You are on page 1of 186

พื้นฐานความรู ้เกี่ยวกับหม้อนํ้าและ

อุปกรณ์ประกอบ

โดย
ผศ. ธวัชชัย นาคพิพฒ
ั น์
การใช้ไอนํ้า
ขนาดและแรงม้ าหม้ อ นํา้
อัต ราการผลิต ไอนํา้ (Steam Rate) หมายถึง ความสามารถผลิตไอของหม้ อนํ ้าได้ ในเวลา 1
ุ หภูมิ 100 ซ หน่วยที่ใช้ เรี ยกเป็ นกิโลกรัม/ชัว่ โมง
ชัว่ โมง ที่ความดันบรรยากาศ โดยไอนํ ้าจะมีอณ
หรื อตัน/ชัว่ โมง
แรงม้ าหม้ อ ไอนํา้ (Boiler horsepower) เป็ นหน่วยวัดอัตราการผลิตไอนํ ้าของหม้ อนํ ้าอีกแบบ
หนึ่งโดยกํ าหนดว่า 1 แรงม้ าหม้ อนํ้ าหมายถึง หม้ อนํ้ าที่มีความสามารถผลิ ตไอนํ้ าได้ 34.5
ปอนด์ ในเวลา 1 ชั่วโมง โดยการทําให้ นํ ้าในหม้ อนํ ้าอุณหภูมิ 100 ซ กลายเป็ นไอ

ประสิท ธิภ าพของหม้ อ ไอนํา้ (Boiler Efficiency) เป็ นตัวเลขแสดงความสามารถของหม้ อ


นํ ้าที่เปลีย่ นพลังงานความร้ อนของเชื ้อเพลิงให้ กลายเป็ นพลังงานที่ได้ จากไอนํ ้า คิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์

ประสิท ธิภ าพหม้ อ นํา้ = ปริ มาณไอนํ้าที่ผลิตได้×ค่าความร้อนไอนํ้า × 100


ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ใช้×ค่าความร้อนเชื้อเพลิง
ข้อมูลการคํานวณเกี่ยวกับหม้อนํ้า
หม้อนํ้าขนาด 1 ตัน = หม้อต้มนํ้ามันร้อนขนาด 540,540.54 kcal/hr

หม้อนํ้าขนาด 1 ตัน ผลิตไอนํ้าได้ในอัตรา = 1,000 kg/hr


หม้อนํ้าขนาด 1 ตัน คิดเป็ นแรงม้าหม้อนํ้า = 64 bhp

หม้อนํ้าขนาด 1 ตัน คิดเป็ นแรงม้าเปรี ยบเทียบทางไฟฟ้ า = 421 hp

หรื อ = 314 kW

**เทียบทางพลังงานจริ ง = 314x2 = 628 kW **


ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอนํ้าอิ่มตัวกับอุณหภูมิ
ความดันไอนํา้ อ่ านจากเกจ (Psi) อุณหภูมิไอนํา้
F C
0 212 100
10 240 115
20 259 126
40 287 141
60 307 152
80 324 162
100 338 170
120 350 176
140 359 181
160 368 186
180 379 192
200 383 197
250 406 207
300 422 216
แสดงขั้นตอนการเกิดไอนํ้าในหม้อไอนํ้า
รูปแบบการปรับตังความดั
้ นไอนํ ้าที่เหมาะสมเพื่อการใช้ งาน
วาล์วลด
ความดัน การสูญเสียความดันในระบบท่อ B

ความดันที่แตกต่าง
ขณะหม้ อนํ ้าทํางาน C

อุปกรณ์ใช้ ไอ หม้ อนํ ้า


Steam trap

อุณหภูมิที่ใช้ งาน A
(กําหนดความดันไอ) ความดันไอปรับตังที
้ ่เหมาะสม D

ความดันปรับตัง้ D = (A+B+C)x1.1 เมื่อมี Accumulator


ความดันปรับตัง้ D = (A+B+C)x1.2 เมื่อไม่มี Accumulator
ลักษณะหม้อนํ้าที่ใช้งานในปัจจุบนั

