โดยกระทรวงการคลังจะ
ประกาศทุก 3 ป จะไดรับเงินชวยเหลือเบี้ยกันดารในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ
200 บาทตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับเบี้ยกันดาร พ.ศ.2524

76. ตำแหนงของขาราชการตำรวจ มีกี่ตำแหนง


ก. 12 ตำแหนง
ข. 13 ตำแหนง
ค. 14 ตำแหนง
ง. 2 ตำแหนง
(ตอบ ข. (ตามพระราชบัญญัติตำรวจ พ.ศ.2547 มาตรา 44 ตำแหนงขาราชการตำรวจมีดังตอไปนี้
1. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
2. จเรตำรวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
3. ผูชว ยผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
4. ผูบัญชาการ
5. รองผูบัญชาการ
6. ผูบังคับการ และพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญพิเศษ
7. รองผูบังคับการ และพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญ
8. ผูกำกับการ และพนักงานสอบสวนผูทรงคุณวุฒิ
9. รองผูกำกับการ และพนักงานสอบสวนผูชำนาญการพิเศษ
10.สารวัตร และพนักงานสอบสวนผูชำนาญการ
11.รองสารวัตร และพนักงานสอบสวน
- 27 -

12.ผูบังคับหมู
13.รองผูบังคับหมู

77. หนวยใหบริการวัคซีนตานโควิด-19 ของ รพ.ตำรวจ ตั้งอยูที่ใด


ก. ชั้น 3 อัมรินทรพลาซา
ข. สถานีกลางบางซื่อ
ค. หองประชุมสารสิน อาคาร 1 ตร. ชั้น 2
ง. ลานขางอาคารมงคลกาญจนาภิเษก (มก. ภายใน รพ.ตร.
(ตอบ ก.

78. ขอใดไมใชเอกสารหลักฐานในการสมัครเขารวมโครงการสมรสสวัสดิการขาราชการตำรวจ
ก. สำเนาบัตรขาราชการ (ฝายที่เปนขาราชการตำรวจ
ข. สำเนาคำสั่งแตงตั้งตำแหนงปจจุบัน (ฝายที่เปนขาราชการตำรวจ
ค. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ชาย, หญิง
ง. สำเนาทะเบียนหยา (กรณีเคยผานการสมรสมาแลว
(ตอบ ข. (ประกาศโครงการสมรสสวัสดิการขาราชการตำรวจ ครั้งที่ 16 ผูสมัครตองแนบเอกสารหลักฐาน
พรอมรับรองสำเนาทุกฉบับ ดังนี้
1. ใบสมัครเขารวมโครงการ
2. ภาพถาย
3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ชาย, หญิง
4. สำเนาบัตรประจำตัวขาราชการ (ฝายที่เปนขาราชการตำรวจ
5. สำเนาทะเบียนบาน
6. สำเนาใบหยา (กรณีเคยผานการสมรสมาแลว
7. ผูสมัครตองกรอกรายละเอียดใหครบถวน ชัดเจน และแนบเอกสาร (ตามขอ 1-6

79. ขอใดคือคุณสมบัติของผูสมัครเปนสมาชิกสามัญ ฌาปนกิจสงเคราะห สก.


ก. เปนขาราชการตำรวจหรือลูกจางประจำของสำนักงานตำรวจแหงชาติที่รับราชการหรือทำงานมาไม
เกิน 5 ป นับแตวันที่ไดรับการบรรจุ
ข. บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
ค. ตองไมเปนผูที่เคยเปนสมาชิกและไดลาออกจากการเปนสมาชิกมากอน
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวย การฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 4 คุณสมบัติของผูที่จะเปนสมาชิก ขอ 10 ผูที่จะเปนสมาชิกตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
10.1 เปนขาราชการตำรวจหรือลูกจางประจำของสำนักงานตำรวจแหงชาติที่รับราชการหรือทำงานมา
ไมเกิน 5 ป นับแตวันที่ไดรับการบรรจุ
10.3 บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
10.4 ตองไมเปนผูที่เคยเปนสมาชิกและไดลาออกจากการเปนสมาชิกมากอน
- 28 -

