You are on page 1of 322

กลศาสตรของไหล

ผศ.ดร.สมชาย ดอนเจดีย

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน
คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
คํานํา
วิช ากลศาสตร ของไหลเป น วิ ช าที่ มีความสํ า คั ญอย า งมากต อการเรี ย นของนิ สิ ต นั กศึ กษา ใน
หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตร ทุ ก สาขา ตํ า ราเล ม นี้ จ ะเน( น เนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข( อ งกั บ วิ ศ วกรรมชลประทาน
วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา และวิศวกรรมโยธา เปนหลัก กลศาสตรของไหลคือวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของไหลที่สภาวะตาง ๆ อาจแบงได(เปนสองสวนคือสถิตยศาสตรของไหล เปนการศึกษาของไหลในขณะ
หยุดนิ่ง (Fluid Statics) และพลศาสตรของไหล (Fluid Dynamics) เปนการศึกษาของไหลในขณะ
เคลื่อนที่ ของไหลประกอบด(วยกEาชและของเหลว โดยเนื้อหาในตําราเลมนี้จะเน(นการศึกษาการไหลของ
ของเหลวเปนหลัก โดยแบงเนื้อหาออกเปน 7 บท เนื้อหาจะครอบคลุมตามที่สภาวิศวกรกําหนดและได(
เพิ่มเติมเนื้อหาสําหรับนิสิตที่จะต(องเรียนในสาขาวิชาวิศวกรรมชลประทาน วิศวกรรมทรัพยากรน้ําและ
วิศวกรรมโยธา ดังนี้คือ
บทที่ 1 คุณสมบัติของไหล ซึ่งจะกลาวถึงคุณสมบัติที่จําเปนที่ผู(เรียนต(องทราบเพื่อเปนพื้นฐาน
ในการเรียนวิชากลศาสตรของไหล
บทที่ 2 ของไหลสถิต เปนการศึกษาถึงความดัน การวัดความดัน ทั้งความดันสัมบูรณและความ
ดันเกจ แรงที่กระทํากับวัตถุผิวเรียบ และผิวโค(งที่จมอยูในของไหลในขณะที่ของไหลหยุดนิ่งหรือไมมีการ
ไหล
บทที่ 3 สมการควบคุมของการไหล เปนการศึกษาถึงลักษณะการไหล การสร(างสมการควบคุม
การไหล โดยใช(เทคนิคปริมาตรควบคุม และทฤษฎีการเคลื่อนย(ายของเรยโนลด สมการความตอเนื่อง
สมการโมเมนตัมและสมการพลังงาน
บทที่ 4 การวิเคราะหมิติและความคล.ายคลึง เปนการศึกษาถึงการวิเคราะหมิติและการจัดกลุม
ตัวแปรไร(มิติ การใช(หลักความคล(ายคลึงทางด(านชลศาสตรในการสร(างแบบจําลอง การแปรผลจากจําลอง
เปนของจริง
บทที่ 5 การไหลในท2อ เปนการศึกษาถึงลักษณะการไหลในท อปKดภายใต(แรงดัน การหาการ
สูญเสียพลังงานที่เกิดจากการไหลที่ผานทอหรืออุปกรณประกอบทอ การไหลผานระบบทออนุกรมหรือ
ระบบทอขนาน และการวัดอัตราการไหลภายในทอ
บทที่ 6 การไหลในทางน้ําเป5ด เปนการศึกษาลักษณะการไหลในทางน้ําเปKดภายใต(แรงโน(มถวง
ของโลก การคํ า นวณพลั ง งานจํ า เพาะของการไหล และการไหลวิ ก ฤติ การไหลผ า นทางน้ํ า ที่ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงระดับท(องน้ํา การคํานวณหาความเร็วและอัตราการไหลที่ไหลผานหน(าตัดการไหลตาง ๆ
และการวัดอัตราการไหลในทางน้ําเปKด
บทที่ 7 เครื่องจักรกลในงานชลศาสตร เปนการศึกษาถึงเครื่องสูบน้ําและกังหันน้ํา
เนื้อหาทั้งหมดจะเปนพื้นฐานสําหรับให(ผู(เรียนในรายวิชาตาง ๆ เชน วิศวกรรมชลศาสตร การ
ออกแบบคลองและอาคารสงน้ํา การออกแบบเขื่อนขนาดเล็กและอาคารสงน้ํา การออกแบบระบบทอและ
ระบบชลประทานภายใต(แรงดันเปนต(น และวิชาอื่น ๆ ที่ต(องใช(ความรู(เรื่องการไหลในการแก(ปMญหาเฉพาะ
ทางในด(านนั้น ๆ ผู(เขียนหวังเปนอยางยิ่งวา ตําราเลมนี้จะเปนประโยชนกับ นิสิต นักศึกษา และผู(ที่สนใจ
ทั่วไป
ผู(เขียนขอขอบพระคุณอาจารยทุกทาน ผู(ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู( ให(คําแนะนําและเปนที่
เป น ที่ ป รึ ก ษาที่ ดี ต ลอดมา คณาจารย บุ ค ลากรของภาควิ ช าวิ ศ วกรรมชลประทานและของคณะ
วิศวกรรมศาสตร กํ า แพงแสน ที่ คอยสนั บสนุ น และช ว ยเหลือในด( านต าง ๆ นิ สิ ต ภาควิ ช าวิศวกรรม
ชลประทานและวิศวกรรมโยธาที่ได(เรียนวิชากลศาสตรของไหลกับผู(เขียน ซึ่งเปนข(อมูลให(ผู(เขียนได(นํามา
ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนจนกลายมาเปนตําราเลมนี้ พี่ เพื่อน และ น(อง ๆ ทุกคนที่คอยสนับสนุน
ผู(เขียน สุดท(ายนี้ผู(เขียนต(องขอบพระคุณ บิดา มารดาและครอบครัวของผู(เขียนที่คอยเปนกําลังใจให(
ผู(เขียนตลอดมา

ผศ.ดร.สมชาย ดอนเจดีย
ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน
คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
15 ธันวาคม 2557
สารบัญ
หน(า
บทที่ 1 คุณสมบัติของไหล 1
นิยามของไหล 1
คุณสมบัติของไหล 2
ความหนาแนน 2
น้ําหนักจําเพาะ 2
ความถวงจําเพาะ 3
ปริมาตรจําเพาะ 3
ความหนืด 4
ความสามารถในการบีบอัดตัวของไหล 13
แรงตึงผิว 14
แบบฝWกหัดท(ายบท 16

บทที่ 2 ของไหลสถิต 21
ความดัน 21
ความดันที่จุดใดจุดหนึ่งในของไหลหยุดนิ่ง 22
การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิต 23
การวัดความดัน 27
แรงดันที่ของไหลกระทํากับผิวระนาบ 42
แรงดันที่กระทํากับผิวระนาบเอียง 43
แรงดันของของไหลบนพื้นผิวโค(ง 48
แรงลอยตัว 53
เสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุในของไหล 56
การไหลวนแบบบังคับ 61
แบบฝWกหัดท(ายบท 66
สารบัญ (ตอ)

หน(า
บทที่ 3 สมการควบคุมของการไหล 76
สมการควบคุม 79
ทฤษฎีการเคลื่อนย(ายเรยโนลด 80
สมการกฎการอนุรักษมวล 85
สมการโมเมนตัมเชิงเส(น 93
การหาแรงกระแทกของน้ําบนแผนกั้น 95
สมการพลังงาน 99
สมการของแบรนูลลี 101
แบบฝWกหัดท(ายบท 117

บทที่ 4 การวิเคราะหมิติและความคล(ายคลึง 121


หนวยและมิติ 121
หนวย 121
มิติ 122
การวิเคราะหมิติ 124
วิธีของเรยไลท 127
ทฤษฎีของบัคกิ้งแฮมไพน 130
กลุมตัวแปรไร(มิติที่พบทั่วไปในกลศาสตรของไหล 144
แบบจําลองและความคล(ายคลึง 146
ความคล(ายคลึงทางเรขาคณิตรูปราง 148
ความคล(ายคลึงทางจลนศาสตร 149
ความคล(ายคลึงทางพลวัต 150
แบบฝWกหัดท(ายบท 159
สารบัญ (ตอ)

หน(า
บทที่ 5 การไหลในทอ 162
รูปแบบการไหลภายในทอ 162
การไหลชวงทางเข(าและการไหลพัฒนาเต็มที่ 165
การสูญเสียพลังงานภายในทอ 166
การสูญเสียหลัก 167
การสูญเสียรอง 176
การไหลในระบบทอ 185
การตอทอแบบอนุกรม 185
การตอทอแบบขนาน 186
วัดอัตราการไหลในทอ 194
มาตรวัดแบบแผนเจาะรู 196
มาตรวัดแบบทอหัวฉีด 200
มาตรวัดแบบทอเวนจูรี่ 202
มาตรวัดแบบโรตามิเตอร 204
มาตรวัดแบบทอพิโทด 205
แบบฝWกหัดท(ายบท 208

บทที่ 6 การไหลในทางน้ําเปKด 212


คุณสมบัติของทางน้ําเปKด 215
ประเภทการไหลในทางน้ําเปKด 218
จําแนกตามชนิดของการไหล 218
จําแนกประเภทตามสภาวะของการไหล 221
สารบัญ (ตอ)

หน(า
สมการควบคุมการไหล 223
สมการความตอเนื่อง 223
สมการโมเมนตตัม 225
สมการพลังงาน 226
พลังงานจําเพาะและการไหลวิกฤต 227
การไหลวิกฤตในทางน้ํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า 232
การเปลี่ยนแปลงสภาพการไหล 234
การไหลแบบสม่ําเสมอ 240
การคํานวณหาความเร็วการไหลในทางน้ําเปKด 242
ปรากฏการณน้ําโจน 258
การสูญเสียพลังงานในการเกิดปรากฏการณน้ําโจน 261
ประสิทธิภาพของปรากฏการณน้ําโจน 261
ความสูงของปรากฏการณน้ําโจน 261
ความยาวของปรากฏการณน้ําโจน 262
การแบงประเภทของน้ําโจน 262
การวัดอัตราการไหลในทางน้ําเปKด 266
การหาอัตราการไหลผานฝายสันคม 267
ฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม 267
ฝายสันคมรูปสามเหลี่ยม 270
กรณีฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม 271
กรณีฝานสันคมรูปสามเหลี่ยม 271
การไหลลอดผานประตูบานตรง 272
แบบฝWกหัดท(ายบท 277
สารบัญ (ตอ)

หน(า
บทที่ 7 เครื่องจักรกลในงานชลศาสตร 282
เครื่องสูบน้ํา 282
ชนิดของเครื่องสูบน้ํา 282
หลักการทํางานของเครื่องสูบน้ํา 285
กังหันน้ํา 293
กังหันน้ําแบบกระแทก 293
การวิเคราะหหลักการทํางานของกังหัน 295
กังหันน้ําแบบแรงสะท(อน 303
แบบฝWกหัด 305
บรรณานุกรม 308
ภาคผนวก 311
1

บทที่ 1
คุณสมบัติของไหล (Fluid Properties)
สสารนั้นถูกแบงออกเปนสามประเภทด(วยกันคือ ของแข็ง ของเหลว และกEาซ โดยของไหลนั้นจะ
อยูในสถานะของกEาซและของเหลว ของไหลไมสามารถคงรูปอยางถาวรได(หากไมมีภาชนะมาบรรจุ ทําให(
ของไหลต(องมีรูปรางตามตามภาชนะที่บรรจุ ดังนั้นการศึกษากลศาสตรของไหลจึงไมใชการศึกษาของไหล
ที่มีการเคลื่อนที่เพียงอยางเดียว จําเปนต(องศึกษาของไหลทั้งกรณีที่มีการไหลและไมมีการไหล เพื่อเปน
การปูพื้นฐานผู( เรีย น ซึ่งผู( เรี ยนจํ าเปนต( องทราบนิ ยาม และคุ ณสมบัติ ของไหล เพื่อใช( องค ความรู( นี้ใ น
การศึกษาตอไป

นิยามของไหล (Definition of Fluid)


ของไหลหมายถึงสสารที่ไมสามารถทนตอแรงเฉือนได(ไมวาแรงเฉือนนั้นจะมีคาเทาใดก็ตาม และ
สามารถเปลี่ยนรูปรางได(อยางตอเนื่องเมื่อถูกกระทําด(วยความเค(นเฉือน ซึ่งนั่นหมายความวา เมื่อใดที่มี
ความเค(นเฉือนมากระทํา ของไหลจะเกิดการขยับตัวและเปลี่ยนรูปรางไป กลาวได(วาในขณะที่ของไหล
เคลื่อนที่จะต(องมีความเค(นเฉือนเกิดขึ้น ในทางตรงกันข(ามหากของไหลไมมีการเคลื่อนที่ ณ สภาวะนั้นจะ
ไมมีความเฉือนกระทําอยูเลย เชนของไหลที่ถูกบรรจุไว(ในภาชนะ ซึ่งทําให(ของไหลมีรูปรางตามภาชนะที่
บรรจุ โดยสามารถแบงของไหลได(เปนสองสถานะคือของเหลวและกEาซ โดยมีรายละเอียดดังนี้
สถานะของเหลว (Liquid) คือสสารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคน(อยกวาของแข็ง ทําให(
อนุภาคไมได(อยูชิดกันอยางของแข็ง จึงมีปริมาตรที่แนนอนแตมีรูปรางไมแนนอน เปลี่ยนแปลงไปตาม
ลักษณะของภาชนะที่บรรจุ แตจะมีขอบเขตแบงระหวางตัวมันเองกับของไหลอื่นอยางชัดเจน เรียกวา
“ผิวอิสระ” (Free Surface) ดังรูปที่ 1.1(a) ผิวอิสระนั้นจะวางตัวในแนวราบเสมอ นอกจากนี้ของเหลว
ยังมีคุณสมบัติที่ยากตอการบีบอัด เนื่องจากระยะหางระหวางโมเลกุลคอนข(างน(อย (มากกวาของแข็งแต
น(อยกวากEาซ) ตัวอยางของเหลวที่พบประจํา เชน น้ํา และ น้ํามัน เปนต(น
สถานะกEาซ (Gas) คือ สสารที่มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหวางอนุภาคน(อยมาก ทําให(อนุภาคฟุhงกระจายจน
เต็ มภาชนะที่ บ รรจุ ต ลอดเวลาดั งรู ป ที่ 1.1(b) ดั ง นั้ น
กEาซจึงมีปริมาตรและรูปรางไมแนนอน เปลี่ยนแปลงไป
ตามลั กษณะของภาชนะที่บรรจุ กE าซจะไม มีผิว อิสระ
เหมื อนของเหลว และถู กบี บ อั ดได( งา ยกว า ของเหลว
เนื่องจากมีระยะหางระหวางโมเลกุลมากกวาของเหลว
กEาซที่พบประจําได(แก อากาศ
รูปที่ 1.1 ความแตกตางระหวางของเหลวกับกEาซ
2

คุณสมบัติของไหล (Properties of Fluid)


คุณสมบัติของไหลเปนปMจจัยหลักที่ต(องทราบเพื่อที่จะศึกษาวิชากลศาสตรของไหล โดยของไหลมี
คุณสมบั ติหลายอยา งที่ควรทราบ ในบทนี้จะเน(นถึ งคุณสมบัติที่สําคัญเพื่อนําไปใช( ในการคํานวณหรื อ
วิเคราะหปMญหาทางด(านกลศาสตรของไหล ได(แก ความหนาแนน ปริมาตรจําเพาะ น้ําหนักจําเพาะ ความ
ถ ว งจํ า เพาะ ความหนื ด ความตึ ง ผิ ว และความสามารถในการบี บ อั ด ตั ว ของไหลโดยมี ร ายละเอี ย ด
ดังตอไปนี้

ความหนาแน2น (Density or Mass Density)


ความหนาแนน หมายถึงมวลของไหล (Mass of Fluid) ในหนึ่งหนวยปริมาตร (Volume) ใช(
สัญลักษณเปนภาษากรีกคือ “ρ” (อานวา โร, Rho) เขียนได(ดังสมการ
m
ρ= (1.1)

เมื่อ ρ คือความหนาแนน (kg/m3) m คือมวล (kg) ∀ คือปริมาตร (m3) ความหนาแนนของ


ไหลแปรผันตามอุณหภูมิและความดัน โดย ณ ความดันบรรยากาศและน้ําที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสจะ
มีความหนาแนนเทากับ 1,000 kg/m3 (เปนสภาวะที่น้ํามีความหนาแนนมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับน้ําที่
อุณหภูมิอื่น ๆ ณ ความดันบรรยากาศ) ในขณะที่อากาศมีความหนาแนน 1.25 kg/m3

น้ําหนักจําเพาะ (Specific Weight)


น้ําหนักจําเพาะ หมายถึง น้ําหนักเนื่องจากแรงโน(มถวงของไหล (Weight) ในหนึ่งหนวยปริมาตร
(Volume) ใช(สัญลักษณเปนภาษากรีกคือ “γ” (อานวา แกมมา, Gamma) เขียนได(ดังสมการ
W
γ= = ρg (1.2)

เมื่อ γ คือ น้ําหนักจําเพาะ (N/m3) W คือ น้ําหนัก (N) ∀ คือ ปริมาตร (m3) ρ คือ ความ
หนาแนน (kg/m3) g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (m/s2) เชนเดียวกับความหนาแนน
น้ําหนักจําเพาะของไหลจะไมคงที่โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิและความดัน เชน ณ ความดัน 1
บรรยากาศ น้ําที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสจะมีน้ําหนักจําเพาะเทากับ 9,810 N/m3 ซึ่งเปนสภาวะที่น้ํามี
น้ําหนักจําเพาะมากที่สุดเมื่อเทียบกับที่อุณหภูมิอื่น ๆ ณ ความดันบรรยากาศ
3

ความถ2วงจําเพาะ (Specific Gravity)


ความถวงจําเพาะ หมายถึง อัตราสวนของความหนาแนนของไหลตอความหนาแนนของไหล
อ(างอิง หากเปนของเหลวจะใช(น้ําที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ณ ความดัน 1 บรรยากาศเปนของไหล
อ(างอิง สวนกEาซจะใช(อากาศเปนของไหลอ(างอิง สัญลักษณของน้ําหนักจําเพาะคือ “S” หรือ “SG”
สามารถเขียนได(ดังสมการ (พิจารณาเฉพาะของเหลว)
ρ
SG = (1.3)
ρw

เมื่อ SG คือ ความถวงจําเพาะ (ไมมีหนวย) ρ คือ ความหนาแนนของไหล (kg/m3) ρW คือ ความ


หนาแนนของของน้ํา (kg/m3) g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (m/s2) ดังนั้นคาความ
ถวงจําเพาะของน้ําที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ณ ความดัน 1 บรรยากาศ จึงมีคาเทากับ 1

ปริมาตรจําเพาะ (Specific Volume)