ประเภทหม้ อ ไอนํา้
1. หม้ อนํ ้าแบบท่อไฟ
2. หม้ อนํ ้าแบบท่อนํ ้า
3. หม้ อนํ ้าใช้ ไฟฟ้า
4. หม้ อนํ ้าแบบอื่นๆ
หม้อนํ้าแบบท่อไฟ
Heat transfer in boiler
Conduction Radiation

Convection
หม้อนํ้าใช้น้ าํ มันเตา
หม้อนํ้าใช้เชื้อเพลิงแข็ง
หม้อนํ้าแบบท่อนํ้า
โครงสร้างหม้อนํ้าแบบท่อนํ้า
หม้อนํ้าใช้ไฟฟ้า
หม้อนํ้าแบบอื่นๆ
ตัวอย่างเหตุการณ์หม้อนํ้าระเบิดที่ผา่ นมา

ข้ อมูลเริ่ มจากปี พ.ศ. 2546


อุบตั ิเหตุหม้อนํ้าระเบิด สาเหตุและการป้องกัน

• หม้ อนํา้ ระเบิด โรงงานฟอกย้ อมผ้ ายีนส์


• หม้ อนํา้ ระเบิดโรงงานอาหารทะเลแช่ แข็งและบรรจุกระป๋อง
• หม้ อนํา้ ระเบิดโรงงานผลิตถุงมือยางถุงมือแพทย์
• หม้ อนํา้ ระเบิด โรงต้ มกลัน่ สุ รา
• ท่ อไฟใหญ่ ยุบแบน (Plastic Deformation) โรงงานผลิตบะหมี่
• การชํารุดของหม้ อนํา้ โรงงานผลิตและจําหน่ ายกระแสไฟฟ้ า
• หม้ อนํา้ ระเบิด โรงงานพิมพ์ ผ้า-ย้ อมผ้ า
• การระเบิดของห้ องเผาไหม้ หม้ อนํา้ โรงงานผลิต ไฮโดรคาร์ บ อน เรซิน
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 1
• หม้ อนํา้ ท่ อไฟ 5.2 T/H
• ท่ อไฟใหญ่ ฉีกขาดจาก
ผนังหน้ าและหลัง ครึ่งวง
จากด้ านล่ าง
• ความเสี ยหาย
-เสี ยชีวติ 5 บาดเจ็บ 12
-บ้ านพักคนงานตึก 2 ชั้น 3
คูหา พังทลาย
-ถังเก็บนํา้ มันแตก
-ค่ าเสี ยหาย > 5ล้ านบาท
• สาเหตุ
-หม้ อนํา้ ไม่ ได้ มาตรฐาน
-ท่ อไฟใหญ่ ผุกร่ อนมาก
-ตะกรันหนา
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 2

 หม้ อ นํา้ ท่ อ ไฟนอน ขนาด 10 ตัน /ชั่วโมง ความดัน ใช้ งาน 110 psi. อายุก ารใช้ งาน 3 ปี
 มีผ้ ูบ าดเจ็บ 10 คน ค่ าเสีย หาย > 20ล้ านบาทหม้อนํ้าขนาด 10 T/H Design Pressure 10 kg/cm2
 ความดันใช้งานปกติ 8 kg/cm2
 ภายหลังการระเบิด หม้อนํ้าเคลื่อนตัวห่างจากฐานที่ต้ งั ~ 40 ม. และตกลงในคลองหลังโรงงาน
1.โครงสร้ างหม้ อนํา้ ไม่ ได้ มาตรฐาน
(การติดตั้งเหล็กยึดโยงผิดจากมาตรฐานกําหนด)
2.ความบกพร่ องในการออกแบบ และการ
ตรวจสอบความปลอดภัยโดยวิศวกร
วิศวกรถูกพักใช้ ใบอนุญาต กว. 5 ปี
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 3