80. ขอใดไมใชการสิ้นสุดการเปนสมาชิก ฌาปนกิจสงเคราะห


ก. ลาออกจากสมาชิก นับตั้งแตวันที่กองสวัสดิการ (กฌ.ตร. ไดรับหนังสือลาออก
ข. ขาดสงเงินสงเคราะหติดตอกันเกินกวา 120 วัน นับแตวันที่สงเงินสงเคราะหครั้งสุดทาย
ค. เมื่อไดรับการแตงตั้งตำแหนงใหมและไมไดแจงใหกองสวัสดิการ (กฌ.ตร. ทราบ ภายใน 90 วัน
ง. คณะกรรมการมีมติใหพนจากการเปนสมาชิก
(ตอบ ค. (ระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวย การฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ
หมวด 6 ขอ 13 การเปนสมาชิกสิ้นสุดเมื่อ
13.1 ตาย
13.2 นับแตวันที่สมาชิกแสดงเจตนาขอลาออกเปนลายลักษณอักษร
13.3 ขาดสงเงินสงเคราะหติดตอกันเกินกวา 120 วัน นับแตวันที่สงเงินสงเคราะหครั้งสุดทาย
13.4 การสมัครเปนสมาชิกไดกระทำไปโดยไมสุจริต
13.5 บุคคลที่ถึงแกความตายตามผลของกฎหมาย
13.6 คณะกรรมการมีมติใหพนจากการเปนสมาชิก
- 29 -

ขอสอบในสายงานอำนวยการ
กองอัตรากำลัง (20 ขอ

81. การกำหนดจำนวนตำแหนงขาราชการตำรวจตั้งแตตำแหนง ผบก. หรือตำแหนงเทียบเทาขึ้นไป ตองไดรับ


ความเห็นชอบจากใคร
ก. ผบ.ตร.
ข. ก.ตร.
ค. ก.ต.ช.
ง. นายกรัฐมนตรี
(ตอบขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๔๕ วรรคสอง การกำหนดจำนวนตำแหนง
ขาราชการตำรวจตั้งแตตำแหนงผูบังคับการ หรือตำแหนงเทียบเทาขึ้นไปในสวนราชการตาง ๆ ตองไดรับความ
เห็นชอบจาก ก.ต.ช. กอน

82. การพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดตำแหนงขาราชการตำรวจตามมาตรา ๔๕ แหง พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ


พ.ศ. ๒๕๔๗ จะตองคำนึงถึงสิ่งใดบาง
ก. ลักษณะหนาที่และความรับผิดชอบของตำแหนงที่กำหนดขึ้น
ข. ปริมาณงานและคุ ณภาพของงานที่มีความเหมาะสมเพีย งพอที่จะตองพิจารณากำหนดตำแหน งขึ้น
เพื่อรองรับการปฏิบัติงาน
ค. ประสิ ทธิ ภ าพในการปฏิ บ ั ต ิ ง านต องสู งขึ้น และการดำเนิน การกำหนดตำแหน งจะต องอยูภ ายใต
การประหยัดงบประมาณใหมากที่สุด
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๕ บัญญัติวา ในสวน
ราชการตาง ๆ ของ ตร. จะใหมีตำแหนงขาราชการตำรวจใด จำนวนเทาใด และคุณสมบัติเฉพาะตำแหนงอยางใด
และจะใหมียศหรือไม และถาใหมียศจะใหมียศใด รวมตลอดถึงการตัดโอนตำแหนงจากสวนราชการหนึ่งไปเพิ่ม
ใหกับอีก สวนราชการหนึ่ง ใหเปนไปตามที่ ก.ตร. กำหนด โดยใหคำนึงถึงลักษณะหนาที่ และความรับผิดชอบ
ปริมาณ และคุณภาพของงาน รวมทั้งความมีประสิทธิภาพและการประหยัด
การกำหนดจำนวนตำแหน งขาราชการตำรวจตั้งแตตำแหนงผูบังคับ การหรือตำแหนงเทียบเทาขึ้น ไป
ในสวนราชการตาง ๆ ตองไดรับความเห็นชอบจาก ก.ต.ช. กอน

83. ตำแหนงขาราชการตำรวจตามที่กำหนดไวในวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๔ แหง พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.