ปริมาตรจําเพาะ หมายถึง ปริมาตรของไหล (Volume) ตอหนึ่งหนวยมวล (Mass) ใช(สัญลักษณ
เปนภาษากรีกคือ “υ” (อานวา นิว, Niw) เขียนได(ดังสมการ

υ= (1.4)
m

เมื่อ υ คือ ปริมาตรจําเพาะ (m3/kg) ∀ คือ ปริมาตร (m3) m คือ มวล (kg)
4

ตัวอย2างที่ 1.1 Glycerin มีมวล 1200 kg ถูกบรรจุอยูในถังที่มีปริมาตร 0.952 m3 จงหาน้ําหนักของ


ความหนาแนน น้ําหนักจําเพาะ และความถวงจําเพาะของ Glycerin

 น้ําหนัก W = mg = 1200 × 9.81 = 11,770 N

m 1, 200
 ความหนาแนน ρ= = = 1,261 kg/m 3
∀ 0.952

W 11.77
 น้ําหนักจําเพาะ γ= = = 12.36 kN/m 3
∀ 0.952

ρglycerin 1, 261
 ความถวงจําเพาะ SG = = = 1.261
ρH O at 4°c 1, 000
2

ความหนืด (Viscosity)
เมื่อของไหลถูกกระทําด(วยแรงเฉือน (Shear Force) จะเกิดแรงต(านทานการไหลเสมอหาก
พิจารณาการหยดของน้ําและน้ํามันเครื่องที่สภาวะอุณหภูมิและความดันเดียวกันพบวาน้ํามันเครื่องจะ
หยดช(ากวาน้ํา ที่เปนเชนนี้เพราะน้ํามันเครื่องมีแรงต(านทานการไหลได(ดีกวาน้ํา แรงต(านทานการไหลนี้คือ
แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในแนวขนาน โดยสามารถกลาวได(วา ความสามารถในการต(านทานการเปลี่ยนรูปราง
อันเนื่องมาจากแรงเฉือนนี้เราเรียกวา “ความหนืด” (Viscosity) ไอแซก N(Isaac Newton) นักฟKสิกสชาว
อังกฤษได(บัญญัติกฎความเค(นเฉือนอันเนื่องมาจากการไหลวา ความเค(นเฉือนในเนื้อของไหล ณ จุดใดแปร
ผันโดยตรงกับอัตราการบิดตัวของไหล ณ จุดนั้น หากพิจารณาการไหลของน้ําดังรูปที่ 1.2 ณ ตําแหนงที่ t
และ t+δt จะพบวาอัตราการบิดตัวคือมุม (θ) ที่เปลี่ยนไปในชวงเวลา δt

รูปที่ 1.2 การเปลี่ยนรูปรางของไหลอันเนื่องมาจากแรงเค(นเฉือน


5

จากรูปที่ 1.2 เมื่อที่เวลา t=0 หากกําหนดขอบเขตการไหลเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส abcd มีขนาด


δs×δy ด(านบนของไหลรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสนี้เคลื่อนที่ไปด(วยความเร็ว v+δv และด(านลางเคลื่อนที่ไปด(วย
ความเร็ว V และเมื่อเวลาผานไปเปน t = δt จะทําให(มุมของสี่เหลี่ยมเปลี่ยนไป δθ โดยรูปสี่เหลี่ยมจะ
เปลี่ยนเปน a’b’c’d’ อนุภาคของไหลที่มีความเร็วด(านลาง (ab) เทากับ V ด(านบน (dc) จะมีความเร็ว
เทากับ v+δv ดังนั้นความเร็วผิวด(านบนและผิวด(านลางจึงแตกตางกันเทากับ δv ที่ เวลา t = 0 รูปราง
ของอนุภาคจะมีลักษณะดังรูป abcd และเมื่อเวลาเปลี่ยนไป t = δt โดยอนุภาคจะมีรูปรางเปลี่ยนแปลง
ไปเปนรูป a’b’c’d’ ดังนั้นอัตราการบิดตัวของไหล ( δθ δt ) คือการเบนไปในแนวระนาบในชวงเวลา δt
δa
และหากพิจารณามุม δθ จะได( tanδθ = แตเนื่องจากมุม δθ มีขนาดเล็กมากดังนั้น
δy
δa
tanδθ = δθ = และเนื่องจากระยะทาง = ความเร็ว x เวลา จะได( δa = (δv )(δt ) จึงทําให(
δy

δθ =
(δv )(δt ) ⇒ δθ =
δv
(1.5)
δy δt δy

อาจกลาวได(วาอั ตราการบิ ดตัวของไหล ( δθ δt ) คื อ อัต ราการเปลี่ยนแปลงความเครีย ด


เฉือน (Shear Strain Rate) ซึ่งจะมีคาแปรผันโดยตรงกับ ความเค(นเฉือน (Shear Stress) โดยมี
ความสัมพันธดังสมการ
δθ δv
∝τ หรือ τ∝ (1.6)
δt δy

สมการที่ 1.6 เปนสมการสัดสวน หากต(องการให(เปนสมการสมดุลต(องใสคาคงตัวสัดสวน


(Constant of Proportionality) เข(าไปซึ่งคาคงตัวที่ใสเข(าไปนั้นคือความหนืดพลศาสตร (Dynamic
Viscosity) หรือ ความหนืดสัมบูรณ (Absolute Viscosity) โดยที่ใช(สัญลักษณเปนภาษากรีกคือ “µ”
(อานวา มิว – mu) และสามารถเขียนได(ดังสมการ
dv
τ=μ (1.7)
dy

เมื่อ τ คือ ความเค(นเฉือน (N/m2) µ คือ ความหนืดสัมบูรณ ของไหล (N⋅s/m2) dv/dy คือ อัตรา
การเปลี่ยนแปลงความเร็ว (v) ตามความลึกการไหล (y) หรือคาความชันของความเร็ว (Velocity
Gradient) หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของความเครียดเฉือน จากสมการที่ 1.7 สามารถกลาวได(วา ความ
หนื ด คื อ อั ต ราส ว นระหว า งความเค( น เฉื อ นต อ อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงของความเครี ย ดเฉื อ น [
μ = τ (dv dy) ]
6

ตัวอย2างที่ 1.2 แผนเหล็กแบนราบบางสองแผนขนาดใหญวางขนานกันด(วยระยะหางเทากับ h ดังรูป เมื่อ


แผนลางถูกยึดให(อยูนิ่งและแผนบนถูกทําให(เคลื่อนที่ด(วยความเร็ว v ในแนวแกน x จากการตรวจสอบ
พบวาของไหลที่ถูกบรรจุอยูระหวางแผนเหล็กทั้งสองมีความหนืดสัมบูรณ เทากับ µ จงหาความเร็วของ
ไหลระหวางแผนเหล็กทั้งสอง และความเค(นเฉือนที่แผนราบด(านบนและด(านลาง

รูปที่ Ex1.2 การไหลภายใต(ความเค(นเฉือนที่ความหนืดคงที่

ข.อกําหนด
- ไมคิดน้ําหนักของแผนเหล็ก
- การไหลอยูในสภาวะสมดุล ทําให(ความเร็วการไหลคงที่และการกระจายความเร็ว
การไหลเปนแบบเชิงเส(นตามความลึกการไหล

วิธีทํา จากข(อกําหนดจะได(
dv
τ=μ หรือ
dy

τ
dv = dy (Ex1.2-1)
μ

เมื่อการกระจายความเร็วเปนแบบเชิงเส(นตามความลึกการไหลจะทําให( dv dy มีคาคงที่ โดยจะ


สงผลให(ความเค(นเฉือนตลอดหน(าตัดการไหลเปนคาคงที่เชนเดียวกัน ทําการปริพันธสมการที่ Ex1.2-1 จะ
ได(
τ
∫ dv = μ ∫ dy
τ
v= y+c (Ex1.2-2)
μ
7

เมื่อ v คือความเร็วการไหลที่ความลึกการไหล y ใด ๆ ซึ่งโจทยต(องการทราบ τ คือความเค(น


เฉือนซึ่งยังไมทราบคา µ คือความหนืดสัมบูรณ ของไหลโดยทั่วไปแล(วจะทราบคา c คือคาคงที่ซึ่งยังไม
ทราบคา การแก(สมการ Ex1.2-2 เพื่อหาคาความเร็วการไหลนั้นต(องทําการหาคา τ และ c ให(ได(เสียกอน
ในการแก(ปMญหาครั้งที่จะใช(การใช(คาขอบเขต (Boundary Condition) ซึ่งเปนตําแหนงที่ทราบคา v คือ
ด(านลางที่ v=0 เมื่อ y=0 และ ด(านบนที่ v=U เมื่อ y=h แทนคาลงในสมการ Ex1.2-2 ดังนี้
τ
ด(านลาง 0= 0+c จะได( c = 0
μ

τ τ μU
ด(านบน U= h+0 จะได( U= h หรือ τ=
μ μ h

U
นําคา τ และ c ที่ทราบคากลับเข(าไปแทนในสมการ Ex1.2 จะได( v=y ตอบ
h

หาความเค(นเฉือน
dv
จากสมการ τ=μ
dy

d(y(U/h))
τ=μ
dy

U
τ=μ
h

ตอบ จากความสัมพันธข(างต(นพบวาความเค(นไมได(ขึ้นอยูกับความลึกของ y เลย ดังนั้นจึงตอบได(วา


U
ความเค(นเฉือนด(านบนและด(านลางมีคาเทากัน คือ μ
h
8

จากสมการความหนืดของนิวตันจะเห็นได(วา ถ(าความหนืดของไหลคงที่ความสัมพันธระหวาง
ความเค(นเฉือนกับความชันของความเร็ว (dv/dy) จะมีลักษณะเปนเส(นตรงที่มีความชันเทากับ µ (รูปที่
1.3) ด(วยเหตุนี้เราจึงสามารถสรุปได(วา ของไหลที่มีคาความหนืดสูง จะต(องใช(ความเค(นเฉือนมากเพื่อที่จะ
ทําให(เกิดการเปลี่ยนแปลงของความเร็ว หรือการเปลี่ยนแปลงของรูปราง

รูปที่ 1.3 ความสัมพันธระหวาง τ กับ (dv/dy) สําหรับของไหลนิวโทเนียน

คาความหนืดสัมบูรณ เปนคุณสมบัติเฉพาะตัวของของไหล โดยจะแปรเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิ


กลาวคือ ของไหลที่มีสถานะเปนของเหลว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความหนืดสัมบูรณจะลดลง เปนเพราะเมื่อ
อุณหภูมิสูงขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคของของเหลวจะลดลง สวนของไหลในสถานะกEาซ อนุภาคมี
การเคลื่อนไหวมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จึงทําให(โอกาสในการชนกันของอนุภาคมีมากขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุ
ให(คาความหนืดสูงขึ้น คาความหนืดของไหลชนิดตาง ๆ แสดงในรูปที่ 1.4 ในบางครั้งคาความหนืดอาจ
แสดงในรู ป ของอั ต ราส ว นระหว า ง ความหนื ด สั ม บู ร ณ ต อ ความหนาแน น ซึ่ ง เรี ย กว า ความหนื ด
จลนศาสตร (Kinematic Viscosity) โดยมีสัญลักษณที่ใช(แทนคือ ν (อานวา “นิว”) เขียนได(ดังสมการ
µ
ν= (1.8)
ν
โดยคาความหนือคิเนเมติกของไหลตาง ๆ แสดงในรูปที่ 1.5
9

รูปที่ 1.4 ความหนืดสัมบูรณ (Absolute Viscosity) ของไหลทีที่อุณหภูมิตาง ๆ


ที่มา:: Munson et al., (1994)
10

รูปที่ 1.5 ความหนืดจลนศาสตร (Kinematic Viscosity) ของไหลทีที่อุณหภูมิตาง ๆ


ที่มา:: Munson et al., (1994)
11

สําหรับของไหลที่มีพฤติกรรมเปนไปตามสมการความหนืด (สมการที่ 1.7) หรือของไหลที่มีความ


หนืดคงที่ไมวา dv/dy จะเปลี่ยนแปลงเทาไรนั้น เราจะเรียกของไหลชนิดนั้นวา ของไหลนิวโทเนียน
(Newtonian Fluid) ดังรูปที่ 1.6 สวนของไหลที่มีพฤติกรรมไมเปนไปตามสมการความหนืดหรือของไหล
ที่มีความหนืดไมคงที่เมื่อ dv/dy เปลี่ยนแปลงไปนั้น เราจะเรียกของไหลชนิดนั้นวา ของไหลนอนนิวโท
เนียน (Non-Newtonian Fluid) ดังรูปที่ 1.6 ซึ่งสามารแบงได(เปน 3 ประเภทดังนี้
1) ของไหลประเภทไดลาแทน (Dilatant Fluid) ความหนืดจะเพิ่มขึ้น เมื่อแรงเค(นเฉือน
เพิ่มขึ้น
2) ของไหลประเภทซูโดพลาสติก (Pseudoplastic Fulid) ความหนืดจะลดลง เมื่อแรงเค(น
เฉือนเพิ่มขึ้น
3) ของไหลประเภทพลาสติก (Plastic Fluid) พฤติกรรมจะเหมือนของแข็งในระยะเริ่มต(น
แตเมื่อถูกแรงเค(นเฉือนกระทําจนถึงจุดคราก (Yield) คุณสมบัติจะเปลี่ยนเปนของไหล
แบบ Newtonian

รูปที่ 1.6 ความสัมพันธระหวาง τ กับ (dv/dy) สําหรับของไหลประเภทตาง ๆ


12

ตัวอย2า งที่ 1.3 จากรู ปเป นลั กษณะของการ


ไหลในทางน้ํ า เปK ด มี ก ารกระจายตั ว ของ
ความเร็วเปนรูปพาราโบลา ความเร็วสูงสุดที่
ผิวน้ําวัดได( 6 m/s ความลึกของน้ําเทากับ
3 m จงหาความเค(นเฉือนที่เกิดขึ้นบริเวณ
ท(องน้ําและผิวน้ํา

วิธีทํา รูปทั่วไปของสมการพาราโบลาคือ

( v-k ) = c ( y-h )
2
(Ex1.3-1)

เมื่อ V คือ ความเร็วการไหล k คือ ความเร็วการไหลที่ทราบคา y คือ ความลึกการไหล h คือ


ความลึกการไหลที่ทราบคา จากรูปจะได( k = 6 m/s และ h = 3 m แทนคาลงในสมการที่ Ex1.3-1 จะ
ได(

( v-6 ) = c ( y-3)
2
(Ex1.3-2)

ขอบเขตในการพิจารณา ที่ท(องน้ํา เมื่อ y=0 จะได( V = 0 แทนคาลงในสมการที่ Ex1.3-2 จะได(


2
( 0 − 6 ) = c ( 0 − 3)
2
c=-
3

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex1.3-2 จะได(สมการการกระจายตัวของความเร็วที่ความลึกตาง ๆ ดังนี้


2 2
v = 6- ( y -6y+9) (Ex1.3-3)
3

ทําการหาอนุพันธสมการที่ Ex1.3-3 จะได(


dv 2
= - ( 2y-6 ) (Ex1.3-4)
dy 3
13

จากสมการของไอแซก นิวตัว เพื่อหาความเค(นเฉือน


dv
τ =µ (Ex1.3-5)
dy

แทนคาลง dv dy จากสมการที่ Ex1.3-4 ลงในสมการที่ Ex1.3-5 จะได(


2
τ = - µ ( 2y-6 ) (Ex1.3-6)
3

ณ. ตําแหนงท(องน้ํา y = 0
2
τ = - ×1000×0.9×10-5 ( 2×0-6 ) = 0.036 N/m 2 ตอบ
3

ณ. ตําแหนงผิวน้ํา y = 3
2
τ = - ×1000×0.9×10-5 ( 2×3-6 ) = 0.00 N/m 2 ตอบ
3

ความสามารถในการบีบอัดตัวของไหล (Compressibility of Fluid)


สสารทุ ก ชนิ ด จะมี ค วามยื ด หยุ น เสมอโดยสสารสามารถขยายตั ว หรื อ หดตั ว ภายใต( ส ภาวะที่
แตกต า งกั น หากของไหลถู ก บี บ อั ด ปริ ม าตรของไหลจะเปลี่ ย นแปลงไป ส ง ผลให( ค วามหนาแน น
เปลี่ยนแปลงตามไปด(วย (มวลคงที่แตปริมาตรเปลี่ยนแปลง) ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงปริมาตรนี้
ถูกเรียกวา การบีบอัดตัว (Compressibility) ซึ่งเปนคุณสมบัติเฉพาะตัวของไหลแตละชนิด โดยจะเปรียบ
ได(กับคาความยืดหยุนในของแข็ง (Modulus) แตในของเหลวนั้นคาความยืดหยุน (ความสามารถในการ
บีบอัดตัว) จะอยูในรูปของคา “Bulk Modulus” (k) โดยหาได(จากสมการที่ 1.9
 dp 
k = −  (1.9)
 d∀ 
 ∀

เมื่อ dp คือ การเปลี่ยนแปลงความดัน d∀ คื อ การเปลี่ ย นแปลงปริ ม าตร ∀ คื อ ปริ ม าตร


เริ่มต(น
14

ในวิชากลศาสตรของไหล หากพิจารณาความสามารถในการบีบอัดตัวของไหล เราจะสามารถ


จําแนกของไหลออกเปน 2 ประเภทคือ
 ของไหลที่บีบอัดตัวไมได(หรือบีบอัดตัวได(น(อยมาก (Incompressible Fluid) เมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงของความดัน ความหนาแนนของไหลประเภทนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงน(อยมาก
จนสามารถไม ต(องนํา มาพิจ ารณาในการคํา นวณของไหลประเภทนี้ซึ่ งสว นใหญ จะอยู ใ น
สถานะของเหลว
 ของเหลวของไหลที่บีบอัดตัวได( (Compressible Fluid) คือ ของไหลที่มีความหนาแนนไม
คงที่เมื่อมีความดันที่เปลี่ยนแปลงไป ของไหลประเภทนี้สวนใหญอยูในสถานะของกEาซ

แรงตึงผิว (Surface Tension)


โมเลกุลภายในของเหลวจะมีสมดุลของแรงดึงดูดรอบทิศ แตโมเลกุลที่ผิวของเหลวจะขาดคุณ
สมดุลดังกลาวบริเวณที่ผิวอิสระ จึงดูเหมือนวาโมเลกุลนั้นเกาะติดอยูกับผิวของของเหลวเรียกวา แรงตึง
ผิว หรืออาจกลาวได(วาแรงตึงผิว คือแรงที่เกิดจากการปรับสภาพสมดุลของแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค
ของของเหลวที่อยูบริเวณผิว หรือแรงที่เกิดขึ้นบริเวณขอบของผิวอิสระของของเหลวกับวัตถุที่อยูติดกัน
ซึ่งจะเกิดกับของไหลที่อยูในสถานะของเหลวเทานั้นและสามารถคํานวณหาแรงตึงผิวได(ตามสมการที่
1.10

Fs = σL w (1.10)