- หม้ อนํา้ ท่ อไฟนอน


- ขนาด 15 ตัน/ชั่วโมง
- ความดันใช้ งาน 170 psi.
- อายุการใช้ งาน 7 ปี
- ใช้ ฟื นเป็ นเชื้อเพลิง
สาเหตุ
•หม้ อนํา้ Overheat จากตะกรันหนา
•เครื่ องควบคุมระดับนํา้ ชํารุ ดอุดตัน

•มีปัญหา การควบคุมการใช้ งานหม้ อ


นํา้
•มีปัญหา การบํารุ งรักษาหม้ อนํา้
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 4

สาเหตุ
โครงสร้ างหม้ อนํา้ ไม่ ได้ มาตรฐาน

โครงสร้ างมีการออกแบบ การสร้ าง


ทีไ่ ม่ ถูกหลักวิศวกรรม
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 5

• ท่ อ ไฟใหญ่ ยุบ เข้ า


หากัน เกิด Plastic
Deformation
• ผนังหน้ า-หลังของ
หม้ อ นํา้ หุบ เข้ าหา
กัน
• สภาพหม้ อ นํา้
ชํารุ ด ซ่ อ มแซม
ไม่ ไ ด้
• ค่ าเสีย หาย > 3
ล้ านบาท
หม้ อนํา้ Water Tube ระเบิด กรณีที่ 6
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 7

• หม้อนํ้าใช้งานที่ความดัน ประมาณ 6 บาร์


• เกิดการระเบิดขณะกําลังเลิกใช้งาน
• มีผไู ้ ด้รับบาดเจ็บ 22 คน
• ทรัพย์สินเสี ยหาย มากกว่า 10 ล้านบาท
หม้ อนํา้ ระเบิดของหม้ อนํา้ กรณีที่ 8

ภายในลูก ถ้ วย มีค ราบ


ถ่ านแข็งเกาะหนา
Pressure = 7 kgf/cm2, Efficiency = 86% Fuel = 4%
Material Strength with Increased Temperature

Titanium Alloy

Nickel Alloy

Steel

Aluminum Alloy
หม้อนํ้าแบบใดที่ระเบิดมากที่สุด ?
คําตอบคือ
หม้อนํ้าแบบท่อไฟ

หม้อนํ้าแบบใดที่ระเบิดแล้วมีอนั ตรายมากที่สุด ?
คําตอบคือ
หม้อนํ้าแบบท่อไฟ
ปั จ จัยที่ท าํ ให้ ก ารใช้ ห ม้ อ นํา้ มีค วามปลอดภัย

หม้ อนํ ้า

ส่วนควบ ความ
ผู้ใช้ หม้ อนํ ้า
หม้ อนํ ้า ปลอดภัย

ผู้ตรวจสอบ
หม้ อนํ ้า
มีอปุ กรณ์สว่ นควบ ผู้ใช้ งานมีความรู้และ มีการบํารุงรักษา
ครบถ้ วนตามกฏหมาย เอาใจใส่ดี และตรวจสอบดี

มีการออกแบบโดยวิศวกรที่ร้ ู
และทําโดยช่างมีประสบการณ์
ความเสี่ย งน้ อ ยมาก
ทําโดยช่างมี ความเสี่ย งน้ อ ย
ความเสี่ย ง
ประสบการณ์
ความเสี่ย งปานกลาง
ทําโดยช่างไม่มี ความเสี่ย งสูง
ประสบการณ์ ความเสี่ย งสูงมาก
ความเสี่ยง
หม้ อ นํา้ จากการใช้ ห ม้ อ นํา้
พิจารณาที่ตวั หม้อนํ้าและส่ วนควบ
ปัจจัยที่ทาํ ให้หม้อนํ้ามีความปลอดภัย มีดงั นี้
 คุณสมบัติของโลหะและโครงสร้ างของหม้ อนํ ้า
 การออกแบบ การประกอบ และการเชื่อมหม้ อนํ ้า
 ส่วนควบของหม้ อนํ ้าเพื่อการใช้ งาน
 ส่วนควบคุมนํ ้า
 ส่วนควบคุมไฟ
 ส่วนควบคุมความดัน
 ส่วนควบคุมและเตือนเพื่อความปลอดภัย
 ส่วนบําบัดนํ ้าและเชื ้อเพลิงเพื่อป้อนเข้ าหม้ อนํ ้า
หลัก การประเมิน ความปลอดภัยของหม้ อ นํา้ แบบท่ อ ไฟ
ผนังหน้ า เปลือก ท่อไฟเล็ก ท่อไฟใหญ่ ผนังหลัง