๒๕๔๗ แบงออกเปนกี่ระดับ
ก. ๑๐ ระดับ
ข. ๑๑ ระดับ
ค. ๑๒ ระดับ
ง. ๑๓ ระดับ
(ตอบขอ ง. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๔ บัญญัติวา ตําแหน
งขาราชการตํารวจ มีดังตอไปนี้ (๑ ผู บัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒ จเรตํารวจแห งชาติ และรองผูบัญชาการ
ตํารวจแหงชาติ (๓ ผู ชวย ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ (๔ ผู บัญชาการ (๕ รองผู บัญชาการ (๖ ผู บังคับการ (๗
รองผูบังคับการ (๘ ผู กํากับการ (๙ รองผู กํากับการ (๑๐ สารวัตร (๑๑ รองสารวัตร (๑๒ ผู บังคับหมู (๑๓
รองผูบังคับหมู
- 30 -

ก.ตร. จะกําหนดใหมีตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่น โดยจะใหมีชื่อตําแหนงใดเทียบกับตําแหนงตามวรรคหนึ่ง


ก็ไดโดยใหกําหนดไวในกฎ ก.ตร.

84. การเที ย บระดั บ ตำแหน งของตำแหนงที่เรีย กชื่ออยางอื่น เชน ตำแหนงนายแพทย (สบ ๑ ตำแหนง
นักวิทยาศาสตร (สบ ๑ เปนตน กับตำแหนงตามที่กำหนดไวในวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๔ แหง พ.ร.บ.ตำรวจ
แห งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ เช น ระดั บ รองสารวัตร ระดับ สารวัตร หรือระดับ รองผูกำกับ การ เปน ตน จะตอง
ดำเนินการกำหนดไว โดยจัดทำในรูปแบบอะไร
ก. กฎกระทรวง
ข. กฎ ก.ตร.
ค. ระเบียบ ก.ตร.
ง. ระเบียบ ตร.
(ตอบขอ ข. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๔ บัญญัติวา ตําแหนง
ขาราชการตํารวจ มีดังตอไปนี้ (๑ ผู บัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒ จเรตํารวจแห งชาติ และรองผูบัญชาการ
ตํารวจแหงชาติ (๓ ผู ชวย ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ (๔ ผู บัญชาการ (๕ รองผู บัญชาการ (๖ ผู บังคับการ
(๗ รองผู บังคับการ (๘ ผู กํากับการ (๙ รองผู กํากับการ (๑๐ สารวั ตร (๑๑ รองสารวัตร (๑๒ ผู บังคับหมู
(๑๓ รองผู บังคับหมู
ก.ตร. จะกําหนดใหมีตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่น โดยจะใหมีชื่อตําแหนงใดเทียบกับตําแหนงตามวรรคหนึ่ง
ก็ไดโดยใหกําหนดไวในกฎ ก.ตร.

85. ส.ต.อ.สมชาย แสนดี ดำรงตำแหนง ผบ.หมู ฝอ.ภ.จว.สระบุรี เมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ โดยสำเร็จหลักสูตร
การฝ กอบรมบุ คคลภายนอกที ่ บ รรจุ ห รื อโอนมาเปน ขาราชการตำรวจชั้น ประทวนและพลตำรวจ (กอป.
หาก ส.ต.อ.สมชาย แสนดี ประสงค จ ะย า ยไปดำรงตำแหน ง ผบ.หมู  ป. สภ.เมื อ งลพบุ ร ี จะต อ งมี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงตามขอใด
ก. เขาอบรมหลักสูตรชัยยะ
ข. ศึกษาตอในระดับปริญญาตรีทางกฎหมาย
ค. เขาอบรมหลักสูตร กดต.(ปป.)
ง. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูก
(ตอบข อ ง.) (ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน ง กลุ  ม สายงานป อ งกั น ปราบปราม พ.ศ 2561 กำหนด
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนง ผบ.หมู (ป.) มีคุณสมบัติขอหนึ่งขอใด ดังนี้
๑. สำเร็จหลักสูตรนักเรียนนายสิบตำรวจ หรือเทียบหลักสูตรนักเรียนนายสิบตำรวจ ตามที่ ก.ตร.
กำหนด
๒. คุณวุฒิอื่นที่ ก.ตร. กำหนดใหเปนคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงนี้ได ไดแก
๒.๑ สำเร็ จ หลั ก สู ต รการฝ ก อบรมบุ ค คลภายนอกที ่ บ รรจุ ห รื อ โอนมาเป น ข า ราชการตำรวจ
ชั้นประทวนและชั้นพลตำรวจ ผนวกกับหลักสูตรการฝกอบรมชัยยะ หรือหลักสูตรการฝกอบรมตอตานและ
ปราบปรามการกอความไมสงบ
๒.๒ สำเร็จหลักสูตรการฝกอบรมที่หนวยตาง ๆ จัดใหมีขึ้น เพื่อทำหนาที่เกี่ยวของในการปองกัน
ปราบปรามโดยเฉพาะ ซึ่งสำนักงานตำรวจแหงชาติเปนผูอนุมัติ โดยมีระยะเวลาในการฝกอบรม ไมนอยกวา ๓ เดือน
๒.๓ คุ ณวุ ฒ ิ ป ริ ญ ญาตรี หรื อเทีย บไดไมต่ำกวานี้ทางเดียวกับ รองสารวัตร (ปฏิบ ัติการปองกัน
ปราบปราม โดยจะตองสำเร็จหลักสูตรการฝกอบรมบุคคลภายนอกที่บรรจุหรือโอนมาเปนขาราชการตำรวจ
- 31 -