เมื่อ Fs คือ แรงตึงผิว (N) σ คือ ควานตึงผิวหรือหนวยแรงตึงผิว (N/m) Lw คือ ความยาวเส(น


ขอบผิวอิสระ (m)

คาพิลลาริตี้ (Capillarity) เปนปรากฏการณทาง


ธรรมชาติ ที่ของไหลบริเ วณที่สั มผัส กั บ วัต ถุ จ ะยกตั วสู งขึ้ น
หรื อ ลดต่ํ า ลง ซึ่ ง เป น ผลมาจากอิ ท ธิ พ ลของแรงตึ ง ผิ ว
ปรากฏการณนี้จะเกิดขึ้นบริเวณชองวางแคบ ๆ เชน หลอด
ขนาดเล็ก ๆ (รูปที่ 1.7) หรือชองวางระหวางเม็ดดิน เปนต(น

รูปที่ 1.7 ปรากฏการณ Capillarity


15

กรณีของหลอดกลมสามารถคํานวณหาระยะของการยกตัว (หรือการยุบตัว) ของขอเหลวได(ดังสมการ


2σ( cos θ)
h= (1.11)
γr

เมื่อ h คือ ความสามารถในการยกตัวสูงขึ้น (หรือต่ําลง) ของไหล (m) σ คือ ความตึงผิวหรือ


หนวยแรงตึงผิว (N/m) r คือ เส(นผาศูนยกลางหลอด (m) θ คือ มุมสัมผัสระหวางผนังกับผิวอิสระของ
ของเหลว (องศา) γ คือ น้ําหนักจําเพาะของไหล (N/m3)
16

แบบฝ_กหัดท.ายบท

1. น้ํามันปKโตรเลียมปริมาตร 1 L หนัก 7.5 N จงคํานวณหาความหนาแน


ความหนาแนน น้ําหนักจําเพาะ ปริมาตร
งจําเพาะ (กําหนดความหนาแนนของน้ําเทากับ 1,000 kg/m3, g = 9.81 m/s2)
จําเพาะ และความถววงจํ
2. ถังใบหนึ่งบรรจุกลีเซอรีนมวล 1,500 kg และปริมาตร 1.2 m3 จงหาน้ําหนัก ความหนาแนน น้ําหนัก
จําเพาะ และความถวงจําเพาะของกลีเซอรีน
315 m3 จงหาน้ําหนัก
3. ถังบรรจุคารบอนเตตระคลอไรด (CCl4) ซึ่งมีมวล 500 kg และปริมาตร 0.315
ความหนาแนน น้ําหนักจําเพาะ และความถวงจําเพาะของคารบอนเตตระคลอไรด
4. วัตถุมวล M กว(าง A ยาว B สูง C ไถลลงจากพื้น
เอียงด(วยความเร็วคงที่ V (ไมล(ม) ในลักษณะดัง
รูป ซึ่งบนพื้นเอียงมีน้ํามันฉาบอยู หากน้ํามันมีคา
ความหนืดเทากับ µ และมีความหนาเทากับ d
จงหาความเร็ว V ของวัตถุดังกลาว (สมมติให(การ
กระจายตัวของความเร็วเปนเส(นตรง
ตรง)
5. ของไหลชนิดหนึ่ง ไหลในรางกว(างมากด(วยความลึก 2.5 m (D) สามารถวัดความเร็วที่ผิวได(เทากับ 1
m/s (VO) เมื่อทําการเก็บตัวอยางของไหลไปทดสอบใน
ห(องปฏิบัติการพบวา ของไหลปริมาตร 150 cm3 มีมวล
165 g มี Kinematic Viscosity เทากับ 2.5 x 10- 7 m2/s
จงหา ความเร็วของของไหลที่ความลึก 2 m แรงเค(นเฉือนอัน
เนื่องมาจากความหนืดของ
ของของไหลที่มีความลึก 2.0 m และที่
ท(องราง โดยกําหนดให(การกระจายตัวของความเร็วอยูในรูป

VO
V = VO − 2
y2
D

เมื่อ VO คือ ความเร็วที่ผิวอิสระ D คือ ความลึกของของของไหล V คือ ความเร็วที่ความลึกใด ๆ y คือ


ความลึกที่จุดใด ๆ
17

6. แผนราบแผนหนึ่งมีพื้นที่ที่สัมผัสกับของเหลว 0.1 m2
ถูกดึงให(เคลื่อนที่ไปบนผิวของเหลวในแนวขนานด(วย
ความเร็ว 0.6 m/s ของเหลวหนา 0.03 cm และมีคา
µ = 0.001 kg/m⋅s จงหาแรงดึงที่ใช(กับแผนราบ
7. จากรูปแผนราบมีน้ําหนัก 500 N เคลื่อนที่ลงมา
ตามพื้นเอียง 30º ด(วยความเร็ว 0.25 m/s จงหาความ
หนื ด สั มบู ร ณ (µ) ของของเหลว กํ า หนดแผ น ราบมี
พื้นที่สัมผัสกับของเหลวเทากับ 4 m2
8. ถังทรงกระบอกปริมาตร 0.5 m3 บรรจุกEาซที่ 60ºc ภายใต(ความดันสัมบูรณ 343 x 103 N/m2 ถ(าอัด
อากาศให(มีปริมาตรเปน 0.3 m3 จงหาความดันในถัง เมื่ออุณหภูมิในถังคงที่
9. จงหาคาปKลลารีไรซ ในหลอดแก(วที่จุมในน้ํา ซึ่งมีคาแรงตึงผิว (σ) เปน 71.12 x 10-3 N/m ที่อุณหภูมิ
20ºc ความหนาแนน 998 kg/m3 กําหนด Contact Angle = 0 ºC, เส(นผานศูนยกลางของ
หลอดแก(วเทากับ 3 mm
10.จงหาสูตรที่แสดงผลตางของความดันในฟองสบูทรงกลม โดยให(ใช(สูตรที่หาได(คํานวณแรงตึงผิวของ
ฟองสบูเส(นผานศูนยกลาง 5 cm เมื่อความดันภายในมากกวาความดันบรรยากาศ 1.96 N/m2
11.ของเหลวชนิดหนึ่งมีความหนืดสัมบูรณ µ = 0.048 kg/m⋅s มีความถวงจําเพาะ 0.913 จงหา
Velocity Gradient, dv/dy เมื่อระยะ y หางจากผิวลาง
25, 50, และ 75 mm ตามลําดับ และจงหาคาความเค(น
เนื่ อ งจากแรงเฉื อ นที่ ร ะยะดั ง กล า วด( ว ย กํ า หนดการ
กระจายความเร็วเปนรูปพาลาโบราโดยมีจุดยอดอยูที่จุด
A (ผิวน้ํา) และจุดตั้งต(นที่จุด B (ท(องน้ํา)
12.ของเหลวชนิดหนึ่งถูกอัดในกระบอกสูบมีปริมาตร 1 L ที่ความดัน 1 MN/m2 ตอมาถูกอัดให(มีปริมาตร
995 cm2 ที่ 2 MN/m2 จงหาคาโมดูลัสความยืดหยุน
13.ถ(าคาโมดูลัสความยืดหยุนของน้ําเทากับ 2.2 x 109 Pa จงหาความดันที่ต(องเพิ่มให( เพื่อลดปริมาตรลง
0.6 เปอรเซ็นต
18

14.แรงตึ
แรงตึงผิวของปรอทและน้ําที่อุณหภูมิ 60 ºc เทากับ 0.47 N/m และ 0.0662 N/m ตามลําดับ จงหา
ความสูงแคปปKลลารี่ของไหลทั้งสองในหลอดแก(วรัศมี 0.30 mm โดยมีมุมสัมผัสอากาศ θ =130º
สําหรับปรอท และ 0º สําหรับน้ํา ให(ใช(คาน้ําหนักจําเพาะสําหรับปรอทและน้ําเทากับ 132.3 kN/m3
และ 9.650 kN/m3ตามลําดับ
15.จากรูปเปนลักษณะของการไหลในทางน้ําเปKดที่มีการกระจายความเร็วดังสมการ V = Vmax (y/h)0.5
เมื่อ V คือ ความเร็วการไหลที่ตําแหนงใด ๆ
เมื่อ Vmax คือ ความเร็วสูงสุดการไหลที่ตําแหนง
ผิวน้ํา y คือ ความลึกของน้ําที่ตําแหนงใด ๆ
และ h คือ ความลึกของน้ํา มีคาเทากับ 4 m
จงห าคว ามเค( น เฉื อ นที่ เกิ ด ขึ้ น ที่ ท( อ งน้ํ า
(Bottom) ที่ตําแหนงกึ่ งกลางของความลึ ก
และที่ตําแหนงของผิวน้ํา
16.ทอสงน้ํามัน เส(นผาศูนยกลาง 5 cm สงน้ํามันที่มี
75 x -105 m/2s และ
Kinematic Viscosity เทากับ 0.75
Specific Weight เทากับ 7.9 kN/m3 ถ(าการกระจาย
ตั ว ของความเร็ ว ของไหลในท
ในท อ มี ลั ก ษณะดั ง รู ป โดย
ความเร็วสูงสุดที่กึ่งกลางทอมีคาเทากับ 0.5 m/s จงหา
ความเค(นเฉือนที่เกิดขึ้นบริเวณผนังทอ
17.จากรู
จากรูปเรือแลนอยูในทะเล โดยน้ําทะเลมี Kinematic
Viscosity เทากับ 0.9 x 10-6 m2/s และ Specific
N/m3 ถ(าการกระจายตัวของ
Weight เทากับ 10.3 kN/m
ความเร็วของน้ําทะเลมีมีลักษณะดังรูป ความเร็วของเรือ
มีคาเทากับ 5 m/s จงหาความเค(นเฉือนที่เกิดขึ้น
บริเวณใต(ท(องเรือ
19

18. ของไหลชนิดหนึ่งไหลอยูในทอที่มีขนาด
เส(นผาศูนยกลาง 10 cm โดยลักษณะของความเร็วมี
การกระจายตัวเปนรูปพาราโบลา
พาราโบลาดังรูป ถ(านําของไหล
ชนิดนี้ไปทําการทดสอบในห(องปฏิบัติการปรากฏวา
ของไหลปริมาตร 2 L จะมีมวล 1.75 kg และมี
Kinematic Viscosity เทากับ 4.8x10-5 m2/s จงหา
แรงเฉือนอันเนื่องมาจากความหนืดของไหลที่เกิดขึ้นกับผนังทอ ทุก ๆ ความยาว 1 m
19. แผนเหล็กบางขนาดใหญ
ขนาดใหญเคลื่อนที่ด(วยแรง
4kN/m2 ดังรูปจงหาความเร็วในการเคลื่อนที่
ของแผ น เหล็ ก เมื่ อ รู ป แบบการกระจาย
ความเร็ ว ของไหลเป
เป น แบบเชิ ง เส( น (ไม คิ ด
น้ําหนักของแผนเหล็ก)

20.ระบบเพลามี
ระบบเพลามี รู ป ร า งและขนาดดั ง รู ป ถ( า กระบอก
เพลามีมวล (M) 0.3 kg ความหนืดจลนศาสตรของ
น้ํา มั น (ν) มี คา เท า กั บ 99.0×10-4 m2/s จงหา
ความเร็ ว (V) ของกระบอกเพลาที่ เ คลื่ อ นที่ ล งใน
แนวดิ่งด(วยความเร็วคงที่ (สมมติให(การกระจายตัว
ของความเร็วมีลักษณะเปนเส(นตรง
ตรง)

21. แผนไม(บางกว(าง 0.5 m ยาว 1 m ถูกลากไปบนผิวของเหลวชนิดหนึ่งซึ่งมีความหนา 0.5 mm หาก


ต(องใช(แรงขนาด 1 N ในทิศทางขนานกับของเหลว
เพื่ อลากแผน ไม( ใ ห( เ คลื่ อนที่ ด( ว ยความเร็ วคงที่ 0.5
m/s (ผิผิวสัมผัสด(านลางของไหลไมมีการเคลื่อนที่) จง
หาวาของเหลวดั งกลาวมีความหนืดสัมบูร ณเทาใด
(การกระจายความเร็
การกระจายความเร็วในของไหลเปนแบบเชิงเส(น)
20

22. ของไหลชนิดหนึ่งเคลื่อนที่อยูระหวางแผนเรียบย
บยาวมากสองแผนกว(าง 2.5 m ดังรูป โดยแผนทั้งสอง
วางหางกัน 1.0 mm ลักษณะการกระจายความเร็วของไหลเปนรูปพาราโบลา ถ(านําของไหลไปวัดใน
ห(องปฏิบัติการพบวาของ
ไหล 5 Liters จะมีน้ําหนัก
112 N และมีความหนืด
จลนศาสตรเทากับ
3.2x10-5 m2/s จงหาแรง
เฉือนของไหลที่เกิดขึ้นกับ
แผนเรียบทุก ๆ ความยาว 1 m

23. การกระจายความเร็ ว การไหลของน้ํ า ในท อ ที่ ห น( า ตั ด หนึ่ ง เป น ไปตามรู ป และมี ส มการเป น
 a  D 2 
V =   − r 2  เมื่อ V คือความเร็วที่ระยะ r, a คือคาคงที่, µ คือความหนืดของน้ํา, D คือเส(น
 4µ  4 
ผานศูนยกลางทอ และ r คือระยะ
วั ด จากกึ่ ง กลางท อ ที่ ค วามเร็
ามเร็ว ณ
ตํ า แหน ง นั้ น ๆ จงหาผลลั ผลลั พ ธ
ดังตอไปนี้

a. ความเร็วที่ผนังทอ และที่
ระยะ r =D/4
b. ความเค(นเฉือนที่ผนังทอ และที่ระยะ r =D/4
c. จงหาแรงที่น้ํากระทํากับผนังทอในทิศทางของการไหล ตลอดชวงความยาวทอ L
21

บทที่ 2
ของไหลสถิต (Fluid Static)
ของไหลสถิตคือของไหลที่ไมมีการเคลื่อนที่หรือไมมีการไหล เชน น้ําที่บรรจุอยูในแก(ว น้ํามันที่ถูก
บรรจุไว(ในถัง น้ําในสระเก็บน้ํา ปรอทในเทอรโมมิเตอร เปนต(น เมื่อไมมีการไหล การเคลื่อนที่ระหวางชั้น
ของของไหลจึงไมเกิดขึ้น ดังนั้นจึงไมมีแรงเฉือนเนื่องจากความหนืดของของไหล อนุภาคของของไหลจึง
ได(รับผลกระทบจากความดันและแรงโน(มถวงของโลกเทานั้น เนื้อหาในบทนี้จะได(กลาวถึง พฤติกรรม
พื้นฐานของความดันในของไหลสถิตที่กระทํากับพื้นผิวลักษณะตาง ๆ ทั้งกรณีพื้นผิวจมอยูในของไหล
ทั้งหมดและจมอยูในของไหลบางสวน เพื่อเปนพื้นฐานในการคํานวณหาแรงดันของของไหลที่กระทํากับ
โครงสร(างตาง ๆ และสามารถนําไปประยุกตใช(ในการคํานวณและวิเคราะหปMญหาด(านวิศวกรรมตอไป
ความดัน (Pressure)
แรงที่กระทํากับพื้นผิวสามารถแยกได( 2 กรณี คือ แรงที่กระทําในแนวตั้งฉากกับพื้นผิวเรียกวา
แรงดันและแรงที่กระทําขนานกับพื้นผิวเรียกวาแรงเฉือน หากของไหลอยูนิ่ง แรงที่กระทํากับพื้นผิวจะมี
แตแรงดันเทานั้น แรงดันที่กระทํากับพื้นผิวเกิดขึ้นเนื่องจากความดันของของไหลนั่นเอง ความดันหมายถึง
แรงในเนื้อของไหลที่กระทําในแนวตั้งฉากตอหนวยพื้นที่ จากรูปที่ 2.1 ถ(า dF คือแรงที่กระทําบนพื้นที่
dF
เล็ก ๆ dA บนพื้นที่ A ความดันจะมีคาเปน P= ∫ dA แตถ(าความดันที่กระทํามีคาสม่ําเสมอเทากันทั้งใน
F
พื้นที่ A ความดันจะมีคาเปน P=
A

รูปที่ 2.1 ลักษณะของแรงที่กระทําบนพื้นที่


22

ความดันที่จุดใดจุดหนึ่งในของไหลหยุดนิ่ง (Pressure at a Point in Fluid Static)


เนื่องจากของไหลอยูนิ่ง การวิเคราะหหาความดันที่จุดใดจุดหนึ่งในของไหลนั้นจะอาศัยกฎข(อที่ 1
ของนิ ว ตั น มาประยุ กตใ ช( กับ มวลของของไหลที่ มีลั กษณะเป น รู ป ลิ่ ม หากพิ จ ารณาเนื้ อของไหลรู ป ลิ่ ม
(สามเหลี่ยมขนาดเล็กมากในของไหลที่อยูนิ่งดังแสดงในรูปที่ 2.2)

รูปที่ 2.2 แรงที่กระทํากับของไหลรูปลิ่ม

จากกฎข(อที่ 1 ของนิวตัน ∑ F = 0 เมื่อพิจารณาเฉพาะในทิศทางตามแนวแกน x จะได(

dFx − dFs ( sin θ ) = 0 (2.1)

Px ( dydz ) − Ps ( dsdz )( sin θ ) = 0

จากรูปที่ 2.2 จะได( dy = ds (sin θ ) ดังนั้น

Px ( dydz ) − Ps ( dydz ) = 0

Px = Ps (2.2)

วิเคราะหในทํานองเดียวกันตามทิศทางแนวแกน z จะสามารถพิสูจนได(วา

Pz = Ps (2.3)

สําหรับกรณีในแนวแกน y สามารถวิเคราะหได(ดังนี้

dFy − dFs ( cos θ ) − dw = 0


23

Py ( dxdz ) − Ps ( dsdz )( cos θ ) − 12 γ ( dxdydz ) = 0

จากรูปที่ 2.2 จะได( dx = ds(cos θ )

1
Py ( dxdz ) − Ps ( dxdz ) = γ ( dxdydz )
2

เนื่องจากลิ่มมีขนาดเล็กมากจึงทําให(แรงเนื่องจากน้ําหนักของลิ่มของของไหล ( 12 γ ( dxdydz ) ) มี
ขนาดเล็ ก มากเมื่ อ เปรี ย บเที ย บแรงที่ เ กิ ด ขึ้ น เนื่ อ งจากความดั น ของของไหล จึ ง สามารถตั ด ค า
2 γ ( dxdydz )
1
ออกได(จะได(

Py = Ps (2.4)

จากสมการที่ 2.2 ถึง 2.4 สามารถพิสูจนให(เห็นวา Px = Py = Pz = Ps ดังนั้นจึงสามารสรุปได(วา


ความดันในของไหลที่อยูในสภาพหยุดนิ่งที่จุดใด ๆ มีขนาดเทากันในทุกทิศทาง

การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิต (Pressure Variation in a Fluid Static)


การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิต คือ การพิจารณาความดันของไหลจากจุดใดจุดหนึ่งไป
ยังจุดใดอีกจุดหนึ่ง โดยสามารถวิ เคราะหหาคาการเปลี่ยนแปลงความดันทั้งแนวนอนและแนวดิ่งโดย
พิจารณารูปที่ 2.3

รูปที่ 2.3 การเปลี่ยนแปลงแรงดันในของของไหลสถิต


24

รูป ที่ 2.3 แสดงก( อนอนุ ภ าคของไหลทรงลู กบาศก ที่มีขนาดเล็ก โดยกํา หนดให(ความดั น ที่
จุดศูนยถวง (Center of Gravity, C.G, ตําแหนงกึ่งกลางก(อนของไหล) มีคาเทากับ P ดังนั้นจึงมีแรงที่
กระทํากับของไหลรูปลูกบาศกอยู 2 ชนิดคือ แรงที่กระทํากับผิว (Surface Force) และแรงเนื่องจากก(อน
ของของไหล (Body Force) ซึ่งมีคาเทากับน้ําหนักของก(อนของของไหล

พิจารณาแรงที่กระทํากับผิวของก(อนของไหล

- แรงแนวแกน x; δFx =  p − ∂p δx δyδz −  p + ∂p δx δyδz


 ∂x 2   ∂x 2 

∂p
δFx = − (δxδyδz ) (2.5)
∂x

- แรงแนวแกน z; δ Fz =  p − ∂p δz  δyδx −  p + ∂p δz  δyδx


 ∂z 2   ∂z 2 

∂p
δFz = − (δxδyδz ) (2.6)
∂z

- แรงแนวแกน y; δ Fy =  p − ∂p δy  δxδz −  p + ∂p δy  δxδz


 ∂y 2   ∂y 2 

∂p
δFy = − (δxδyδz ) (2.7)
∂y

จากสมการที่ 2.5 ถึง 2.7 เมื่อพิจารณาผลรวมแรงที่กระทํากับผิวของของไหลในรูปเวกเตอร จะได(วา


   
δ Fs = δFx i + δFy j + δFz k

  ∂p  ∂p  ∂p  
δ Fs = − i + j + k (δxδyδz ) (2.8)
 ∂x ∂y ∂z 

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงความดันในรูปเวกเตอร จะได(วา ∇ p = 
∂p  ∂p  ∂p  
i + j + k
 ∂x ∂y ∂z 

จากสมการที่ 2.8 สามารถเขียนได(เปน



δ Fs = −∇ p (δxδyδz ) (2.9)
25

และเมื่อพิจารณาน้ําหนักของก(อนน้ําในรูปเวกเตอรจะได( δw j = γ(δxδyδz ) j


จากกฎข(อที่ 2 ของN ∑ F = ma
 
δFs − δw j = ρ (δxδyδz )a (2.10)

แทนคาสมการ 2.9 และคา δw j ลงในสมการที่ 2.10 จะได(


 
− ∇p(δxδyδz ) − γ (δxδyδz ) j = ρ(δxδyδz )a
 
− ∇ p − γ j = ρa (2.11)

สมการที่ 2.11 เปนสมการพื้นฐานสําหรับใช(วิเคราะหการแปรผันความดันของของไหลที่เคลื่อนที่


ด(วยความเรงในกรณีที่ไมเกิดแรงเค(นเฉือนภายในของไหล เชน การเคลื่อนที่ของน้ํามันที่ถูกบรรจุในถัง
ติดตั้งไว(บนรถบรรทุก เมื่อรถบรรทุกเคลื่อนที่ด(วยความเรงก็จะทําให(น้ํามันในถังมีความเรงเทากับความเรง
ของรถบรรทุกด(วย แตน้ํามันในถังนั้นนั้นจะไมมีการไหลเนื่องจากถูกบรรจุไว(ในถัง (เมื่อไมมีการไหลก็จะไม
เกิดแรงเค(นเฉือนภายในของไหล) ในกรณีของไหลไมมีการเคลื่อนที่และไมมีการไหล ความเรง a ในสมการ
ที่ 2.11 จะมีคาเทากับศูนย ทําให(สมการ 2.11 จะเปลี่ยนเปน

−∇p − γ j = 0
หรือ
 ∂p  ∂p  ∂p  
− i + j + k −γ j = 0 (2.14)
 ∂x ∂y ∂z 

หากพิจารณาในแนวระนาบพบวาความดันมีคาเทากันหรือไมมีการเปลี่ยนแปลงตามแนวระนาบ
∂p  
จะได(  i  = 0 และ
 ∂p 
 k  = 0 แสดงวาไมมีการเปลี่ยนแปลงความดันในแนวระนาบหรือสามารถ
 ∂x   ∂y 
กลาวอีกนัยหนึ่งวา “ในของไหลที่ระดับเดียวกันจะมีขนาดความดันเทากัน” ดังรูปที่ 2.4

รูปที่ 2.4 ระดับน้ําในถังทั้ง 4 จะมีคาเทากัน


26

พิจารณาในแนวแกน y จะได(

 ∂p 
 j  = − γ j
 ∂y 
หรือ
dP
= −γ (2.15)
dy

จากสมการที่ 2.15 ชี้ให(เห็นได(วา อัตราการเปลี่ยนแปลงของความดันเมื่อเทียบกับระยะทางตาม


แกน y หรือตามแนวดิ่งมีคาเทากับ - γ ซึ่งนั่นหมายความวา มีการเปลี่ยนแปลงความดันเกิดขึ้นในแนวดิ่ง

รูปที่ 2.5 การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิตในแนวดิ่ง

จากรูปที่ 2.5 สามารถหาความสัมพันธระหวางความดัน P1 ที่ตําแหนง y1 และ P2 ที่ตําแหนง y2


โดยการหาปริพันธสมการที่ 2.15 จะได(
P2 y2

∫ dP = −γ ∫ dy
P1 y1
(2.16)

P2 − P1 = −γ ( y2 − y1 )

P1 = P2 + γ h (2.17)

เมื่อ P1 และ P2 คือความดัน (N/m2) γ คือน้ําหนักจําเพาะของของไหล (N/m3) h คือผลตางของ


ระดับความลึกจากตําแหนงที่ 1 และ 2 (m) (ตัวห(อย 1 กับ 2 แสดงถึงตําแหนงที่ 1 และ 2 ตามลําดับ)
27

จากสมการที่ 2.17 แสดงวาในของไหลความดันด(านลางจะมีคามากกวาความดันด(านบนเทากับ


γ h จากผลที่ได(สามารถอธิบายปรากฏการณที่พบเห็นในชีวิตประจําวันได(ตัวอยาง เชน เมื่อเราเดินทาง
ขึ้นที่สูง ความดันภายนอกรางกายจะลดต่ําลง อากาศภายในแก(วหูซึ่งมีความดันมากกวาจะดันแก(วหูออก
ด(านนอกทําให(เรารู(สึกหูอื้อ หรือ เมื่อเราวายน้ําแล(วดําลงไปในน้ํา ความดันภายนอกรางกายจะเพิ่มขึ้น
แก( วหู จ ะถู กดัน เข(า ภายใน เนื่ องจากอากาศภายในแก( ว หูมีความดั น ต่ํา กวา ทําให(เ รารู( สึกหู อื้อเชน กั น
ด(วยเหตุนี้เองในงานด(านวิศวกรรม จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะต(องเข(าใจถึงพฤติกรรมของความดัน และ
แรงตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นเนื่องจากความดัน อยางไรก็ตามในสมการที่ 2.17 มีสมมติฐานวาคาน้ําหนักจําเพาะ
ของของไหล (คือ คาความหนาแนนของของไหลคูณแรงโน(มถวงของโลก) มีคาคงที่ตลอดความลึก (h) ใน
เนื้อของไหล ดังนั้นหากคาความหนาแนนของของไหลและคาแรงโน(มถวงของโลกไมเทากันตลอดความลึก
ในเนื้อของไหล เชน การคํานวณหาคาความดันของน้ําที่มีตะกอนปนอยู ซึ่งความหนาแนนของน้ําในระดับ
ที่ลึกกวามีคามากกวาเนื่องจากปริมาณตะกอนมีความเข(มข(นมากกวาด(านบน อยางไรก็ตามหากสามารถ
ทราบคาความหนาแนนของน้ําปนตะกอนในแตละชั้นความลึกก็สามารถทําการหาอนุพันธเพื่อหาคาความ
ดัน ณ ตําแหนงที่ต่ํากวาได(โดยการประยุกตสมการที่ 2.17 ดังนี้
h2

P1 = P2 + ∫ γ h P1 (2.18)
h1

โดยสมการที่ 2.18 จะต(องทราบวา γ เปนฟMงกชั่นของ h อยางไร โดยทั่วไปเมื่อเราไมทราบคา


γ ในฟMงกชั่นของ h ก็อาจจะใช(คา γ เฉลี่ยแทนได(

การวัดความดัน (Measurement of Pressure)


การวัดความดันของของไหล มีมาตรฐานที่ใช(อ(างอิงโดยทั่วไปอยู 2 มาตรฐาน คือ ความดัน
สัมบูรณ (Absolute Pressure ใช(คํายอวา abs) และ ความดันเกจ (Gage Pressure ใช(คํายอวา g) ซึ่ง
ความดันสัมบูรณคือคาความดันที่วัดเปรียบเทียบกับความดันสุญญากาศสมบูรณ (Perfect Vacuum)
หรือความดันศูนยสัมบูรณ (Absolute Zero Pressure) ในขณะที่ความดันเกจคือความดันที่วัด
เปรียบเทียบกับความดันบรรยากาศ ณ จุดใดจุดหนึ่ง (Local Atmospheric Pressure) ซึ่งโดยทั่วไปจะ
เปรียบเทียบกันความดันบรรยากาศที่ระดับน้ําทะเลปานกลาง (Mean Sea Level : MSL) หรือกําหนดให(
ความดันบรรยากาศที่ระดับน้ําทะเลปานกลางมีคาเทากับ 0 ดังนั้นความดันสัมบูรณจึงมีคาเปนบวกเสมอ
ในขณะที่ความดันเกจมีคาได(ทั้งบวกและลบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความดันเกจนั้นมีคามากกวาหรือน(อยคาความ
ดันบรรยากาศและหากคาความดันนั้นมีคามากวาความดันบรรยากาศ ความดันเกจจะมีคาเปนบวก
หากความดันเกจนั้นมีคาน(อยกวาความดันบรรยากาศก็จะมีคาเปนลบ เชน ณ ตําแหนงที่ทําการวัดมีคา
28

ความดันสมบูรณเทากับ 80 kPa และความดันบรรยากาศ ณ ตําแหนงนั้นมีคาเทากับ 101.3 kPa ความ


ดันเกจก็จะมีคาเทากับ -21.3 kPa หรืออาจเรียกวามีคาความดันดูด (Suction Pressure) เทากับ 21.3
kPa สําหรับความสัมพันธระหวางความดันสัมบูรณและความดันเกจแสดงในรูปที่ 2.6

รูปที่ 2.6 ความสัมพันธระหวางระดับความสูง กับความดันสัมบูรณ และความดันเกจ


ดังนั้นกลาวโดยสรุปสามารถสร(างสมการความสัมพันธระหวางความดันเกจและความดันสมบูรณ
ได(ดังสมการ
Pabs = Patm + Pg

เมื่อ Pabs คือ ความดันสัมบูรณ Patm คือ ความดันบรรยากาศ และ Pg คือ ความดันเกจ
29

ตัวอย2างที่ 2.1 จงหาเฮดความดันของความดันบรรยากาศในรูปของของไหลดังตอไปนี้


(a) น้ํา
(b) ปรอท
(c) ของไหลที่มีความถวงจําเพาะเทากับ 0.92
วิธีทํา
ความดันบรรยากาศมีคาเทากับ 1.013x105 N/m2 ดังนั้นสามารถหาเฮดความดันได(จากสมการ h=P γ

1.013×105
(a) h= = 10.326 m-H 2O
9810

1.013×105
(b) h= = 759.28 m-Hg
13.6 × 9810

1.013×105
(c) h= = 11.224 m-FluidSG.=0.92
0.92 × 9810

ตัวอย2างที่ 2.2 ถังใบนึ่งบรรจุน้ําและน้ํามันดังรูป จงหา ความดันเกจและความดันสัมบูรณที่ตําแหนง A


B C และ D (กําหนดให(ความดันบรรยากาศที่กระทํากับถังมีคาเทากับความดันบรรยากาศ ณ.
ระดับน้ําทะเลปานกลาง)

รูปที่ Ex2.2
30

วิธีทํา จากสมการ Pg = γ h , P1 = P2 + γh และ Pabs = Patm + Pg สามารถคํานวณความดัน ณ


ตําแหนงตาง ๆ ได( ดังตารางที่ Ex2.1

ตารางที่ Ex2.1 ความดัน ณ. ตําแหนง A B C และ D ในรูปที่ Ex2.2

Pgage (5)
ตําแหนง (1) γ (2) h *(3) γh **(4) P1 = P2 + γh Pabs = Patm + Pg
(N/m3) (m) (N/m2) 2
(N/m ) (N/m2)
A - - 0 0 101.33 x 103 (Patm)
3,139.2
B 0.8 x 9,810 0.4 3,139.2 104.47 x 103
(0+3,139.2)
8,632.8
C 0.8 x 9,810 0.7 5,493.6 109.96 x 103
(5,493.6+3139.2)
15,499.8
D 9,810 0.7 6,867 116.83 x 103
(6,867+8,632.8)

แนวทางการคํานวณ
(1) คือน้ําหนักจําเพาะของของไหล คํานวณจาก Specific gravity ของของไหล คูณ γw
(2) h คือ ความสูงของของไหลในชั้นที่พิจารณา
(3) (3) = (1) x (2)
(4) ความดันของไหลที่ชั้นด(านบนบวกด(วยความดันของไหลที่ชั้นที่พิจารณา
(5) ความดันสัมบูรณ ณ.ตําแหนงที่พิจารณา เทากับ ความดันบรรยากาศบวกด(วยความดันเกจ
31

เครื่องมือวัดความดัน (Pressure Measurement)


เครื่องมือสําหรับวัดความดันเปนเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช(วัดความดันสัมบูรณ ความดันบรรยากาศ
หรือความดันเกจ และแสดงผลออกมาในหนวยตาง ๆ เชน Pa, N/m2, Bar, kPa หรือ mmHg ซึ่งมีหลาย
รูปแบบ อยางไรก็ตามสามารถแบงออกได( 2 ประเภท คือ เครื่องมือวัดความดันบรรยากาศและเครื่องมือ
วัดความดันเกจ

บารอมิเตอร (Barometer)
บารอมิเตอร คือ เครื่องมือวัดความดันบรรยากาศสําหรับวัดคาความดันที่เกิดจากแรงดันของ
อากาศโดยใช(ของเหลวหรือวัสดุแข็งที่สัมผัสโดยตรงกับอากาศ สวนใหญแบงออกได(เปน บารอมิเตอรแบบ
ปรอท และบารอมิเตอรแบบแอนเนอรอยด

บารอมิเตอรแบบปรอท (Mercury Barometer)


ในปë ค.ศ. 1643 เอวานเจลิสตา โตรริเชลลี (Evangelista Torricelli) นักฟKสิกสชาวอิตาลีเปน
ผู(ประดิษฐคิดค(นบารอมิเตอรเครื่องแรก เขาค(นพบแรงกดของบรรยากาศโดยบังเอิญขณะพยายามสูบน้ํา
เข(าไปในทอปKด ของการสร(างน้ําพุของแกรนดดยุกแหงทัสคานี ซึ่งโตรริเชลลีพบวาน้ําจะถูกยกตัวสูงขึ้นใน
ทอปKดได(ไมเกิน 10 m ตอมาเขาได(ใช(ทอที่มีความยาวประมาณ 1 m คว่ําลงในอางที่บรรจุปรอทดังรูปที่
2.7a ซึ่งอากาศในทอจะถูกแทนที่ด(วยปรอททั้งหมด จากนั้นทําการยกทอขึ้นในแนวตั้ง พบวาปรอทในทอ
ถูกยกขึ้นไปกับทอได(สูงเพียงประมาณ 76 cm หรือ 760 mm เทานั้น ไมวาจะใช(ทอสูงขึ้นเทาไรก็ตาม ดัง
รูปที่ 2.7b โดยเขาสรุปวาการที่ของไหลสวนหนึ่งยังค(างอยูภายในหลอดแก(วก็เนื่องจากแรงกดดันของ
บรรยากาศที่มีตอผิวหน(าของปรอทในอาง ซึ่งแสดงวามวลของบรรยากาศหรือความกดดันของบรรยากาศ
ที่มีตอผิวของของไหลในอางจะต(องเทากับความกดดันที่เกิดจากมวลของของไหลในหลอดแก(วซึ่งกดลง
มายังอางของไหล ดังนั้นความสูง
ของของไหลในหลอดแก( ว จึ ง
เทากับความสูงที่เกิดจากความดัน
ของบรรยากาศ คาที่วัดได(จะเปน
คว ามดั น สั ม บู ร ณ (Absolute
Pressure) และนั้ น คื อ เครื่ อ งมื อ
วัดความดันบรรยากาศเครื่องแรก
ของโลก
รูปที่ 2.7 บารอมิเตอรแบบปรอท
32

จากรูปที่ 2.7 และจากสมการ P1 = P2 + γh จะได( ความดันบรรยากาศ (Atmospheric


Pressure, Patm) ดังนี้

Patm = PV + γ Hg h (2.19)

เมื่อ Patm คือ ความดันบรรยากาศ (N/m2) PV คือ ความดันไอ (Vapor Pressure) ในทอมีคา
เทากับ 0.016 N/m2 γHg คือ น้ําหนักจําเพาะของปรอท (N/m3) h คือ ความสูงของปรอท (m) จาก
สมการจะได(

Patm = 0.016 + 133 .416 x10 3 (0.76)

Patm = 0.016 + 101,396

หากพิจารณาคา PV = 0.016 N/m2 และ γHgh = 101,396 N/m2 จะเห็นได(วา คา PV มีคา
น(อยมากจนสามารถตัดทิ้งได( (เพื่อความสะดวกในการคํานวณและคําตอบที่ได(มีคาไมตางกัน) ดังนั้นความ
ดันบรรยากาศจึงสามารถหาได(จากสมการ

Patm = γ Hg h (2.20)

บางครั้งอาจบอกคาความดันอยูในรูปของความสูงของปรอท (mm⋅Hg)

บารอมิเตอรแบบแอเนอรอยด (Aneroid Barometer)