ห้ องไฟย้ อนกลับ
หลัก การประเมิน ความปลอดภัยของหม้ อ นํา้ แบบท่ อ ไฟ
หลัก การประเมิน ความปลอดภัยของหม้ อ นํา้ แบบท่ อ ไฟ
ปั จจัยที่ทาํ ให้หม้อนํ้ามีความปลอดภัย
 คุณสมบัตขิ องโลหะและโครงสร้ างของหม้ อนํ ้า
 หม้ อนํ ้าแบบท่อไฟ
 หม้ อนํ ้าแบบท่อนํ ้า
 หม้ อนํ ้าไฟฟ้า
 ส่วนควบของหม้ อนํ ้าเพื่อการใช้ งาน
 ส่วนควบคุมนํ ้า
 ส่วนควบคุมความดัน
 ส่วนควบคุมไฟฟ้าและเตือนเพื่อความปลอดภัย
 ส่วนระบายเมื่อความดันเกิน
 ส่วนบําบัดนํ ้าดิบเพื่อป้อนเข้ าหม้ อนํ ้า
 ถังพักไอและระบบจ่ายไอนํ ้า
 อุปกรณ์ดกั จับฝุ่ นจากไอเสีย
หม้อนํ้าแบบท่อไฟ
โครงสร้างหม้อนํ้าแบบท่อไฟที่สาํ คัญ
1. เปลือกหม้ อนํ ้า
2. ผนังหม้ อนํ ้า
3. ท่อไฟ
4. ห้ องเผาไหม้
5. ห้ องไฟย้ อนกลับ
6. เหล็กยึดโยง
7. ฝาหอย
8. ฉนวน
เปลือกหม้ อนํ ้าด้ านใน
ผนังหม้ อนํ ้าด้ านไฟ
ผนังหม้ อนํ ้าด้ านนํ ้า
ท่อไฟใหญ่ด้านไฟ
ท่อไฟเล็กด้ านไฟ
ท่อไฟด้ านนํ ้า
ห้ องเผาไหม้ ด้านไฟ
ห้ องเผาไหม้ ด้านนํ ้า
ห้ องไฟย้ อนกลับด้ านไฟ
Gusset stay
ห้ องไฟย้
Stay อrod
นกลับ
Stay tube
ฝาหอย
ฉนวนหุ้มหม้ อนํ ้า
สรุปจุดทีเ่ สี่ ยงของหม้ อนํา้ แบบท่ อไฟ
1. จากโครงสร้ างของหม้ อนํ ้า
1) สภาพภายนอกของหม้ อนํ ้า
‐ สภาพความเรี ยบร้ อยของประตูด้านไฟ
‐ สภาพความเรี ยบร้ อยของฉนวนหุ้มหม้ อนํ ้าและฉนวนทนไฟ
‐ สภาพความเรี ยบร้ อยของท่อนํ ้าและท่อไฟเข้ า‐ออก หน้ าแปลน และวาล์วต่างๆ
2) โครงสร้ างหม้ อนํ ้าด้ านไฟ
‐ การเสียรูปของโครงสร้ างหม้ อนํ ้า
‐ การบวม ยุบ หรื อย้ อย การแตก
‐ ความหนาที่เหลือของเปลือก ผนังและท่อไฟของหม้ อนํ ้า
‐ ความเรี ยบร้ อยของแนวเชื่อม
‐ การถ่ายเทความร้ อนของโลหะที่รับความร้ อน
‐ ความถูกต้ องและเรี ยบร้ อยของเหล็กยึดโยงด้ านไฟ
3) โครงสร้ างหม้ อนํ ้าด้ านนํ ้า
‐ ความถูกต้ องและเรี ยบร้ อยของเหล็กยึดโยงด้ านนํ ้า