ชั ้ น ประทวนและชั ้ น พลตำรวจ หรื อหลั กสู ตรการฝ ก อบรมชั ย ยะ หรือหลักสู ตรการฝ ก อบรมต อ ต า นและ
ปราบปรามการกอความไมสงบ หรือหลักสูตรการฝกอบรมที่หนวยตาง ๆ จัดใหมีขึ้น เพื่อทำหนาที่เกี่ยวของใน
การปองกันปราบปรามโดยเฉพาะ ซึ่งสำนักงานตำรวจแหงชาติเปนผูอนุมัติ โดยมีระยะเวลาในการฝกอบรมไม
นอยกวา ๓ เดือน ทั้งนี้ ใหใชคุณวุฒิขอนี้ไดเฉพาะในการแตงตั้งโยกยายเทานั้น หามใชในการบรรจุ

86. การคัดเลือกขาราชการตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. ที่มีอายุ ๕๓ ปขึ้นไป เพื่อเลื่อนตำแหนงและเลื่อนยศ


แบบเลื่อนไหลเปนชั้นสัญญาบัตรถึงยศ ร.ต.อ. ตองมีคุณสมบัติตามขอใดถึงจะมีสิทธิขอรับการคัดเลือก
ก. มียศ ด.ต. และมีอายุ ๕๓ ป ขึ้นไป นับถึงวันที่ ๓๐ ก.ย. ของปงบประมาณที่ดำเนินการ (ตองเปนผูที่เกิด
กอนวันที่ ๒ ตุลาคม
ข. มีความสมัครใจ และเปนผูมีความประพฤติเรียบรอย มีความวิริยะ อุตสาหะ ปฏิบัติหนาที่ดวยความ
ซื่อสัตย และมีความรูความสามารถเหมาะสมกับหนาที่ราชการ (ใหพิจารณาความประพฤติโดยทั่วไป ไมใหนำกรณีที่ถูก
ตั้งกรรมการสอบสวนทางวินัย หรือตองหา หรือถูกฟองคดีอาญา มาประกอบการพิจารณาความประพฤติ
ค. มี ส ุ ขภาพสมบู รณ เหมาะสมกั บการปฏิบ ัติหนาที่ โดยมีความเห็นของแพทยจากสถานพยาบาลของรัฐ
วามีสุขภาพสมบูรณเหมาะสม สามารถปฏิบัติหนาที่ราชการได และไมอยูระหวางถูกสั่งพักราชการ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ตามหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกขาราชการตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. ที่มีอายุ ๕๓ ปขึ้นไป
เพื่อเลื่อนตำแหนงและเลื่อนยศแบบเลื่อนไหลเปนชั้นสัญญาบัตรถึงยศ ร.ต.อ.
๑. คุณสมบัติของผูมีสิทธิขอรับการคัดเลือก
๑.๑ มียศ ด.ต.
๑.๒ อายุ ๕๓ ปขึ้นไป นับถึงวันที่ ๓๐ ก.ย. ของปงบประมาณที่ดำเนินการ (ตองเปนผูที่เกิดกอนวันที่
๒ ตุลาคม
๑.๓ มีความสมัครใจ
๑.๔ เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย มีความวิริยะ อุตสาหะ ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย และมี
ความรูความสามารถเหมาะสมกับหนาที่ราชการ (ใหพิจารณาความประพฤติโดยทั่วไป ไมใหนำกรณีที่ถู กตั้ง
กรรมการสอบสวนทางวินัย หรือตองหา หรือถูกฟองคดีอาญา มาประกอบการพิจารณาความประพฤติ
๑.๕ มีสุขภาพสมบูรณเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่ โดยมีความเห็นของแพทยจากสถานพยาบาลของ
รัฐวามีสุขภาพสมบูรณเหมาะสม สามารถปฏิบัติหนาที่ราชการได
๑.๖ ไมอยูระหวางถูกสั่งพักราชการ
ทั้งนี้ ใหขาราชการตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. ที่ไดรับพระราชทานยศ ร.ต.ต. เปนกรณีพิเศษตามระเบียบ
ตร. วาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๗ ยศตำรวจ (ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีสิทธิที่
จะขอรับการคัดเลือก โดยใหถือวาเปนผูมีคุณสมบัติตามขอ ๑ (๑ ดวย