บารอมิเตอรแบบแอนิรอยด คือ เครื่องมือวัดความดันอากาศที่คิดค(นขึ้นในปë ค.ศ. 1844 โดย
นักวิทยาศาสตรชาวฝรั่งเศสชื่อ Lucien Vidi ซึ่งเปนเครื่องมือวัดความดันที่อาศัยแรงอัดจากอากาศมากด
ตลั บ แคปซู ล ซึ่ งเป น กล องโลหะเล็ กที่ มีความยื ด หยุ น เรี ย กว า เซลล แ อนิ ร อยด (Aneroid Cell) การ
เปลี่ยนแปลงความดันอากาศภายนอกเพียงเล็กน(อยจะทําให(เซลลขยายหรือหดตัว การขยายตัวและการ
หดตัวนี้ทําให(กลไกที่ถูกติดตั้งตอจากแคปซูลเลื่อนไปตามการเคลื่อนไหวของแรงดัน สงผลให(เข็มที่ถูก
ติดตั้งตอจากชุดแคปซูล เลื่อนไปบอกคาความดันบนสเกลบนหน(าปMด บารอมิเตอรแบบแอเนอรอยดสวน
ใหญเปนแบบตลับดังรูปที่ 2.8 บารอมิเตอรประเภทนี้มีอยูทั่วไปในบ(านและในเรือสําราญ นอกจากนี้ยังใช(
ในวงการอุตุนิยมวิทยาเชน บารอกราฟ (Barograph) ดังรูปที่ 2.9
33

รูปที่ 2.8 บารอมิเตอรแบบแอเนอรอยด (Aneroid Barometer)

บารอกราฟใช(หลักการเดียวกันกับบอรอมิเตอรแบบตลับ แตตอแขนปากกาให(ไปขีดบนกระดาษ
กราฟที่หุ(มกระบอกหมุนที่หมุนด(วยนาฬิกา เพื่อบันทึกความกดอากาศ

รูปที่ 2.9 บารอกราฟ


34

มาโนมิเตอร (Manometer)
มาโนมิเตอรเปนอุปกรณวัดความดันที่อาศัยหลักของความดันสถิตศาสตรของไหล โดยทั่วไปใช(
วัสดุที่ทําจากหลอดแก(วใสบรรจุของเหลวอยูภายใน ของเหลวที่บรรจุภายในหลอดมาโนมิเตอรควรมีการ
เคลื่อนที่ภายในหลอดได(อยางอิสระ ไมยึดเกาะติดที่ผนังหลอด ต(องไมเปลี่ยนสถานะ เชน การแข็งตัวหรือ
การเดือดเปนไอ และไมกัดกรอนหลอดบรรจุ คาความหนาแนนของของเหลวต(องเหมาะสมกับยานความ
ดันใช(งานและระดับความสูงของหลอดมาโนมิเตอร ของเหลวที่ใช(มีหลายชนิด ได(แก ปรอท น้ํามันหรือ
ของไหลที่มีคุณสมบัติตามที่ต(องการใช(งาน การทํางานของมานอมิเตอรจะอาศัยการเปรียบเทียบกับความ
ดันที่รู(คาเชนเดียวกับบารอมิเตอร มาโนมิเตอรเปนอุปกรณวัดความดันในรูปแบบของความดันแตกตาง
โดยพิจารณาจากความแตกตางของระดับความสูงของของเหลวภายในหลอดแก(วสองข(าง โดยมีหลักการ
ทํางานอยางงายเพียงแคนําปลายข(างหนึ่งของมานอมิเตอรปMกเข(าไปยังจุดที่ต(องการทราบคาความดัน และ
คาที่อานได(จะเปนความดันเกจ มานอมิเตอรมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะงานที่จะใช(ในแต
ละประเภท อยางไรก็ตามมานอมิเตอรจะถูกออกแบบด(วยพื้นฐานสามแบบด(วยกันคือ พิโซมิเตอร มาโน
มิเตอรรูปตัวยู และมาโนมิเตอรแบบเอียง

พิโซมิเตอร (Piezometer)
พิโซมิเตอรเปนมานอมิเตอรอยางงายที่สุด ประกอบด(วย
หลอดแก(วปลายเปKดวางตัวในแนวดิ่ง โดยปลายมีปลายด(านหนึ่ง
เปKดสูอากาศ ไปติดตั้ง ณ จุดที่ต(องการวัดความดัน ดังรูปที่ 2.10
จากรูปที่ 2.10 เมื่อทราบคาน้ําหนักจําเพาะของของไหล
และความสูง h ในหลอดแก(ว ก็สามารถคํานวณหาความดัน ณ.
ตําแหนง A ได( ดังสมการ

รูปที่ 2.10 พิโซมิเตอร

ความดันเกจ PA = γh (2.20)

ความดันสัมบูรณที่จุด A มีคาเทากับ PA = Patm + γh (2.21)

เมื่อ PA คือความดันที่ต(องการวัด (N/m2) Patm คือความดันบรรยากาศ (N/m2) γ คือน้ําหนัก


จําเพาะของของไหล (N/m3) h คือความสูงของของไหลในหลอดแก(ว (m)
35

ข(อควรระวังการใช(พิโซมิเตอรวัดความดัน คือ การวัดความดันเกินพิกัดเนื่องจากพิโซมิเตอรมี


โครงสร(างอยางงายไมมีอุปกรณปhองกัน ของเหลวที่บรรจุภายในหลอดแก(วอาจเกิดการสูญหายได( และ
ก อ นการใช( ง านทุ ก ครั้ ง ควรปรั บ ระดั บ ความสู ง ของของเหลวให( อ ยู ใ นตํ า แหน ง ศู น ย เพื่ อ ลดความ
คลาดเคลื่อนจากการวัด ดังนั้นการใช(พิโซมิเตอรนี้เหมาะสมสําหรับวัดความดันที่พอเหมาะที่อานคาได(
โดยหลอดแก(วต(องมีคาไมยาวมากไปและไมสั้นเกินไปจนเกิดความยุงยากในการอานคาความสูงของของ
ไหลในหลอดแก(ว

มาโนมิเตอรรูปตัวยู (U-Tube Manometer)


กรณีที่ต(องการวัดความดันที่มีคาสูงมาก การใช(พิโซ
มิเตอรอาจไมสะดวก เนื่ องจากต( องใช(หลอดแก(วที่ ยาวมาก
ดังนั้นมาโนมิเตอรรูปตัวยูจึงถูกนํามาใช( โดยการดัดหลอดแก(ว
ให(งอคล(ายรูปตัวยูในภาษาอังกฤษดังรูปที่ 2.11 แล(วใช(ของ
ไหลที่มีน้ําหนักจําเพาะมากกวาน้ําหนักจําเพาะของของไหลที่
ต(องการวัด ของเหลวดังกลาวเรียกวา Gage Fluid (เชน
ปรอท) ซึ่ ง จะทํ า ให( ค า h ที่ อ า นได( ไ ม สู ง มากนั ก โดยมี
รายละเอียดการคํานวณหาคาความดัน ดังนี้

รูปที่ 2.11 มานอมิเตอรรูปตัวยู

พิจารณาที่จุด a และ จุด b พบวา ความดันมีคาเทากัน (เนื่องจากเปนของไหลชนิดเดียวกัน และ


มีระดับเทากัน และอยูตอเนื่องกัน) ดังนั้นจะได(

Pa = Pb

Pm + γ 1h1 = Pn + γ 2 h2

เมื่อ PA= Pm และ Patm = Pn จะได(

PA + γ 1h1 = Patm + γ 2 h2

หรือ PA = Patm + γ 2 h2 − γ 1h1 (ความดันสัมบูรณ) (2.22)


36

และ PA = γ 2 h2 − γ 1h1 (ความดันเกจ) (2.23)

เมื่อ PA คือ ความดันที่ต(องการวัด (N/m2) Patm คือ ความดันบรรยากาศ (N/m2) γ1 คือ


น้ําหนักจําเพาะของของไหลที่ต(องการทําการวัด (N/m3) γ2 คือ น้ําหนักจําเพาะของของไหลใน
หลอดแก(ว (N/m3) h1 คือ ความสูงของของไหลในหลอดแก(วฝMîงเดียวกับของไหลที่ต(องการทําการวัด (m)
h2 คือ ความสูงของของไหลในหลอดแก(วฝMîงปลายเปKด (m)
ดังนั้นเวลาใช(งานเพียงแคอานคาระดับ h1 และ h2 แล(วนําไป
แทนค าในสมการที่ 2.22 หรื อ 2.23 ก็ส ามารถคํ านวณหา
ความดันสัมบูรณหรือความดันเกจได(ตามลําดับ (เนื่องจาก γ1
และ γ2 เป น คา ที่ ทราบอยู แล( ว ) มานอมิ เ ตอร รูป ตั วยู ยั ง
สามารถประยุกตใช(กับการวัดความแตกตางของความดันของ
ของไหลระหวางจุด 2 จุด บางครั้งอาจเรียกวา มานอมิเตอร
วัดผลตางความดัน (Differential Manometer) ดังรูปที่
2.12 ซึ่งมีรายละเอียดการคํานวณหาคาความดันดังนี้

รูปที่ 2.12 มานอมิเตอรรูปตัวยู


สําหรับใช(วัดผลตางความดัน

พิจารณาที่จุด a และ จุด b พบวา ความดันมีคาเทากัน (เนื่องจากเปนของไหลชนิดเดียวกัน และ


มีระดับเทากัน และอยูตอเนื่องกัน) ดังนั้นจะได(
Pa = Pb
Pm + γ 1h1 = Pn + γ 2h2 + γ 3h3

เมื่อ PA= Pm และ PB = Pn จะได(

PA + γ 1h1 = PB + γ 2h2 + γ 3h3

หรือ PA − PB = γ 2h2 + γ 3h3 − γ 1h1 (ความดันเกจ) (2.24)

ดังนั้นเวลาใช(งานเพียงแคอานคาระดับ h1 h2 และ h3 นําไปแทนคาในสมการ ก็สามารถ


คํานวณหาผลตางความดันได( (เนื่องจาก γ1 γ2 และ γ3 เปนคาที่ทราบอยูแล(ว) อยางไรก็ตาม หากผลตาง
ความดันมีคาน(อยอาจทําให(ยากตอการอานคาระดับ h1 h2 และ h3 ดังนั้นจึงต(องเลือกใช(มานอมิเตอรที่
37

สามารถวั ด ค า ที่ มี ผ ลต า งความดั น น( อย ๆ ได( แ ก ไมโครมานอมิ เ ตอร (รู ป ที่ 2.13) โดยการออกแบบ
มานอมิเตอรให(มีพื้นที่หน(าตัดตางกัน ดังรูป

รูปที่ 2.13 ไมโครมานอมิเตอร

จากรูปจะเห็นวาที่หน(าตัด MM’ มีพื้นที่หน(าตัดเทากับ A และ ที่หน(าตัด NN’ มีพื้นที่หน(าตัด


เทากับ a จากรูปที่ 2.12 (I) พบวาเมื่อระดับความดันที่ตําแหนง C และ ตําแหนง D ระดับของไหล 1 และ
ระดับของไหล 2 จะมีคาเทากัน แตหากระดับของไหลที่ตําแหนง C มีคามากกวาที่ตําแหนง D ระดับของ
ไหลจะเปลี่ยนไปเปนรูปที่ 2.12 (II) โดยระดับด(านซ(ายมือของไหล 1 จะลดลงเทากับ h และ และระดับ
ของไหล 2 ลดลงเทากับ S จะลดลงในขณะที่ระดับของไหลด(านขวามือของไหล 1 จะเพิ่มขึ้น และ 2
เทากับ h และ และระดับของไหล 2 เพิ่มขึ้นเทากับ S และสามารถคํานวณหาผลตางของความดันของ
ของไหลได(ดังนี้ พิจารณารูปที่ 2.12 (II) ณ.ตําแหนงที่มีความดันเทากันซึ่งได(แก ที่ตําแหนง a กับ b จะได(
Pa = Pb

Pj + γ C ( y1 + h ) + γ 1 ( y2 + S − h ) = Pk + γ D ( y1 − h ) + γ 1 ( y2 + h − S ) + γ 2 ( S + S )

และ เมื่อ PC = Pj และ PD = Pk จะได(

PC + γ C ( y1 + h ) + γ 1 ( y2 + S − h ) = PD + γ D ( y1 − h ) + γ 1 ( y2 + h − S ) + γ 2 ( 2 S )
38

เนื่องจากปริมาตรที่เปลี่ยนไป ณ. หน(าตัด A กับ หน(าตัด a มีปริมาตรเทากันจะได(

hA = Sa

a
h = S 
 A

แทนคา h ลงในสมการ จะได(


 a     a   a 
PC − PD = γ D  y1 − S    + γ 1  y2 + S   − S  + γ 2 ( 2 S ) − γ C  y1 + S    − γ 1  y2 + S − S   
a
  A    A    A    A 

 a   a    a  
PC − PD = γ D  y1 − S    − γ C  y1 + S    + 2 S γ 1    − 1  + γ 2 
  A    A    A   

กรณีที่ของไหล C และ ของไหล D เปนของไหลชนิดเดียวกัน จะได( γC และ γD มีคาเทากัน ซึ่งกําหนดให(


เทากับ γ ดังนั้นจะได(
  a  
PC − PD = −2 S   γ + 2 S γ 1    − 1  + γ 2 
a
 A   A   

  a  a 
PC − PD = 2 γ 1    − 1  + γ 2 − 2   γ  S
  A   A 

จากสมการที่ พบวา γ, γ1, γ2, a และ A เปนตัวแปรที่ทราบคาอยูแล(ว ดังนั้น พจน


  a   a 
2 γ 1    − 1  + γ 2 − 2   γ  จึงเปนคาคงที่ กําหนดให(เทากับ C จะได(
  A    A 

PC − PD = CS (2.25)

จากสมการที่ 2.25 หากต(องการทราบคาผลตางความดันก็เพียงวัดคา S และนําไปแทนคาในสมการ


39

มาโนมิเตอรแบบเอียง (Incline Tube Manometer)


มาโนมิเตอรแบบเอียงดัดแปลงมาจาก
พิ โ ซมิ เ ตอร เ พื่ อ ให( ส ามารถอ า นค า ความดั น ได(
ละเอี ย ดมากขึ้ น โดยการเอี ย งหลอดแก( ว เป น
มุม θ ใด ๆ ดังรูปที่ 2.14 เพื่อประโยชนในการ
อานคาความดันที่มีคาน(อย ๆ ซึ่งมีรายละเอียด
การคํานวณหาคาความดัน ดังนี้

รูปที่ 2.14 มานอมิเตอรแบบเอียง

พิจารณาที่จุด A และ จุด n พบวา ความดันมีคาเทากัน (เนื่องจากเปนของไหลชนิดเดียวกัน และ


มีระดับเทากัน และอยูตอเนื่องกัน) ดังนั้นจะได(

PA = Pn

PA = Patm + γ L sin θ (ความดันสัมบูรณ) (2.26)

PA = γ L sin θ (ความดันเกจ) (2.27)

เมื่อ PA คือ ความดันที่ต(องการวัด (N/m2) Patm คือ ความดันบรรยากาศ (N/m2) γ คือ น้ําหนัก
จําเพาะของของไหลที่ต(องการทําการวัด (N/m3) L คือ ระดับของไหลในแนวเอียง (m) ดังนั้นเวลาใช(งาน
เพี ย งแค อา นค า ระดั บ L และ นํ าไปแทนค าในสมการ ก็ ส ามารถคํ า นวณหาความดั น สั มบู ร ณ ห รื อ
ความดันเกจได(ตามลําดับ

มาตรวัดบูรดอง (Bourdon gauge)


มาตรวัดบูรดอง (รูปที่ 2.15) เปนเปนมาตรวัดความดันเกจชนิดอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางกล
ด(วยหลั กการยื ดตัวหรือโกงตัวของวัสดุที่มีสมบัติ ยืดหยุ น เรีย กวา เครื่องมือวัดความดั นแบบอิ ลาสติ ก
ทํางานโดยอาศัยการแปลงความดันที่อุปกรณได(รับให(อยูในรูปของการเคลื่อนที่ โดยมีสวนประกอบสําคัญ
คือ หลอดกลวงหน(าตัดรูปวงรี ดัดโค(งเปนรูปสวนหนึ่งของวงกลม ปลายด(านหนึ่งปKดปลอยเปนอิสระ และ
เชื่อมตอกับกลไกบังคับเข็มที่หน(าปMด สวนปลายอีกด(านตรึงแนน และเชื่อมตอกับจุดที่ต(องการวัดความดัน
เมื่อหลอดได(รับความดันหรือความดันภายในหลอดมากกวาความดันภายนอก จะพยายามเบงตัวทําให(
ปลายอิ สระเคลื่อนที่ ทําให(เ ข็ มที่ หน( า ปMด ขยั บ ไปยังตํ าแหน งที่บ อกค าของความดั น โดยการเคลื่ อนที่ นี้
40

เปลี่ ย นแปลงตามความดั น ที่ ไ ด( รั บ และเมื่ อ ความดั น ลดลงหลอดจะเคลื่ อ นที่ ก ลั บ เข( า สู ตํ า แหน ง เดิ ม
ลักษณะการทํางานของมาตรวัดบูรดองมีหลักการเดียวกับของเด็กเลนที่มีลักษณะเปนขดกระดาษม(วน
โดยเมื่อเปñาลมเข(า ขดกระดาษม(วนจะคลายตัวออก และเมื่อปลอยลมออก ขดกระดาษจะม(วนตัวกลับเข(า
สูสภาพเดิม

รูปที่ 2.15 การทํางานของมาตรวัดบูรดอง

ทรานสดิวเซอรวัดความดัน (Pressure transducer)


ทรานสดิวเซอรวัดความดัน คืออุปกรณที่เปลี่ยนความดันเปนสัญญาณทางไฟฟhา ซึ่งการแปลงคา
ความดันที่วัดเปนสัญญาณไฟฟhาทําให(การเก็บข(อมูลและการประมวลผลสามารถทําได(งายและสะดวก
รวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งทรานสดิวเซอรวัดความดันมีอยูหลายรูปแบบด(วยกันเชน
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิดใช(แสง (Optical Pressure Transducer)
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิดเปลี่ยนความจุไฟฟhา (Capacitive Pressure Transducer)
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิดเปลี่ยนความต(านทาน (resistive Pressure Transducer)
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิดเปลี่ยนแปลงความเหนี่ยวนํา (Inductive Pressure
Transducer)
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิดเปëยโซอิเล็กตริก (Piezoelectric Pressure Transducer)
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิด LVDT (LVDT Pressure Transducer)
- ทรานสดิวเซอรความดันชนิดสเตรนเกจ (Strain Gauge Pressure Transducer)
41

ตัวอย2างที่ 2.3 จากรูป ที่ Ex2.3 จงหาความดัน ที่จุ ด B


เมื่อความดันที่จุด A มีคาเทากับ 25 mm-Hg (ระยะมี
หนวยเปน m)

รูปที่ Ex2.3

วิธีทํา 1 mm-Hg = (1×10-3 m.)SGHg

γw = 0.001×13.6×9810 = 133.4 Pa

พิจารณาความดันที่จุด A

PA = 25 mm.Hg = 25×133.4 = 3335.4 Pa = 3.34 kPa

หาความดันที่จุด B

PB = PA + (0.15) γw + (0.30) γHG - (0.45) γOil

= 3335.4 + (0.15) (9810) + (0.30) (13.6×9810) - (0.45) (0.80×9810)