‐ การรั่วซึมตามโครงสร้ างของหม้ อนํ ้า
สรุ ปจุดทีเ่ สี่ ยงของหม้ อนํา้ แบบท่ อไฟ(ต่ อ)
2. จากนํ ้าในหม้ อนํ ้า
1) การควบคุมความเข้ มข้ นของนํ ้าและโคลนในหม้ อนํ ้า
2) ลักษณะของตะกรันที่อยูด่ ้ านล่างของหม้ อนํ ้า ที่ทอ่ ไฟใหญ่และท่อไฟเล็ก
3) ลักษณะของตะกรันจับที่ทอ่ ไฟใหญ่และท่อไฟเล็ก
4) สีและส่วนประกอบของนํ ้าในหม้ อนํ ้า
3. จากส่วนประกอบของหม้ อนํ ้า
1) สภาพของหลอดแก้ วดูระดับนํ ้า ชุดควบคุมระดับนํ ้า วาล์วและท่อต่อ
2) สภาพของเกจวัดความดัน สวิทช์ควบคุมความดัน วาล์วและท่อต่อ
3) สภาพของชุดปั๊ มนํ ้าป้อน วาล์วและระบบท่อนํ ้าป้อน
4) สภาพของ Deaerator ถังนํ ้าคอนเดนเสท และ ถังนํ ้าป้อน
5) สภาพของวาล์วนิรภัยและท่อต่อ
6) สภาพของวาล์วจ่ายไอและระบบท่อจ่ายไอ
4. ระบบไฟฟ้า
1) สภาพของระบบเตือนภัยนํ ้าแห้ ง นํ ้าตํ่าเกินไป และ นํ ้าสูงเกินไป ด้ วยแสงและเสียง
2) สภาพของระบบควบคุมความดัน
3) สภาพของระบบควบคุมความปลอดภัยด้ วยอุณหภูมิปล่องที่สงู เกินไป
หม้อนํ้าแบบท่อนํ้า
โครงสร้างหม้อนํ้าแบบท่อนํ้า
ดรัมบนของหม้ อนํ ้าแบบท่อนํ ้า
ดรัมบนและดรัมล่างด้ านนํ ้า
header ของหม้ อนํ ้า
ท่อนํ ้าของหม้ อนํ ้า
ท่อนํ ้าของหม้ อนํ ้า
ห้ องเผาไหม้ ของหม้ อนํ ้า
แบบ once through
ห้ องเผาไหม้ ของหม้ อนํ ้าแบบท่อนํ ้าใช้ เชื ้อเพลิงแข็ง
Slag ของเชื ้อเพลิงที่สะสมในห้ องเผาไหม้
ส่วนที่เป็ น fly ash และ
bottom ash ของหม้ อ
นํ ้าแบบท่อนํ ้า
Buffer plate ปรับทิศทางการไหลของก๊ าซร้ อน
Buffer plate ปรับทิศทางการไหลของก๊ าซร้ อน
ฉนวนหุ้มผนังท่อนํ ้าที่เสียหาย
ฉนวนหุ้มท่อจ่ายไอนํ ้าที่เสียหาย
ฉนวนหุ้มหลังคาห้ องเผาไหม้ ที่เสียหาย
หม้อนํ้าไฟฟ้า
ส่ วนควบของหม้อนํ้าเพื่อการใช้งาน
อุปกรณ์ประกอบของหม้ อนํ ้าที่สําคัญ
วาล์วนิรภัย วาล์วจ่ายไอ