87. ข า ราชการตำรวจที ่ จ ะไปดำรงตำแหนงในสัง กัด สตม. ที่ทำหนาที่ใดไม ต  อ งผ านการทดสอบความรู


ภาษาตางประเทศตามหลักเกณฑที่ ตร. กำหนด
ก. การเงินและบัญชี
ข. ประมวลผล
ค. ตรวจคนเขาเมือง
- 32 -

ง. ธุรการ
(ตอบขอ ก. (ตาม มติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 15/2558 เมื่อ 21 ก.ย.2558 ที่ประชุมมีมติอนุมัติ
ปรับปรุงแกไขคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงของขาราชการตำรวจในสังกัด สตม.ทุกตำแหนง ตามมติ อ.ก.ตร.
ตำแหนงในการประชุมครั้งที่ 9/2544 เมื่อ 26 ธ.ค.2544 มติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 11/2555 เมื่อ 1 ส.ค.
2555 และมติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 11/2556 เมื่อ 25 ต.ค.2556 ดังนี้
1. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงของขาราชการตำรวจในสังกัด สตม. เฉพาะระดับตำแหนง ผกก. ลงมา
ทุกตำแหนง “ตองผานการทดสอบความรูภาษาตางประเทศตามหลักเกณฑที่ ตร. กำหนด ” โดยมีผลใชบังคับ
ตั้งแตวันที่ ก.ตร. มีมติอนุมัติ
2. ยกเวน โดยไมบังคับใชกับตำแหนงเฉพาะทางที่ทำหนาที่ดานงบประมาณ การเงินและการบัญชี การเงินและ
พัสดุ นิติกร และนายเวร

88. ขาราชการตำรวจกลุมใดที่ ไมเปน ตำแหนงควบปรับระดับเพิ่ม - ลด ไดในตัวเอง


ก. พนักงานสอบสวน
ข. นักวิชาการคอมพิวเตอร
ค. นักสังคมสงเคราะห
ง. นักจิตวิทยา
(ตอบขอ ก.) (ตามคำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 7/2559 ลง 5 ก.พ.2559 เรื่อง การ
กำหนดตำแหนงของขาราชการตำรวจซึ่งมีอำนาจหนาที่ในการสอบสวน เพื่อประโยชนในการปฏิรูปดานการ
บริหารราชการแผนดินและกระบวนการยุติธรรม สมควรปรับปรุงการกำหนดตำแหนงของขาราชการตำรวจซึ่งมี
อำนาจหนาที่ในการสอบสวนเสียใหมใหสอดคลองกับโครงสรางและระบบการบังคับบัญชาของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ
ฯลฯ
ประกอบกับ มติ อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคล ครั้งที่ 3/2559 เมื่อ 11 มี.ค.2559 อนุมัติยกเลิกระบบ
ตำแหนงพนักงานสอบสวนเดิม (รอง ผบก. - รอง สว.) ที่กำหนดเปนตำแหนงควบปรับระดับเพิ่มลดไดในตัวเอง
ใหเปนตำแหนงที่มีระดับตำแหนงเดียวทั้งหมด โดยตำแหนงใดจะเปนระดับใด ใหเปนไปตามระดับตำแหนงของ
ผูที่ครองตำแหนงอยูในปจจุบัน