= 41.31×103 Pa

= 41.31 kPa ตอบ


42

แรงดันที่ของไหลกระทํากับผิวระนาบ (Hydrostatic Force on a Plane Surface)


พื้นผิวที่จมอยูในของไหลยอมได(รับแรงกระทําจากของไหล การหาแรงกระทําที่เกิดจากของไหล
เชนแรงกระทําของน้ําตออาคารชลศาสตร มีความจําเปนอยางยิ่งตอการออกแบบโครงสร(างของอาคาร
ชลศาสตรเหลานั้น ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะต(องทราบขนาด ทิศทาง และตําแหนงแรงลัพธที่กระทํา ใน
หัวข(อนี้จะทําการกลาวถึงแรงเนื่องจากของไหลที่อยูนิ่งโดยมีรายละเอียดดังนี้

แรงดันที่กระทํากับผิวระนาบแนวนอน (Force on Horizontal Plane)


แรงกระทําบนระนาบแนวนอน เชน แรงดันน้ําที่พื้นสระวายน้ํา แรงดันน้ํามันที่ก(นถังบรรจุ แรงที่
กระทําที่กระทํากับพื้นระนาบแนวนอนเหลานั้นสามารถหาได(โดยความดันที่ก(นถังซึ่งมีขนาดเทากันตลอด
คูณด(วยพื้นที่ที่ถูกกระทํา

รูปที่ 2.16 แรงที่กระทํากับพื้นระนาบแนวนอน

จากรูปที่ 2.16 สามารถหาแรงที่กระทํากับพื้นระนาบได(เทากับ

FR = PA = γ hA (2.28)

เมื่อ FR คือ แรงที่กระทํากับพื้นระนาบ (N) P คือ ความดันที่พื้นระนาบมีคาเทากับ (N/m2)


3
γ คือ น้ําหนักจําเพาะของของไหล (N/m ) h คือ ความลึกของไหลที่วัดในแนวดิ่งจากผิวอิสระถึงพื้น
ระนาบที่ถูกกระทํา (m) และ A คือ พื้นที่ระนาบถูกกระทํา (m2) เนื่องจากความดันกระจายเทากันทั่วทั้ง
ระนาบ ดังนั้นตําแหนงที่แรงลัพธ (แรงรวม) กระทําอยูตรงตําแหนงจุดเซนทรอยด (Centroid) ของพื้นที่
43

แรงดันที่กระทํากับผิวระนาบเอียง (Force on Incline Plane)


ในกรณี ที่ร ะนาบไม ได(อยู ใ นแนวนอน ได( แก ระนาบแนวตั้ งหรือระนาบแนวเอี ย ง เช น แรงที่
กระทํ า กั บ เขื่ อนหรื อ ประตู น้ํ า ซึ่ งการกระจายความดั น จะไม เ ท า กั น ตลอดความลึ กที่ ของไหลกระทํ า
เหมือนกับกรณีระนาบแนวนอน

รูปที่ 2.17 แรงดันที่ของไหลกระทํากับวัตถุผิวเรียบที่จมอยูในน้ํา

หากพิจ ารณารู ปที่ 2.17 แสดงแรงดั น น้ํา ที่ กระทํ ากั บ ระนาบแนวเอี ย งทํ ามุม θ กับ ผิ วอิ ส ระ
แรงดันที่กระทํากับวัตถุนั้นกระจายทั่วทั้งแผนระนาบโดยมีทิศทางตั้งฉากกับผิววัตถุ แตเพื่อความสะดวก
ในการคํานวณโมเมนตจึงจําเปนต(องหาขนาดของแรงรวมและตําแหนงที่แรงรวมกระทํากับวัตถุนั้น (ซึ่งไม
ใช(ตําแหนงจริงที่แรงกระทํากับวัตถุแตเปนเพียงเสมือนแรงทั้งหมดกระทํากับวัตถุที่ตําแหนงนี้) พิจารณา
ในระบบความดันเกจพบวาแรง (dF) ที่กระทํากับวัตถุมีคาเทากับ ความดัน (Ph) คูณด(วยพื้นที่ (dA)

พิจารณาแรงที่กระทํากับพื้นที่เล็กๆ บนพื้นที่รับแรง dF = γ × h × dA

แรงกระทําทั้งหมดจึงมีคาเทากับ FR = ∫ dF = ∫ γ × h × dA
A A

จากรูป h = y sinθ FR = ∫ γ × ysinθ × dA


A
44

FR = γsinθ ∫ ydA
A

แตเนื่องจาก ∫ ydA = y c A (โมเมนตของพื้นที่รอบแกน X)


A

เมื่อ γ คือ น้ําหนักจําเพาะของของไหล (N/m3) h คือความลึกของการไหลที่วัดในแนวดิ่งจากผิว


อิสระถึงจุดศูนยถวงของพื้นที่ dA (m) y คือ ความลึกของการไหลที่วัดในแนวขนานกับผิววัตถุจากจุดหมุน
O ถึงพื้นที่จุดศูนยถวงของ dA (m) θ คือ มุมเอียงที่ระนาบทํามุมกับผิวอิสระของของไหล (องศา) ดังนั้น
แรงดันของของไหลบนพื้นที่จะมีคาเทากับ

FR = γy c A ( sinθ )

จากรูป hc = yc sinθ FR = γhc A (2.29)

การหาตําเหนงที่แรงดันกระทํา โดยพิจารณาจากผิวน้ําไปตามแนวแกน Y (yR)

พิจารณาโมเมนตที่จุด O ของแรงรอบแกน X

FR y P = ∫ ydF
A

= ∫ γ × y 2 × sinθ × dA
A

2
∫ γ × y × sinθ × dA
A
yP =
FR
2
∫ y dA
A
yP = (2.30)
Ay c

แตเนื่องจาก ∫ y 2 dA = Ix (โมเมนตความเฉื่อย) ด(งนั้นจะได(วา


A

I
yP = (2.31)
Ayc
45

พิจารณาการหาโมเมนตความเฉื่อยรอบแกน X (IX) ในกรณีที่แกนอ(างอิงไมผานจุดศูนยถวงของพื้นที่

I = I C + Ayc2 (2.32)

เมื่อ IXC คือโมเมนตความเฉื่อยรอบแกน X ที่ผานจุดศูนยถวงของพื้นที่ เพราะฉะนั้นแรงดันที่


กระทํากับพื้นที่จะอยูหางจากแกน X เทากับ

Ixc + Ay 2c
yP =
Ay c

I xc
yP = yc + (2.33)
Ayc

ปริซึมแรงดัน (Pressure Prism)


เทคนิ ค ปริ ซึ ม ความดั น จะทํ า ให( ส ามารถคํ า นวณหาแรงที่ ก ระทํ า ต อ ผนั ง แนวเอี ย งได( ง า ยขึ้ น
โดยเฉพาะเมื่อของไหลมีสองชนิด เชน การคํานวณแรงดันที่กระทํากับผนังเขื่อนกรณีที่มีน้ําปนตะกอนอยู
ชั้นลางและน้ําสะอาดอยูชั้นบน

รูปที่ 2.18 ปริซึมความดันบนพื้นที่ระนาบสี่เหลี่ยมผืนผ(า

เราสามารถคํานวณหาแรงรวมทั้งหมดที่กระทํากับวัตถุทางชลศาสตรโดยใช(หลักปริซึมความดัน
พิจารณารูปที่ 2.18 พบวาความดัน (P) แตละจุดที่กระทํากับกําแพงมีคาเทากับน้ําหนักจําเพาะของของ
ไหล (γ) คูณด(วยความลึกของของไหล (h) และมีคาแปรผันในเชิงเส(นตามความลึกของของไหล ที่ตําแหนง
ผิวของของไหล (ตําแหนงที่ 1) ความดันมีคาเทากับศูนย (ในระบบความดันเกจ) และมีคาเทากับ γh ที่พื้น
46

(ตําแหนงที่ 2) ดังนั้นสามารถคํานวณพื้นที่ปริซึมความดันที่กระทํากับผนังมีคาเทากับพื้นที่สามเหลี่ยม
abc ซึ่งมีคาเทากับ γh 2 2 และปริมาตรของปริซึมความดันก็คือแรงรวมที่กระทํากับผนังนั่นเอง จากรูปที่
2.16ปริมาตรของปริซึมความดันมีคาเทากับ w × γh 2 2 เมื่อ w คือความกว(างของผนังสี่เหลี่ยม ดังนั้นจะ
ได(แรงรวมที่กระทําทั้งหมดเทากับ
2
FR = Volume =
1
(γh )(wh ) = w × γh (2.34)
2 2

เมื่อ A = w x h คือ พื้นที่ผิวระนาบของสี่เหลี่ยมพื้นผ(าที่จมอยูใต(ของไหล (m2) FR คือ แรงลัพธที่


กระทํากับระนาบพื้นที่สี่เหลี่ยมเฉพาะสวนที่จมน้ํา (N) γ คือ น้ําหนักจําเพาะของน้ํา (N/m3) h คือ ความ
ลึกของการไหลที่วัดในแนวดิ่งจากผิวอิสระ (m)
47

ตัวอย2างที่ 2.4 ประตูน้ําขนาด 1.2 m × 1.8 m ถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป โดยปลายด(านหนึ่งยึดติดกับ


บานพับ สวนปลายอีกด(านหนึ่งถูกดึงด(วยแรง P เพื่อไมให(น้ําไหลออก จงหาขนาดของแรง P (ไมคิด
น้ําหนักของบานประตู)

รูปที่ Ex 2.5
วิธีทํา จาก FR = γhCA
hC = 3.9 sin 60O = 3.38 m
A = 1.2 × 1.8 = 2.16 m2
FR = γW(3.38)(2.16)
= 9810×3.38 ×2.16
= 71,621 N = 71,621 kN
Ixc bd3 1.2 × 1.8 3
จาก yP = + yc ; I xc = = = 0.583 m 4
Ay c 12 12
0.583
yP = + 3.9 = 3.97 m
2.16 × 3.9
∑MHinge = 0
0.97FR = (1.8P)
P = (0.97FR)/1.8
= (0.97×71621)/1.8
= 38,596 N ตอบ
48

แรงดันของของไหลบนพื้นผิวโค.ง (Hydrostatic Force on a Curved Surface)


แรงดันที่กระทํากับพื้นผิวจะมีทิศตั้งฉากกับพื้นที่เสมอ เมื่อพิจารณาแรงที่กระทํากับผิวโค(ง AB ที่
จมอยูในของไหลดังรูปที่ 2.19 ทิศทางของแรงดันยอย ๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องไปตามพื้น
ผิวที่โค(งและตั้งฉากกับพื้นที่เสมอ หลักในการวิเคราะหแรงดันที่กระทํากับพื้นที่ผิวโค(งนั้น จําเปนต(องหา
แรงประกอบในแนวราบ (FH) และแรงในแนวดิ่ง (FV) แล(วคอยหาแรงรวมจากแรงประกอบทั้งสองโดยการ
รวมแบบเวกเตอร

รูปที่ 2.19 แรงที่กระทํากับก(อนของไหลที่ถูกโอบล(อมด(วยพื้นผิวโค(ง AB

จากรูปที่ 2.19 หากมองพื้นที่ผิวโค(งในแนวราบจะเห็นภาพฉายดังรูปที่ 2.20 ดังนั้นหลักการคิด


หาแรงแนวราบสามารถกระทําได(แบบเดียวกับแรงที่กระทํากับผิวเรียบแนวตรง

รูปที่ 2.20 แรงแนวราบที่กระทํากับก(อนของไหลที่ถูกโอบล(อมด(วยพื้นผิวโค(ง AB


49

จากรูปที่ 2.20 สามารถหาแรงในแนวราบได(ดังสมการ

FH = γh c A (2.35)

เมื่อ FH คือ แรงแนวราบที่กระทํากับผิวโค(ง AB (N) hc คือ ความลึกของของไหลที่วัดจากผิว


y2
อิสระถึงจุดเซนทรอยดของพื้นที่รับแรง (m) จากรูปที่ 2.20 h c =y1 + และ A คือ พื้นที่รับแรงใน
2
แนวราบ (m2) จากรูปที่ 2.20 คือ พื้นที่ Adec สําหรับตําแหนงที่แรงแนวราบกระทําได(แก
Ic
h p = hc + (2.36)
Ahc

เมื่อ hp คือ ตํ าแหนงที่ แรงแนวราบที่ กระทํากั บผิ วโค( ง AB


โดยวัดจาดผิวอิสระลงมาในแนวดิ่ง (m) hc คือ ความลึกของของไหล
ที่วัดจากผิวอิสระถึงจุดเซนทรอยดของพื้นที่รับแรง (m) IC คื อ
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนหมุนที่ผานจุดศูนยถวงของพื้นที่ (m4)
A คือ พื้นที่รับแรงในแนวราบจากรูปคือพื้นที่ Adec (m2) ในทํานอง
เดียวกัน จากรูปที่ 2.20 หากมองพื้นที่ผิวโค(งในแนวดิ่งจะเห็นก(อน
ของไหลกดทั บ พื้ น ที่ ผิ ว โค( งดั งรู ป ที่ 2.21 ดั ง นั้ น หลั กการคิ ด หาแรง
แนวดิ่งสามารถกระทําได(โดยการหาน้ําหนักของไหลที่กดทับผิวโค(ง
AB
รูปที่ 2.21 การกดทับของก(อน
ของไหลในแนวดิ่ง
จากรูปที่ 2.21 สามารถหาแรงในแนวดิ่งได(ดังสมการ

FV = γ∀ (2.37)

เมื่อ FV คือ แรงแนวดิ่งที่กระทํากับผิวโค(ง AB (N) γ คือ น้ําหนักจําเพาะของของไหล (N/m3)


และ ∀ คือ ปริมาตรกดทับพื้นที่ผิวโค(ง AB (m3) จากรูป คือ ปริมาตร ABfdghij และตําแหนงแรงแนวดิ่ง
กระทํากับผิวโค(ง AB อยูตรงตําแหนงจุดเซนทรอยด (Centroid) ของปริมาตรกดทับพื้นที่ผิวโค(ง AB
50

ตัวอย2างที่ 2.5 ประตูน้ําโค(งบานหนึ่ง กว(าง 3 m มีรัศมีความ


โค(ง R=1.2 m วางตัวในลักษณะดังรูปที่ Ex2.5 จงหาขนาดและ
ตําแหนงของแรงในแนวราบ (FH) และแนวดิ่ง (FV) ที่น้ํากระทํา
กับประตูน้ํา และแรง P ที่น(อยที่สุดที่ยังทําให(ประตูน้ําปKดอยูได(
(ไมคิดน้ําหนักของบานประตู)

รูปที่ Ex2.5-1 ประตูบานโค(ง

วิธีทํา จากรูปสามารถหาแรงแนวราบโดยการมองภาพฉายประตูผิวโค(งจะได(ดังรูปที่ Ex2.5-2

รูปที่ EX2.5-2 ภาพฉายสําหรับการมองในแนวราบ

จากรูป สามารถหาแรงแนวราบที่กระทํากับพื้นที่ภาพฉายได(จากสมการ
FH = γh c A
 1.2 
FH =9,810×  2+  × ( 3×1.2 ) =91,821.6 N →
 2 
ตําแหนงของแรงแนวราบที่กระทํากับผิวโค(งประตูน้ําคือ
Ic
h p = hc +
Ahc
1
×3×1.23
h p =2.6+ 12 =2.65 m (วัดจากผิวน้ําลงมาในแนวดิ่ง)
(1.2×3) ×2.6
แรงแนวดิ่งที่กระทํากับประตูน้ําสามารถหาได(จากน้ําหนักของน้ําที่กดทับดังรูปที่ Ex2.5-3
51

รูปที่ Ex2.5-3 แรงกดทับในแนวดิ่ง

จากรูปที่ Ex2.5-3 พบวาน้ําหนักกดทับประตูน้ําสามารถหาได(จากน้ําหนัก W1 คือน้ําหนักที่เกิด


จากปริมาตรน้ํา bcdefghi และ W2 คือน้ําหนักที่เกิดจากปริมาตรน้ํา abchij โดยสามารถหาได(ดังนี้

FV1 =W1 =γ∀1 =9,810× ( 3×2×1.2 ) =70,632 N ↓


ตําแหนงของแรง FV1 ที่กระทํากับประตูน้ํา ab คือ ตําแหนงที่กระทําผาน
จุดเซนทรอยดของปริมาตร bcdefghi หรือหาได(จากจุดเซนทรอยของรูป
สี่เหลี่ยม cbed ซึ่งมีคาเทากับ 0.6 m วัดจากแนว cd ไปทางขวา

 π ×1.2 2 
FV2 =W2 =γ∀2 =9,810×   × 3=33,284.55 N ↓
 4 
ตําแหนงของแรง FV2 ที่กระทํากับประตูน้ํา ab คือ ตําแหนงที่กระทํา
ผานจุดเซนทรอยดของปริมาตร abchij หรือหาได(จากจุดเซนทรอยของ
4R 4×1.2
รูปเสี้ยววงกลม abc ซึ่งมีคาเทากับ = =0.51 m วัดจาก
3π 3×π
แนว ac ไปทางขวา
52

หาแรง P
สามารถเขียน Free Body Diagram

ทําการหาโมเมนต์รอบจุด a จะได้
∑M a =0

2 × P = 2.67 × FH + 0.6 × FV 1 + 0.51× FV 2

2.67×91,821.6+0.6×70,632+0.51×33,284.55
P= =152,259 N ← ตอบ
2
53

แรงลอยตัว (Buoyancy Force)


หากพิจารณาแรงดันที่เกิดขึ้นกับวัตถุ ABCD ที่จมอยูในของไหลดังรูปที่ 2.22 ในกรณีที่ไมมีการ
ไหล หรือวัตถุไมมีการเคลื่อนที่ ถ(ากําหนดให(แรงในแนวราบที่กระทํากับพื้นผิวด(าน DAB เทากับ FHL และ
แรงในแนวราบที่กระทํากับพื้นผิวด(าน DCB เทากับ FHR จะเห็นได(วา FHL คือแรงดันบนพื้นผิวเรียบ MN
และ FHR คือแรงดันบนพื้นผิวเรียบ OP ซึ่งมีคาเทากันแตมีทิศตรงกันข(าม จึงทําให(แรงทั้งสองหักล(างกัน
หมด

รูปที่ 2.22 แรงดันของของไหลที่กระทํากับวัตถุใดๆ

หากพิจารณาแรงในแนวดิ่งที่กระทํากับผิวด(านบน ADC คือแรง FV1 ซึ่งมีคาเทากับน้ําหนั ก


ปริมาตรของไหล ADCFE กดทับ (รูปที่ 2.23a) และหากพิจารณาแรงในแนวดิ่งที่กระทํากับผิวด(านบน
ABC คือแรง FV2 ซึ่งมีคาเทากับน้ําหนักปริมาตรของไหล ABCFE ดันขึ้น (รูปที่ 2.23b)