เกจวัดความดัน
สวิทช์ควบคุม อุปกรณ์ควบคุมระดับนํ ้า
ความดัน
ฉนวน
หัวฉีด

ปั๊ มนํ ้า

ตู้สวิทช์ควบคุม ชุดอุน่ และกรอง วาล์วระบายนํ ้าทิ ้ง


นํ ้ามันเชื ้อเพลิง
อุปกรณ์ประกอบของหม้อนํ้าที่สาํ คัญ
1. วาล์วนิรภัย(Safety valve)
2. วาล์วจ่ายไอ(Main steam valve)
3. วาล์วระบายนํ ้าทิ ้ง(Surface and bottom blow-down valve)
4. ปั ม้ นํ ้า(Water pump)
5. อุปกรณ์ควบคุมระดับนํ ้า(Water Level control and gauge)
6. เกจวัดความดัน(Pressure gauge)
7. สวิทช์ควบคุมความดัน(Pressure switch)
8. หัวฉีด(Burner)
9. ฉนวน(Insulation)
ส่ วนควบคุมนํ้า
ชนิด อีเล็กโทรด

อุปกรณ์ควบคุมนํ ้าที่ใช้ กนั ทัว่ ไป


1. อีเล็คโทรด
2. ทรานสมิทเตอร์
3. ลูกลอย

ชนิด ทรานสมิทเตอร์ ชนิด ลูกลอย


ส่ วนควบคุมความดัน
ส่วนควบคุมไฟฟ้าและเตือนเพื่อความปลอดภัย
ระบบวัดและควบคุม
อุณหภูมิปล่อง
ส่ วนควบคุมไฟฟ้า
1. ตูค้ วมคุมไฟฟ้า
2. สัญญาณเสี ยงและแสง
หัวพ่นไฟแบบใช้ถว้ ยหมุนเหวีย่ ง
หัวพ่นไฟแบบใช้แรงอัดความดัน
ส่ วนระบายเมื่อความดันเกิน
ส่ วนบําบัดนํ้าดิบเพื่อป้อนเข้าหม้อนํ้า
ระบบนํ้าป้ อ น(Feed water system)
ประกอบด้ว ย
5.1 ถังสํารองนํ้าป้ อนและระบบไล่อากาศ (Feed water tank,
Deaerator)
5.2 เครือ่ งปรับปรุงคุณภาพนํ้า (Softener)
5.3 ปั ม๊ นํ้าป้ อน (Feed water pump)
5.4 ปั ม๊ เติมเคมีฯ (Dosing pump)
5.5 ถังสํารองเคมีฯ (Chemical tank)
ประโยชน์ ของการปรับปรุ งคุณภาพนํา้ ป้ อนเข้ าหม้ อนํา้

1. เพื่อความปลอดภัยในการใช้ หม้ อนํ ้า


2. เพื่อยืดอายุการใช้ งานหม้ อนํ ้า
3. เพื่อการประหยัดเชื ้อเพลิง
4. เพื่อให้ หม้ อนํ ้ามีความสามารถผลิตไอนํ ้าได้ เร็ วตามที่
ออกแบบไว้ ตลอดเวลา
เกณฑ์การควบคุมนํ้าของกรมโรงงานสําหรับหม้อนํ้า
นํา้ ป้ อ นเข้ าหม้ อ นํา้ (Boiler feed water, BFW)
Total Hardness (Ca and Mg) mg/l < 10
pH value at 25 oC 7.5-9.5
Composite Alkalinity (p-value) mg/l 0-25
Oxygen mg/l <2

นํา้ ในหม้ อ นํา้ (Boiler water, BW) :


Total Dissolved Solid ppm <5000
pH value at 25 oC 11.0-12.0
Composite Alkalinity (p-value) mg/l 100-500 ppm as CaCO3
Total Hardness (Ca and Mg) mg/l < 50
Direct Conductivity S/cm <7000
Phosphate (PO4) mg/l 10-40mg/l เทียบได้ กบั ppm
Boiler Water Standard
(JIS B8223: P  1 Mpa,30  ER 60 kg/m2/h)
Parameter Standard Value
pH 5.8-9.0
Feed Water
Total Hardness  1 mg/l
pH 11.0-11.8
Electrical Conductivity  4500 S/cm
TDS  3000 mg/l
Chloride ions  500 mg/l
Boiler Water P-Alkalinity 80-600 mg/l
M-Alkalinity 100-800 mg/l
N2H4 0.1-1.0 mg/l
Sulfite ions 10-50 mg/l
Phosphate ions 119 20-40 mg/l
ตัวอย่างรายงานผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้า
EC = 18,350 S/cm Fe = 26.6 mg/l
ผลเสี ยของตะกรัน