89. กรณีที่ผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวนผูใดไดรับการแตงตั้งในระดับสูงขึ้น แตยังไมสำเร็จหลักสูตรการฝกอบรม


ในระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้ง สิทธิในการไดรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่
ดานสอบสวน (ต.ด.ส. ของผูนั้นเปนไปตามขอใด
ก. ใหไดรับ ต.ด.ส. ในระดับตำแหนงเดิมไปกอน
ข. ใหไดรับ ต.ด.ส. ในอัตรากึ่งหนึ่งของระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้ง
ค. ไดรับ ต.ด.ส. ในระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้งทันที
ง. ไมมีสิทธิไดรับ ต.ด.ส. จนกวาจะสำเร็จหลักสูตรการฝกอบรมในระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้ง
(ตอบขอ ก. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มเปนกรณีพิเศษสําหรับตําแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวน
พ.ศ. ๒๕๕๙ ขอ ๖ ผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวน ใหไดรับ ต.ด.ส. ในอัตรา ดังนี้
(๑ รองสารวัตร หรือเทียบเทา เดือนละ ๑๒,๐๐๐ บาท
- 33 -

(๒ สารวัตร หรือเทียบเทา เดือนละ ๑๔,๔๐๐ บาท


(๓ รองผูกํากับการ หรือเทียบเทา เดือนละ ๑๗ ,๓๐๐ บาท
ในกรณีที่ผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวนผูใดไดรับการแตงตั้งในระดับสูงขึ้น แตยังไมสําเร็จหลักสูตรการฝกอบรมใน
ระดับตําแหนงที่ไดรับแตงตั้ง ใหผูนั้นมีสิทธิไดรับ ต.ด.ส. ในระดับตําแหนงเดิมไปกอน

90. ผูปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวนที่มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
สืบสวน (ต.ส.ส. หากเขารับการฝกอบรมหลักสูตรฝายอำนวย การตำรวจ (ฝอ.ตร. สิทธิในการไดรับ ต.ส.ส. ของ
ผูนั้นเปนไปตามขอใด
ก. มีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. ไมเกินหกสิบวันทำการ
ข. มีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. ไมเกินเกาสิบวันทำการ
ค. มีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. เต็มจำนวน
ง. ไมมีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. แตอยางใด
(ตอบขอ ค. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดา น
ปองกันและปราบปราม ดานสืบสวน และดานจราจร พ.ศ. 2563 ขอ 11(5 กรณีสำนักงานตำรวจแหงชาติจัด
อบรมหรือพิจารณาคัดเลือกใหผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวน ไปราชการเพื่อเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ หรือ
ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย เพื่อเปนการพัฒนาความรูความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวนใหมีสิทธิ
ไดรับ ต.ด.ส. เต็มจำนวน

91. ขาราชการตำรวจผูปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวนที่มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผู
ปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวน (ต.ส.ส. ไปปฏิบัติราชการหนาที่จราจร จะมีสิทธิไดรับเงินผูปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวน
(ต.ส.ส. อยูหรือไม
ก. ได เนื ่ อ งจากระเบี ย บกำหนดให ผ ู  ป ฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ใ นสายงานป อ งกั น ปราบปราม สื บ สวน จราจร
สามารถสับเปลี่ยนหมุนเวียนหนาที่กันได
ข. ไมได เพราะเงินแตละระดับไมเทากัน
ค. ได เพราะเปนคำสั่งผูบังคับบัญชา
ง. ไมได เพราะปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
(ตอบขอ ก. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
ปองกันและปราบปราม ดานสืบสวน และดานจราจร พ.ศ. 2563 ขอ 11 ขาราชการตำรวจที่ไดรับแตงตั้งใหดำรง
ตำแหนงดานปองกันปราบปราม ดานสืบสวน หรือดานจราจร ดานใดดานหนึ่งหรือหลายดานรวมกัน ไมเต็มเดือนใน
เดือนใดใหมีสิทธิไดรับ ต.ป.ป ต.ส.ส. หรือ ต.จ.ร.สำหรับเดือนนั้น ตามสวนของจำนวนวันที่ไดดำรงตำแหนง และ
ปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ถาเดือนใด ไดปฏิบัติหนาที่ ดานปองกันปราบปราม ดานสืบสวน หรือดานจราจร ที่ไดรับการ
แตงตั้งดานใดดานหนึ่ง หรือหลายดานรวมกัน ไมมีสิทธิไดรับ ไดรับ ต.ป.ป ต.ส.ส. หรือ ต.จ.ร. สำหรับเดือนนั้น