รูปที่ 2.23 แรงดันของของไหลที่กระทํากับวัตถุใดๆในแนวดิ่ง


54

ผลจากความแตกตางระหวางแรงดันด(านลางกับแรงดันด(านบนที่เกิดขึ้นกับวัตถุนี้ จะทําให(เกิด
แรงแนวดิ่งสุทธิซึ่งมีคาเทากับน้ําหนักปริมาตรของไหล ABCD มีทิศทางดันขึ้นดังรูปที่ 2.24 เรียกวา แรง
ลอยตัว (FB)

รูปที่ 2.24 แรงลอยตัว

ดังนั้นจากที่กลาวมาทั้งหมดจึงสามารถสรุปได(วา แรงลอยตัว จะเกิดขึ้นเมื่อมีสวนใดสวนหนึ่งของ


วัตถุจมอยูในของไหล ซึ่งแรงลอยตัวนี้จะมีทิศทางพุงขึ้นด(านบนเสมอ และจะมีขนาดเทากับน้ําหนักของ
ของไหลที่มีปริมาตรเทากับวัตถุสวนที่จม
55

ตัวอย2างที่ 2.7 จงหาคาความหนาแนนของวัตถุที่จมในของไหลในลักษณะดังรูป

วิธีทํา เนื่องจากวัตถุลอยอยูในสภาวะสมดุล ดังนั้น ∑ Fy = 0

W = FB Oil + FB W

∀ วัตถุ γ วัตถุ = ∀Oil γ Oil + ∀W γ W

= (∀Oil ( 0.8 ) + ∀W )γ W
γ วัตถุ (∀Oil ( 0.8) + ∀W )
=
γW ∀วัตถุ

(( 0.3 × 0.35 × 0.20)( 0.8) + ( 0.3 × 0.35 × 0.15) )


SGวัตถุ =
( 0.3 × 0.35 × 0.35)

SGวัตถุ = 0.886

ρวัตถุ = SGวัตถุ x ρW

= 0.886 x 1,000 = 886 kg/m3 ตอบ


56

เสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุในของไหล (Stability of Floating and Submerged Bodies)


เมื่อวัตถุที่จมในของไหลทั้งหมด (เชน เรือดําน้ํา บอลลูน) หรือจมบางสวน (เชน เรือ แพ) แรง
ลัพธที่กระทํากับวัตถุดังกลาวนั้นถูกเรียกวา แรงลอยตัว (Buoyant Force) ขนาดของแรงลอยตัวมีคา
เทากับน้ําหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่ด(วยวัตถุ และมีทิศทางขึ้นบนตั้งฉากกับผิวของเหลวนั้น ซึ่งเปนไป
ตามหลักการของ อารคีมีเดส ดังนั้น แรงที่จะต(องพิจารณาในขณะที่วัตถุจมในของเหลวทั้งหมดหรือจมใน
ของเหลวบางสวนคือแรงที่เกิดจากแรงโน(มถวงของโลก (น้ําหนักของวัตถุ) และแรงลอยตัว และพบวาแรง
ที่เกิดจากแรงโน(มถวงของโลกจะกระทําผานจุดศูนยถวงของวัตถุ (Center of Gravity) และแรงลอยตัวจะ
กระทําผานจุดศูนยกลางของการลอยตัว (Center of Buoyancy) โดยที่แรงลอยตัว (FB) มีขนาดเทากับ
น้ําหนักจําเพาะของของไหล (γ) คูณด(วยปริมาตรของวัตถุสวนที่จมอยูในของไหล (∀)

(a) Stability (b) Restoring moment (c) Overturning moment

รูปที่ 2.25 การมีและไมมีเสถียรภาพของการลอยตัวของวัตถุในของไหล

พิจารณารูปที่ 2.25 (a) พบวาแรง FG ที่เกิดจากแรงโน(มถวงของโลก (แรง FG กระทําผานจุด G


ซึ่งเปนจุดศูนยถวงของวัตถุ) และแรงลอยตัว FB (แรง FB กระทําผานจุด B ซึ่งเปนจุดศูนยกลางของแรง
ลอยตัว) มีขนาดเทากันและมีทิศทางตรงกันข(าม ทําให(เรือลอยนิ่งและมีความเสถียรภาพ (ผลรวมของ
โมเมนตที่เกิดจากแรงทั้งสองมีคาเทากับศูนย)
ในขณะที่รูป 2.23 (b) พบวาเรือถูกทําให(เอียงในทิศทางตามเข็มนาฬิกาสงผลให(ขนาดของแรง
ลอยตัวและจุดศูนยกลางของการลอยตัวเปลี่ยนไป (จาก FB เปน F′B) เนื่องจากปริมาตรจมน้ําของเรือ
เปลี่ยนไป ในขณะที่น้ําหนักของวัตถุและตําแหนงที่จุดศูนยถวงของวัตถุนั้นยังไมมีการเปลี่ยนแปลง (ใน
ความเปนจริงจุดศูนยถวงของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน(อย เชน ในกรณีที่เรือมีถังน้ําที่มีผิวอิสระอยู
ภายใน) ทําให(เกิดแรงคูควบ (Couple Force) สงผลให(เกิดโมเมนตต(านกลับ (Restoring Moment) ใน
ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ดังนั้น ในกรณีเชนนี้เรือจะยังคงมีความเสถียรภาพของการลอยตัวและกลับมาตั้ง
57

ตรงในลักษณะเหมือนตําแหนงในรูป 2.23 (a)


สวนในรูปที่ 2.23 (c) เรือถูกทําให(เอียงในทิศทางตามเข็มนาฬิกามากกวาในรูป 2.23 (b) สงผล
ให(ขนาดของแรงลอยตัวและจุดศูนยกลางของการลอยตัวเปลี่ยนไปทําให(เกิดแรงคูควบคล(ายกับรูป 2.23
(b) แตโมเมนตที่เกิดจากแรงคูควบกลายเปนโมเมนตเสริม (Overturning Moment) ในทิศทางตามเข็ม
นาฬิกา ดังนั้นในกรณีเชนนี้เรือจะไมมีเสถียรภาพของการลอยตัวและทําให(เรือเกิดการพลิกคว่ําในที่สุด
การที่จะทราบวาเรือ (วัตถุ) ลอยอยูในน้ํา (ของเหลว) นั้นมีเสถียรภาพหรือไมจะพิจารณาจาก
ตําแหนงของจุดศูนยเสถียร (Metacenter, จุด M) กับ จุดศูนยถวงของวัตถุ (จุด G) และระยะทาง
ระหวางจุด M กับ จุด G เรียกวาความสูงเมตราเซนตริก (Metacentric Height) หากเรือถูกทําให(เอียง
และสามารถพิสูจนได(วา จุด M อยูสูงกวาจุด G (ระยะ GM มีคามากกวาศูนย) จะทําให(เรือนั้นมี
เสถียรภาพและวัตถุนั้นจะกลับมาอยูในตําแหนงเดิม หากจุด M อยูทับกับจุด G (ระยะ GM มีคาเปนศูนย)
วัตถุนั้นจะมีความเสถียรเปนกลาง (Neutral Equilibrium) เรือจะไมพลิกคว่ําและไมกลับมาอยูใน
ตําแหนงเดิม และถ(าจุด M อยูต่ํากวาจุด G (ระยะ GM มีคาน(อยกวาศูนย) วัตถุนั้นจะไมมีเสถียรภาพและ
เกิดการพลิกคว่ําในที่สุด

การหาความสูงเมตราเซนตริกทางทฤษฎี

รูปที่ 2.26 ประกอบการหาความสูงเมตราเซนตริกของเรือที่ลอยอยูในน้ํา

พิจารณารูปตัดของเรือในรูปที่ 2.26 เมื่อเรือเอียงไปเปนมุม θ เล็ก ๆ ด(านตามเข็มนาฬิกา ทําให(มี


พื้นที่ ocd ของเรือทางด(านซ(ายลอยตัวสูงขึ้นเหนือน้ํา ในทางกลับกันทําให(พื้นที่ oab ของเรือทางด(านขวา
จมลงในน้ํา พื้นที่สามเหลี่ยมทั้งสองจะมีขนาดเทากันเนื่องจากเรือมีความสมมาตรและเกิดขึ้นตลอดแนว
ความยาวของเรือ ดังนั้นเมื่อพิจารณาเรือทั้งลําก็จะเห็นปริมาตรที่เกิดจากพื้นที่ ocd ลอยตัวสูงขึ้นเหนือ
58

น้ํา และปริมาตรของเรือที่เกิดจากพื้นที่ oab จมลงในน้ํา ดังนั้นแรงลอยตัวสวนที่หายไปเนื่องจากปริมาตร


ของเรือที่ลอยขึ้นเหนือน้ําจะถูกแทนที่ด(วยแรงลอยตัวเนื่องจากปริมาตรของเรือที่จมลงในน้ํา (พิจารณาได(
เฉพาะในกรณีเรือหรือวัตถุมีความสมมาตร) หากพิจารณาหาโมเมนตเนื่องจากแรงดังกลาวรอบจุด o ใน
แนวแกน z (แกนที่ตั้งฉากกับกระดาษตามความยาวของลําเรือ)โดยสมมติวาจุดศูนยกลางของแรงลอยตัว
กอนเรือเอียงอยูที่กึ่งกลางของหน(าตัดของเรือเฉพาะสวนที่จมน้ํา (ตําแหนงที่จุด B) และเมื่อเรือเอียงไป
เปนมุม θ จุดศูนยกลางของแรงลอยตัวจะเคลื่อนไปที่จุด B′ ดังนั้นพบวา โมเมนตที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
ปริมาตรสวนที่จม oab มีคาเทากับ โมเมนตของแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงลอยตัวซึ่งย(ายตําแหนงจากจุด
B ไป B′โดยสามารถเขียนเปนสมการคณิตศาสตรได(ดังนี้

M oab = FB × BB′ (2.38)

เมื่อ Moab คือ ขนาดของโมเมนตของแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงลอยตัวซึ่งย(ายตําแหนงจากจุด B


ไป B′ FBคือแรงลอยตัว BB′ คือ ผลตางของระยะจุดศูนยกลางของแรงลอยตัวกอนและหลังที่เรือเอียงไป
เปนมุม θ โมเมนต Moab มีคาเทากับผลรวมโมเมนตเล็ก ๆ (dMoab) ซึ่งเกิดจากแรง dF ที่ระยะ x ใด ๆ
เมื่อ dF = γd∀ d∀ = dydA และ dy = x tan θ ดังนั้น dF = γ × x tan θ × dA และ dM oab = dF × x
และสามารถหา dMoab ได(ดังนี้

dM oab = γ × x tan θ × dA × x (2.39)

ทําการหาปริพันธสมการ 2.39 จะได( Moab

∫∫ dM oab = ∫∫ γ × x 2 tan θdA

หรือ ∫∫ dM oab = γ tan θ ∫∫ x 2 dA

และ ∫∫ x 2 dA มีคาเทากับโมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน Z ( I Z ) เพราะนั้น M oab = γ tan θ × I z


และนําคาไปแทนในสมการ 2.38 จะได(

γ tan θ × I z = FB × BB ′ (2.40)

จากรูป 2.26 ระยะ BB′ มีคาเทากับ BM tan θ และ FB คือ แรงลอยตัวมีขนาดเทากับ γ × ∀ (γ คือ
น้ําหนักจําเพาะของของไหลและ ∀คือ ปริมาตรของวัตถุสวนที่จมอยูในของไหล) สมการที่ 2.34 สามารถ
เขียนได(ใหมดังนี้
59

(
γ tan θ × I z = (γ × ∀ )× BM tan θ ) (2.41)
Iz
เมื่อ BM =

โดยที่ BM คือ รัศมีเมตาเซนตริก (Metacentric Radius)

จากรูปที่ 2.26 สามารถหาระยะความสูงเมตราเซนตริก GM ได(จากที่ระยะ BM ลบด(วยระยะ


BG และเขียนเปนสมการคณิตศาสตรได(เปน

GM = BM − BG (2.41)
IZ
หรือ GM = − BG (2.42)

เมื่อ GM คือระยะความสูงเมตราเซนตริกจากทฤษฎี (m) IZ คือโมเมนตอินเนอรเชียรของพื้นที่


รูปตัดเรือตามความยาวของลําเรือ (m4) ∀ คือ ปริมาตรของเรือเฉพาะในสวนที่จมอยูใต(น้ํา (m3) BM
คือระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางของแรงลอยตัวไปยังจุดเมตรา (m) BG คือระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางของ
แรงลอยตัวไปยังจุดศูนยถวงของเรือ (m)
60

ตัวอย2างที่ 2.8 ทอนไม(ขนาด กว(าง 30 cm ยาว 60 cm และสูง 30 cm น้ําหนัก 318 N จงตรวจสอบ


เสถียรภาพของทอนไม( เมื่อลอยอยูในน้ํา

วิธีทํา วัตถุอยูในสภาวะสมดุล ดังนั้นผลรวมของแรงในแนวดิ่งจะเทากับ 0 ดังนั้นจะได(วา


W = FB

= ∀γ W

318 = ( 0.3 × 0.6 × d ) γ W

d = 0.18 m
0.3
จุดศูนยถวงของวัตถุ (G) อยูสูง = 0.15 m
2
0.18
จุดศูนยกลางแรงลอยตัว (GB) อยูสูง = 0.09 m
2
ดังนั้น CG = 0.15 – 0.09 = 0.06 m

ปริมาตรสวนที่จม ∀ = ( 0.3 × 0.6 × 0.18) = 0.0324 m3

เนื่องจากวัตถุสามารถเอียงได(ทั้งรอบแกน Y และแกน X ดังนั้นจึงต(องตรวจสอบทั้งสองแกน


I
จาก MB = จะเห็นได(วา MB จะขึ้นอยูกับ I ดังนั้นการที่วัตุพลิก จะเกิดขึ้นรอบแกนที่มีคา

I น(อยกวา

IX =
(0.3 × 0.63 )
= 0.0054 m 4 IY =
(0.33 × 0.6 )
= 0.00135 m 4
12 12
0.00135
แสดงวาวัตถุจะเริ่มพลิกรอบแกน Y กอน ∴ MB = = 0.042 m
0.0324

จาก MG = MB − GB = 0.042 − 0.09 = −0.048 m

GM ที่ได(มีคาเปน ลบ (-) ดังนั้นวัตถุจึงไมมีเสถียรภาพ ตอบ


61

การไหลวนแบบบังคับ (Forced Vortex)

ของเหลวตางๆ ที่อยูนิ่งกับที่จะมีผิวอิสระ (Free Surface) เรียบ


ในแนวราบ (Horizontal Plane) และมีการกระจายตัวของความดันตาม
สถิตยศาสตรของของไหล (Hydrostatics) เสมอ ดังรู ปที่ 2.27 เมื่ อ
ของเหลวนั้ น ได( รั บ การกระตุ( น จากภายนอก ส ง ผลให( เ กิ ด อั ต ราเร ง
(Acceleration) ไมวาในแนวราบ แนวดิ่ง แนวเอียง หรือแนวรัศมีเข(าสู
ศู น ย ก ลางก็ ต าม จะมี ผ ลทํ า ให( ลั ก ษณะการผิ ว อิ ส ระ และ/หรื อ การ
กระจายตัวของความดันเปลี่ยนแปลงไป ดังรูปที่ 2.28
รูปที่ 2.27 ของเหลวอยู
นิ่งกับที่

รูปที่ 2.28 ของเหลวเมื่อมีอัตราเรงในลักษณะตางๆ

ของเหลวดังรูป 2.28a ได(รับอัตราเรงในแนวดิ่ง az ถึงแม(วาผิวอิสระจะไมเปลี่ยนแปลงไปจาก


กรณีอยูนิ่งกับที่ก็ตาม แตการกระจายของความดันจะมีการเปลี่ยนแปลงของเหลว ดังรูป 2.28b ซึ่งได(รับ
อัตราเรงในแนวราบ ax มีผลทําให(ผิวอิสระเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นได(ชัด สําหรับของเหลวดังรูป
2.28c ซึ่งได(รับอัตราเรงเชิงมุม ar มีผลทําให(ผิวอิสระเปลี่ยนแปลงไปเปน Vertical Surface of
Revolution หรือเกิดลักษณะการไหลวนแบบบังคับ (Forced Vortex) ซึ่งหมายถึง การที่ของเหลวไหล
วนรอบแกนหมุนในแนวดิ่ง โดยมีแรงบังคับให(การไหลวนนั้นสม่ําเสมออยูตลอดเวลา ทําให(ผิวอิสระของ
ของไหลมีลักษณะเปนรูปพาราโบลา ซึ่งในการไหลวนแบบบังคับนี้ อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนที่ด(วย
ความเร็วเชิงมุมเดียวกัน ในขณะที่ความเร็วเชิงเส(นจะมีคามากขึ้นตามระยะหางจากจุดศูนยกลางแกนหมุน
62

การกระจายของความดัน

รูปที่ 3 รูปตัดของการไหลวนแบบบังคับ

จากรูปที่ 3a แสดงการไหลในแนวราบ (Top View) ณ ระนาบของจุดต่ําสุดของผิวอิสระ (จุด


ศูนยกลางแกนหมุน) ของการไหลวนแบบบังคับ ที่ Streamline 1 และ Streamline 2 เมื่อพิจารณา
ตามกฎของที่ 2 ของนิวตันจะพบวา
2
 dV 
2
ρ ⋅ dA ⋅ dr ⋅  Vθ + θ 
Fc =
mVθ
=  2  (2.43)
r  dr 
r + 
 2

ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาจากความสัมพันธระหวางความดันและแรงกระทําตอพื้นที่ dA
ระหวาง Streamline 1 และ Streamlin 2 เราสามารถแสดงแรงลัพธได(ดังนี้
63

Fc = (p + dp)dA - pdA = dp ⋅ dA (2.44)

เมื่อรวมสมการที่ 1 และ 2 เข(าด(วยกัน จะได(


2
 dV 
ρ ⋅ dr ⋅  Vθ + θ 
dp =  2 
(2.45)
 dr 
r + 
 2
ในกรณีที่ V และ r มีคามากกวา dV และ dr มากๆ สมการที่ 2.45 สามารถลดรูปได(เปน

ρ ⋅ Vθ2
dp = ⋅ dr (2.46)
r

เนื่องจาก Vθ = ω ⋅ r ดังนั้นเมื่อแทนคาลงในสมการที่ 2.46 และทําการปริพันธตลอดสมการ


โดยจํากัดขอบเขตระหวางจุดต่ําสุดของผิวน้ํา (จุดศูนยกลางแกนหมุน) กับจุดที่ระยะ r ใดๆ จะได(
p r

p0
dp = ∫ ρ ⋅ ω 2 ⋅ r dr
0

ρ ⋅ ω2 ⋅ r 2
p − p0 = (2.47)
2

จะสังเกตได(วา p0 คือความดันที่ผิวอิสระ ณ ตําแหนงจุดศูนยกลางแกนหมุนซึ่งมีคาเทากับความ


ดันบรรยากาศ และถ(าความดันบรรยากาศเปนระดับความดันเกจศูนย (P0 = 0) และหารสมการตลอด
ด(วยคา γ เราจะสามารถแสดงหัวพลังงานความดัน (Pressure Head) ได(ดังสมการที่ 2.48
p ω r
2 2