1. ตะกรันที่ท่อทางออกของไอ จะลดปริ มาณการไหลของไอ


ที่ออกจากหม้อนํ้า
2. ตะกรันจับที่ท่อด้านนํ้า จะทําให้ท่อร้อนจัด บวม แตก
สิ้ นเปลืองเชื้อเพลิงมาก และเป็ นเหตุทาํ ให้หม้อนํ้าระเบิดได้
3. ตะกรันส่ วนที่ไปกับไอนํ้า จะไปจับที่ผวิ อุปกรณ์ถ่ายเท
ความร้อน ทําให้ประสิ ทธิภาพการทํางานลดลง
Spray-tray Type Dearator
Deaerator
•การควบคุมคุณภาพนํ้าป้อนเข้าหม้อนํ้า
•การกรอง
•กรองด้วยทราย
•การกรองด้วยManganese
•การกรองด้วยCarbon
•การกรองด้วยเรซิ น(Softener)
•การกรองด้วยระบบ Reverse Osmosis
•การใช้แม่เหล็ก
•แม่เหล็กถาวร
•แม่เหล็กไฟฟ้า
•การใช้สารเคมี
•บําบัดตะกรัน
•บําบัดการกัดกร่ อน
130
การป้องกันปัญหาในระบบหม้อไอนํ้าโดยการใช้สารเคมี
1. สารเคมีสําหรับกําจัดออกซิเจน
 N2H4 , Na2SO3
2. สารเคมีปอ้ งกันการเกิดตะกรัน
 สารประกอบฟอสเฟต

ปั จจัยสําคัญที่มีผลต่อการบําบัดของสารเคมี
 จุดป้อนสารเคมี
 ความเข้ มข้ นของสารเคมีหลงเหลือที่เหมะสม
 รูปแบบการป้อนสารเคมี
ถังพัก ไอและระบบจ่า ยไอนํ้า