92. ขาราชการตำรวจชั้นประทวนที่ไดรับเงินปองกันปราบปราม (ต.ป.ป. เมื่อไดรับการแตงตั้ง เพื่อเลื่อน


ตำแหนงและเลื่อนยศแบบเลื่อนไหล เปนชั้นสัญญาบัตร (นายรอย ๕๓ สิทธิการไดรับเงิน ต.ป.ป. เปนอยางไร ตาม
ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดานปองกันและปราบปราม
สืบสวน จราจร พ.ศ. ๒๕๖๓
ก. ไดรับเงินชั้นประทวนเทาเดิม
ข. ไดรับเงินชั้นสัญญาบัตร
ค. หมดสิทธิการไดรับเงิน
- 34 -

ง. ไดรับไมเกินกึ่งหนึ่งของระดับเดิม
(ตอบขอ ข. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
ปองกันและปราบปราม ดานสืบสวน และดานจราจร พ.ศ. 2563 ขอ 6 ผูปฏิบัติหนาที่ดานปองกันปราบปรามให
ไดรับ ต.ป.ป. นับแตวันที่ไดรับการแตงตั้งและเขาปฏิบัติหนาที่ ในตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดานปองกันปราบปราม
ในอัตราดังนี้
รอง ผกก.หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 4,700 บาท
สารวัตร หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 4,000 บาท
รองสารวัตร หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 3,500 บาท
ผบ.หมู หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 3,000 บาท

93. รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก รายจายที่จายในลักษณะใดบาง


ก. เงินเดือน
ข. เงินเพิ่มพิเศษ
ค. คาจางชั่วคราว
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก รายจาย
ที่จายในลักษณะเงินเดือน คาจางประจำ คาจางชั่วคราว และคาตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจายที่
กำหนดใหจายจากงบรายจายอื่นใดในลักษณะรายจายดังกลาว (ตามหลักการจำแนกประเภทรายจา ยตาม
งบประมาณแกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนักงบประมาณ ที่ นร ๐๗๐๔/ว๓๓ และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวน
ที่สุด ที่ นร ๐๗๐๔/ว๖๘

94. ขอใดตองขอรับรองเงินเดือนเหลือจาย
ก. การใชอัตราเงินเดือนใหม เพื่อรองรับการบรรจุแตงตั้งขาราชการใหม
ข. การเบิกจายเงินประจำตำแหนง หรือเงินเพิ่มพิเศษประเภทตาง ๆ ที่มีการกำหนดเพิ่มใหมตาม มติ ก.ตร.
ค. การเบิกจายเงินเดือนใหแกขาราชการตำรวจซึ่งถูกสั่งใหออก ปลดออก หรือ ไลออกจากราชการ และ
ตอมา ไดมีคำสั่งใหกลับเขารับราชการ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (หนังสือ ตร. ดวนที่สุด ที่ 0009.167/ว 60 ลง 17 มิ.ย.56 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการขอ
หนังสือรับรองเงินเดือนเหลือจายและสงรายงานสรุปผลการเบิกจายเงินเดือน

95. คุณสมบัติขอใด ไม สามารถยกเวนการบรรจุเขารับราชการตำรวจไดตาม กฎ ก.ตร. วาดวยคุณสมบัติและ


ลักษณะตองหามการเปนขาราชการตำรวจ พ.ศ. ๒๕๔๗
ก. เปนผูประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี
ข. เปนบุคคลลมละลาย
ค. เปนผูเคยตองรับโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษ สำหรับความผิดที่กระทำ
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
ง. เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก หรือปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐ
- 35 -

(ตอบขอ ข. (ตาม กฎ ก.ตร. วาดวยคุณสมบัติและลักษณะตองหามการเปนขาราชการตำรวจ พ.ศ.2547 ขอ