ประกอบด้ว ย
1. วาล์วจ่ายไอนํ้า (Main steam valve)
2. วาล์วระบายนํ้าก้นหม้อไอนํ้า (Blow down valve)
3. ถังพักไอ (Steam header)
ถังพักไอ (Steam header)
ระบบกําจัดฝุ่ นและควัน
ลูกของ Multicyclone
สรุ ปการตรวจหม้อนํ้าแบบท่อไฟ
การตรวจสอบภายนอก
1. ฉนวนหุ้มหม้ อนํ ้า
2. ประตูและช่องเปิ ดต่างๆ
3. ห้ องเผาไหม้ ภายนอก
4. อุปกรณ์สว่ นควบและชุดควบคุม
5. ตู้ไฟควบคุมและระบบเตือนภัยด้ วยแสงและเสียง
6. วาล์วนิรภัย
7. สภาพนํ ้าป้อนและนํ ้าระบายก้ นหม้ อ
8. รายงานการใช้ งาน การบํารุงรักษา และการซ่อมหม้ อนํ ้า
การตรวจสอบภายใน
1. ความหนาและการกัดกร่อนของเปลือกหม้ อนํ ้าด้ านนํ ้าและด้ านไฟ
2. ความหนาและการกัดกร่อนของท่อไฟใหญ่และท่อไฟเล็กด้ านนํ ้าและด้ านไฟ
3. ความหนาและการกัดกร่อนของผนังหม้ อนํ ้าด้ านนํ ้าและด้ านไฟ
4. สภาพของเหล็กยึดโยง
5. สภาพความแข็งแรงของหม้ อนํ ้าจากการออกแบบและการสร้ าง
6. สภาพตะกรันที่สว่ นต่างๆ ที่นํ ้าท่วมถึง ในหม้ อนํ ้า
7. สภาพการเสียรูปและการเสื่อมสภาพของเหล็กทําหม้ อนํ ้า
8. สภาพรอยเชื่อมและความเสียหายที่รอยเชื่อม
สรุ ปการตรวจหม้อนํ้าแบบท่อนํ้า
การตรวจสอบภายนอก
1. ฉนวนหุ้มหม้ อนํ ้า
2. ประตูและช่องเปิ ดต่างๆ
3. ห้ องเผาไหม้ ภายนอก
4. อุปกรณ์สว่ นควบและชุดควบคุม
5. ตู้ไฟควบคุมและระบบเตือนภัยด้ วยแสงและเสียง
6. วาล์วนิรภัย
7. สภาพนํ ้าป้อนและนํ ้าระบายก้ นหม้ อ
8. รายงานการใช้ งาน การบํารุงรักษา และการซ่อมหม้ อนํ ้า
การตรวจสอบภายใน
1. ความหนา การกัดกร่อนและการเสียรูปของท่อนํ ้าและท่อไอทังด้
้ านนํ ้าและ
ด้ านไฟ
2. ความหนาและการกัดกร่อนที่ drum และที่ header
3. สภาพของอุปกรณ์ใน drum
4. สภาพการรั่วทางด้ านนํ ้า
5. สภาพการรั่วทางด้ านไฟ
6. สภาพของตะกรันและเป็ นสนิมในส่วนที่นํ ้าท่วมถึง
7. สภาพรอยเชื่อมและความเสียหายที่รอยเชื่อม
8. การเสียรูปและการเสื่อมสภาพของฉนวน
9. สภาพของเขม่าและเถ้ าลอย
จบการบรรยาย

ขอขอบคุณที่ต้ งั ใจฟัง
กรณี ศึกษาในหม้อนํ้าแบบท่อไฟขนาด 10 ตัน
กรณี ศึกษาในหม้อนํ้าแบบท่อไฟใช้เชื้อเพลิงแข็ง
กรณี ศึกษาในหม้อนํ้าแบบท่อไฟใช้น้ าํ มันเตา
Diagonal stay
อื่นๆ
Overview of Boiler Boiler MM 8-13 Technical Data
Manufacturer : C.E. CANADA(ALSTOM)
Width x Depth x Height (m.) : 13.83 x
15.31 x 67.97
Type : Pulverized Coal Fire Boiler
: Controlled Circulation Radiant
SH&RH Coil Economizer Reheater
: Tangential Fire Furnace
Operation Condition at 300 MW
Main Steam Flow : ~ 250 kg/s
Main Steam Temp. : 540 OC
Main Steam Press. : 160 Bar(g)
Total Air Flow : 340-355 kg/s
Total Coal Flow : 240-270 Ton/hr

Side View
Cross Section View
178
Unit#6 Lava Ash Phenomenon (30 July 2010)

ภาพจําลองเหตุการณ์
ภาพเหตุการณ์จริง
16.00 m. Coal Burrner#4
Coal Burrner#3

12.00 m.(approx.)

4 Aug. 2010
Unbelievable!

Coal Burner

Approx. Slag
Quantity
Inspection door
= 1,100 m3
@12.80 m.
Slagging Model (North-south view)
เจาะผนังเตาตรวจสอบ


Slag สีนําตาลไม่ แข็งมาก
หนาประมาณ 0.30-0.50
เมตรจากผนัง


Slag สีนําตาลไม่ แข็งมาก
้ ่
หนาเต็มพืนที

Slag สีดาํ แข็งราวกับหินผา


้ ่
สะสมเต็มพืนที

Slag สีดาํ แข็งราวกับหินผา


สะสมเต็มราง SSC
Shutdown ~ 1 Month to clear slag

1
2
Before After

ผน ังเตาด้านทิศใต้
Sootblower Erosion

Tube Shield
MM‐T6

You might also like