2 วรรคสอง ผูที่ขาดคุณสมบัติตามขอ 2 (2 หรือขอ 2 (4 ก.ตร. อาจพิจารณายกเวนใหเขารับราชการได ฯลฯ

96. การจางพนักงานราชการใหกระทำเปนสัญญาจางไมเกินคราวละกี่ป
ก. ๒ ป
ข. ๓ ป
ค. ๔ ป
ง. ๕ ป
(ตอบขอ ค. (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 ขอ 11 การจางพนักงาน
ราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละสี่ปหรือตามโครงการที่มีกําหนดเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดไวโดยอาจ
มีการตอสัญญาจางได ทั้งนี้ตามความเหมาะสมและความจําเปนของแตละสวนราชการ

97. ผูใดมีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗


ก. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
ข. รองนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบดูแลความมั่นคง
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
(ตอบขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ และมีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

98. การจัดทำ แกไข ปรับปรุง ศึกษา ตรวจสอบการแบงสวนราชการ และการกำหนดโครงสราง แบงสวนราชการ


ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ เปนอำนาจหนาที่ของหนวยงานใด
ก. กองอัตรากำลัง
ข. กองกฎหมาย
ค. กองทะเบียนพล
ง. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการตำรวจ
(ตอบขอ ก. (ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรือสวนราชการอยางอื่นในสำนักงาน
ตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอ 3 สวนราชการในสำนักงานตำรวจแหงชาติมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้
1. สำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(3 สำนักงานกำลังพล
(ค กองอัตรากำลัง มีอำนาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑ ดำเนินการเกี่ยวกับการวิเ คราะห และกำหนดตำแหนงของหนวยงานตาง ๆ ต ลอดจน
การปรับปรุงโครงสรางการแบงสวนราชการของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
- 36 -

99. หนวยงานใดเปนหนวยงานที่รับผิดชอบลงประกาศกฎหมายแบงสวนราชการ และประกาศเกี่ยวกับการจัด


ระเบียบราชการในสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ก. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ข. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. สำนักนายกรัฐมนตรี
ง. สำนักงานตำรวจแหงชาติ
(ตอบขอ ก. (ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.
๒๕๕๙ ขอ ๒ (5 บริการและเผยแพรขอมูลขาวสารของทางราชการเกี่ยวกับงานในอำนาจหนาที่แกประชาชน
และประกาศสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เรื่อง โครงสรางและการจัดหนวยงาน อำนาจหนาที่วิธีการดำเนินงาน
และสถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสารของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ขอ ๕ วิธีการดําเนินงานของ
หนวยงานภายในสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีโดยสรุป ดังตอไปนี้
5.8 กองอาลักษณและเครื่องราชอิสริยาภรณ
5.8.6 กลุมงานราชกิจจานุเบกษา
๕.๘.๖.๒ ด า นการบริ ก ารประชาชน จั ด ทํ า ข อ มู ล ราชกิ จ จานุ เ บกษา โดยใช สื่ อ
อิเล็กทรอนิกสเพื่อใหบริการประชาชนเกี่ยวกับการตรวจสอบขอมูลเรื่องที่ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาทุกเรื่อง

100. สวนราชการใด ไม สังกัดสำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ


ก. สำนักงานกำลังพล
ข. สำนักงานพิสูจนหลักฐานตำรวจ
ค. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการตำรวจ
ง. สำนักงานตรวจสอบภายใน
(ตอบขอ ข. (ตาม พ.ร.ฎ.แบงสวนราชการสำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๔ ใหแบงสวน
ราชการสำนักงานตำรวจแหงชาติ ดังตอไปนี้
ก. สำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ แบงเปนสวนราชการที่มฐี านะเทียบเทากองบัญชาการ ดังนี้
(๑ สำนักงานยุทธศาสตรตำรวจ
(๒ สำนักงานสงกำลังบำรุง
(๓ สำนักงานกำลังพล
(๔ สำนักงานงบประมาณและการเงิน
(๕ สำนักงานกฎหมายและคดี
(๖ สำนักงานคณะกรรมกา รขาราชการตำรวจ
(๗ สำนักงานจเรตำรวจ
(๘ สำนักงานตรวจสอบภายใน
- 37 -

You might also like