= (2.48)
γ 2g

การกระจายของพลังงานรวม
จากรูปที่ 3a เมื่อพิจารณาพลังงานรวมของ Streamline 1 และ Streamline 2 พบวา
p Vθ2
H=z+ + (2.49)
γ 2g
p + dp (Vθ + dVθ ) 2
H + dH = z + + (2.50)
γ 2g
ดังนั้นเมื่อนําสมการที่ 2.49 ลบออกจากสมการ 2.50 ผลตางของพลังงานรวมทั้งสอง คือ

dp dVθ2 Vθ ⋅ dVθ
dH = + +
γ 2g g
64

เนื่องจากคา dVθ มีคาน(อยมาก ดังนั้น dVθ2 จึงมีคาน(อยมากจนไมต(องนํามาพิจารณาในการ


คําวณและเมื่อนํา dr หารตลอดสมการ จะได(

dH Vθ2 Vθ dVθ Vθ  Vθ dVθ 


= + =  +  (2.51)
dr gr gr dr g  r dr 

เมื่อแทนคา dp จากสมการที่ 2.46 ลงในสมการที่ 2.51 จะได(

dH Vθ2 Vθ dVθ Vθ  Vθ dVθ 


= + =  + 
dr gr g dr g  r dr 

dVθ
เนื่องจาก Vθ = ω ⋅ r และ =ω ดังนั้น
dr

dH 2ω 2 r
=
dr g

2ω2 r
หรือ dH=
g

เมื่อทําการปริพันธตลอดสมการ โดยจํากัดขอบเขตระหวางจุดต่ําสุดของผิวน้ํา (จุดศูนยกลางแกน


หมุน) กับจุดที่ระยะ r ใดๆ จะได(
H 2ω 2 r

0
dH =
g ∫ r ⋅dr
0

ω2 r 2
H= (2.52)
g
65

รูปร2างของผิวอิสระ
จากรูปที่ 3b เมื่อพิจารณาที่จุด C ซึ่งอยูหางจากจุดต่ําสุดของสวนโค(งในแนวราบเทากับ r บนผิว
อิสระ เราสามารถเขียนสมการ Bernoulli เพื่อแสดงคาพลังงานที่จุด C ได(ดังนี้

pC ω2r 2
H=z+ + (2.53)
γ 2g

เนื่องจากจุด C มีความดันเทากันความดันบรรยากาศ จึงถือวา pC = 0 และถ(าแทนคาสมการที่ 9


ลงใน 10 จะได( สมการของผิวอิสระ ซึ่งสามารถเขียนได(เปน

ω2r 2
z= (2.54)
2g

จากสมการที่ 2.54 จะสังเกตได(วา รูปตัดผิวอิสระของการไหลวนบังคับ มีลักษณะเปนสวนโค(ง


พาราโบลา ซึ่งมีจุดยอดที่จุดต่ําสุดของสวนโค(ง และจากสมการที่ 2.53 เมื่อพิจารณาให(แนวระนาบที่ผาน
จุดต่ําสุดของสวนโค(งเปนระดับอ(างอิง (Datum) ที่ระยะ r ใดๆ คาพลังงานรวม (H) จะมีคาเปนสองเทา
ของระดับผิวอิสระ z
66

แบบฝ_กหัดท.ายบท

1. ที่ความลึก 3 m จากผิวของของเหลวมีความดันเปน 12 N/cm2 จงหาคาความหนาแนนและ


ความถวงจําเพาะของของเหลว

2. ถ(าความดันที่จุดหนึ่งในมหาสมุทรเปน 120 N/cm2 จงหาความดันที่ต่ํากวาจุดนี้ 10 m กําหนด


ความหนาแนนของน้ําทะเลเทากับ 1100 kg/m3

3. ภาชนะใบหนึ่งบรรจุคารบอนเตตระคลอไรดซึ่งเปนของเหลวใส S.G. 1.59 สูง 2 m อยูสวน


ตอนบนเปนน้ําสูง 1 m จงหาความดันที่ก(นภาชนะแบบเกจและสัมบูรณ (ให( g = 10 m/s2)

4. เกจอันหนึ่งวัดความดันเปนสุญญากาศได( 30 cm-Hg เมื่อบารอมิเตอรอานได( 1.013 x 105


N/m2 จงหาความดันแบบสัมบูรณ (Absolute Pressure) ของเกจดังกลาว

5. เมื่อใช(แอนนิรอยดบารอมิเตอรวัดความดันบรรยากาศได( 10.13 N/cm2 และใช(เกจวัดความดัน


ในถังในบริเวณนั้นได( 14.43 N/cm2 จงหาความดันสัมบูรณภายในถัง

6. บารอมิเตอรอานคาความดันบรรยากาศได( 76 cm-Hg จงหา Absolute Pressure ของความดัน


ณ ที่หนึ่งซึ่งมีคาของความดันเปนสุญญากาศเทากับ 36 cm-Hg

7. เรือเดินทะเลยาว 200 กว(าง 25 m แทนที่น้ํา 50 x 106 N กําหนดโมเมนตของความเฉื่อยของ


พื้นที่ผิวระดับน้ํารอบแกนผานหัวเรือและท(ายเรือเปน 60% ของพื้นที่สี่เหลี่ยมที่ล(อมรอบ และ
ตําแหนงจุดศูนยกลางของแรงพยุงอยูต่ํากวาระดับผิวน้ํา 2.5 m จงหาตําแหนงของ Meta-
center
8. ในบรรยากาศที่ระดับความสูง 2500 m เหนือระดับน้ําทะเลนั้นอากาศมีความดันสัมบูรณและ
ความหนาแนนเทาใด กําหนดให(ที่ระดับน้ําทะเลนั้นอากาศมีความดัน p0 = 101.33 kPa (abs)
และความหนาแนน ρ = 1.225 kg/m3 และสมมติวาอากาศในบรรยากาศมีอุณหภูมิคงตัว
9. กําหนดให(บรรยากาศมีอุณหภูมิคงตัว (isothermal atmosphere) ที่ 20°C อากาศที่ระดับความ
สูงหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับอีกระดับความสูงหนึ่งพบวาความหนาแนนของบรรยากาศลดลง 20%
จงคํานวณหาระดับความสูงแตกตางระหวาง 2 ตําแหนงนี้
67

10. น้ําทะเลที่ระดับความลึก 2000 m จงหาความดันสัมบูรณภายใต(เงื่อนไขดังนี้


a. น้ําทะเลเปนของไหลยุบตัวไมได(
b. น้ําทะเลเปนของไหลยุบตัวได(ซึ่งกําหนดให(ที่ระดับผิวน้ําทะเลมีความหนาแนน 1,024
kg/m3 และมีคาโมดุลัสหยืดหยุน K = 2.07 x 109 N/m2
11. เขื่อนกั้นน้ํามีน้ําด(านเหนือเขื่อนสูง 10 m และท(ายเขื่อนมีน้ําสูง 8 m แนวสันเขื่อนกว(างทั้งสิ้น
20 m จงคํานวณหา
a. แรงดันลัพธของน้ําที่กระทําตอเขื่อนในแนวระดับ
b. ตําแหนงแรงดันน้ําด(านเหนือเขื่อนและท(ายเขื่อนนั้นอยูลึกจากระดับผิวอิสระเทาใด
12. เรือในแมน้ําเจ(าพระยาบรรทุกทรายมวล 2,000 metric-ton ตัวเรือเปนรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก
ยาว 20 m กว(าง 10 m สูง 20 m และมีมวล 500 ton
a. ขณะบรรทุกทรายเรือจะมีระยะกินน้ําลึกเทาใด
b. ขณะเรือไมได(บรรทุกทรายจะต(องเติมน้ําเข(าภายในเรือเทาใดเพื่อให(ตัวเรือกินน้ําลึก 10
m (ทั้งนี้ เพื่อทําให(เรือมีเสถียรภาพในการลอยตัวในน้ํา)

13. โปöะรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกว(าง 2.5 m ยาว 5 m และมีมวล 10 ton จะต(องออกแบบให(โปöะมีความ


สูงเทาใดจึงทําให(สามารถลอยอยูในน้ําได(ในสภาวะของการลอยตัวแบบเสถียร

14. โปöะรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกว(าง 4 m ยาว 6 m และสูง 4 m กินน้ําลึก 1.5 m จงคํานวณหา


เสถียรภาพของการลอยตัวของโปöะ ถ(าหากต(องการให(โปöะเข(าสูการลอยตัวแบบเสถียร โปöะนี้
จะต(องโคลงตัวเอียงเปนมุมไมเกินเทาใด
15. จงหาคาความดันที่จุด A ในทอน้ําไหล
ด(วยมานอมิเตอรดังรูป ถ(าเกจความดัน
เกจที่จุด B มีคาเทากับ 104 kPa
68

16. จากรูป จงหาผลตางของความดันระหวางจุด A กับจุด B

17. จากรู ปประตูน้ํ ารู ปสี่ เหลี่ย มติ ดตั้ งไว(ใ ต(


น้ําดังรูป ถูกออกแบบให(มีระบบการเปKด
ปK ด แบบอั ต โนมั ติ ถ( า ต( อ งการควบคุ ม
ระดับน้ําสูงสุดในอางเก็บน้ําไว(ที่ 4 m
วัดจากจุดหมุน (hinge) ขึ้นไปในแนวดิ่ง
จะต(องออกแบบให(ประตูน้ําหนักเทาใด

18. จงหาแรงในแนวราบพร(อมทิศทางและแรงในแนวดิ่งพร(อมทิศทางที่กระทํากับผนัง abc เมื่อผนัง


กว(าง 1.5 m
69

19. ทุนลูกบาศกที่มีขนาดด(านละ 2.2 m เมื่อนําไปลอยในน้ําพบวาทุนจมลงครึ่งหนึ่งพอดี ถ(าต(องการ


ให(ทุนนี้จมลงใต(ผิวน้ําพอดี จะต(องนําตุ(มน้ําหนักที่มีน้ําหนักเทาใดมาผูกไว(กับทุนลูกบาศก (เมื่อ
ตุ(มน้ําหนักมี specific gravity = 10.4)

20. บานประตู AB ในรูรูป กว(าง 4 m จะเปKดให(น้ําสะอาดไหลออกได(ถ(าระดับน้ําทะเลลดลง จุดหมุน


A อยูสูงกวาระดับผิวน้ําสะอาด 2 m จงหาความลึก (h) ของน้ําทะเลที่ทําให(ประตูเปKด (ความ
ถวงจําเพาะของน้ําทะเลเทากับ 1.03 และไมคิดน้ําหนักบานประตู)

หากของไหลด(านซ(ายมือเปลี่ยนจากน้ําสะอาดเปนน้ําเสียที่มีความหนาแนนมากกวาน้ําสะอาดแต
น(อยกวาน้ําทะเลนิสิตคิดวาคาระดับ h ที่คํานวณได(จะมีคามากกวา เทากับ หรือน(อยกวาคาที่คํานวณ
ได(จากข(างต(น
70

21. ถังใสน้ํามันรูปรางดังรูป จงหาขนาดและ


ตําแหนงของแรงดันที่กระทํากับผิวโค(ง AB

22. ต(องการออกแบบทุ น ลอยน้ํ า เพื่ อใช( เ ป น


ส ว นหนึ่ ง ของสั ญ ญาณเตื อนภั ย ในทะเลดั งรู ป จง
ออกแบบระยะความสูง L ของทุนที่มากที่สุดที่จะ
ทํ าให( ทุน ลอยอยู ใ นน้ํ า ทะเลได( อย า งมี เ สถี ย รภาพ
หากทุนมีความหนาแนน (Density) เทากับ 750
kg/m3 และน้ํ า ทะเลมี ค วามถ ว งจํ า เพาะเท า กั บ
1.03

23. จากรูป ประตู น้ํ ารู ป สี่ เหลี่ ยมติ ด ตั้งไว(ใ ต( น้ํ า
จงหาขนาดและทิศทางของแรง P ที่น(อย
ที่สุด ที่ทําให(ประตูน้ําเปKดออกพอดีในกรณี
ดังตอไปนี้

 เมื่อไมคิดน้ําหนักของบานประตู
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (a)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (b) ตรงจุดหมุน (hinge)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (c) ตรงกึ่งกลางประตูน้ํา
 เมื่อน้ําหนักของบานประตูมีคาเทากับ 250 kN
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (a)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (b) ตรงจุดหมุน (hinge)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (c) ตรงกึ่งกลางประตูน้ํา
71

24. ประตู น้ํ า รู ป สี่ เ หลี่ ย มติ ด ตั้ งไว( ใ ต(


น้ําดังรูปจงหาขนาดและทิศทาง
ของแรง P ที่น(อยที่สุด ที่ทําให(
ประตูน้ําเปKดออกพอดี ในกรณี
ดังตอไปนี้

 เมื่อไมคิดน้ําหนักของบาน
ประตู
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (a)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (b) ตรงจุดหมุน (hinge)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (c) ตรงกึ่งกลางประตูน้ํา
 เมื่อน้ําหนักของบานประตูมีคาเทากับ 250 kN
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (a)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (b) ตรงจุดหมุน (hinge)
• เมื่อระดับน้ําอยูที่ตําแหนง (c) ตรงกึ่งกลางประตูน้ํา

25. จากรูปประตู AOB กั้นระหวางอากาศ กับของไหล


ถ(าของไหลทั้งสองสวนคือน้ํา ประตู AOB มีความยาว 4.0 m
จุด O คือจุดหมุนของประตู จงหาขนาดของแรง F ที่กระทําที่
จุด A ซึ่งทําให(ประตูสามารถคงสภาพอยูได(โดยไมเปKดเข(าหรือ
ออก

26. จากรูปจงหาแรง P น(อยที่สุด ที่ทําให(ประตูขนาด


ความกว(าง 4 m
72

27. ทรงกระบอกตันวางนอนอยูในตําแหนงดังรูปมีรัศมี 1.5


m กว(าง 3 m จงหา

a. แรงดันและทิศทางที่กระทําในแนวราบบนโค(ง
ABC
b. แรงดันและทิศทางที่กระทําในแนวดิ่งบนโค(ง
ABC

28. แทงเหล็กขนาด 1.5 x 1.5 x 0.75 m3 มี


น้ําหนัก 30 kN วางแนบสนิทอยูบนพื้นก(นแทงค จงหา
ขนาดของแรง T เริ่มต(นที่ทําให(แทงเหล็กลอยจากพื้น
แทงค

29. จากรูป หลอดมาโนมิเตอรเชื่อมตอกับถังบรรจุน้ํา สวนอีกด(านของถังเชื่อมตอกับมาตรวัดความ


ดันสัมบูรณ P ในครั้งแรก ภายในหลอดมาโนมิเตอรบรรจุของไหล B ที่มีความถวงจําเพาะ 0.8
ดังรูป
a. อยากทราบวามาตรวัดความดันควรอานคาได(เทาไร ตอมาได(เปลี่ยนจากของไหล B เปน
ของไหล A จึงทําให(ระดับของไหลในหลอดมาโนมิเตอรเปลี่ยนแปลงไปจนมีลักษณะดัง
รูป
b. โดยที่ความดันในถังน้ํายังเทาเดิม จงหาคาความถวงจําเพาะของของไหล A
73

30. ถังบรรจุของไหลสามชนิดคือ A B และ C เชื่อมตอกับ manometer ลักษณะดังรูป ความดัน


บรรยากาศภายนอกถังมีคาเทากับ 1.01x105 Pa มาตรวัดความดัน P1 และ P2 เปนมาตรวัด
ความดั
มดันสัมบูรณ สวนมาตรวัด P3 เปนมาตรวัด
ความดันเกจ เมื่อนําของไหล A และ C ไป
ทดสอบคุณสมบัติพบวา ของไหล A ปริมาตร
0.4 ลิตร จะมีมวล 00.34 kg และของไหล C
ปริมาตร 0.3 ลิตร จะมีมวล 0.345 kg ถ(ามาตร
วัด P3 อานคาได( 00.1 bar จงหาคา Specific
weight ของของไหล C และคาที่อานได(จาก
มาตรวัด P1 และ P2

31. ประตูน้ํา AB ถูกออกแบบให(เริ่มเปKดน้ําเมื่อระดับน้ําอยูสูงกวาจุด A 8 m ดังรูป จงหาน้ําหนัก (W)


ของประตู AB
74

32. จากรู ป นํ า ท อนไม( ข นาด


0.4x0.4x1.2 m3 รวม 4
ทอน มาประกอบเปนแพ
ลักษณะดังรูป โดยแตละ
ทอนหนัก 500 N เมื่อนําไปลอยในน้ําจะมีเสถียรภาพหรือไม

33. ระบบปhองกันน้ําทะเลหนุนดังภาพ จง
หาระดับน้ําในแมน้ําเหนือจุดหมุน A (h) ที่น(อย
ที่สุดที่จะทําให(ประตูน้ําเปKดออก (ไมคิดน้ําหนัก
ของประตูน้ํา) กําหนดประตูกว(าง 2 m

34. ทุนลูกหนึ่งมีขนาดรัศมีเทากับ 1.2 m ถูกยึดด(วยสาย


เคเบิ้ ล ให( จ มอยู ใ นน้ํ า ทะเลดั ง ภาพ หากทุ น มี ค วาม
ถวงจําเพาะเทากับ 0.82 จงหาแรงดึงของสายเคเบิ้ล
(ไมคิดน้ําหนักของสายเคเบิ้ล, ปริมาตรของทรงกลม =
πD3/6)

35. ผนังเอียงของแท็งคมีจุด A เปนจุดหมุน แท็งคมีความกว(าง 2.5 m ด(านในมีน้ํามัน SG เทากับ


0.85 จงหา

 แรงดันของน้ํามัน
บนระนาบ AB
 จุดกระทําของแรง
ดังกลาวโดยวัด
จากจุด A
 ขนาดของแรง P
ที่ทําให(ประตูอยูในสภาวะสมดุล
75

36. แท ง คอนกรี ต รู ป ทรงลู กบาศก ย าวด( า นละ 0.3 m มี ความถ ว งจํ า เพาะ 2.4 จงหาขนาดและ
ทิศทางของแรงที่จะทําให(คอนกรีตอยูในสภาวะสมดุลและจมในของไหลดังตอไปนี้

a. ปรอท
b. น้ํา
37. จากรูป หากคาความถวงจําเพาะของของไหล
A , B และ D มีคาเทากับ 0.9 , 1.3 และ 2.0
ตามลําดับ จงหาคาความหนาแนนของของ
ไหล C

38. ถังบรรจุของไหลสามชนิดคือ A B และ C เชื่อมตอกับ manometer ลักษณะดังรูป ความดัน


บรรยากาศมีคาเทากับ 1.01x105 Pa มาตรวัดความดัน P1 เปนมาตรวัดความดันสัมบูรณ สวน
มาตรวัด P2 เปนมาตรวัดความดันเกจ จงหาความดันที่
อานคาได(จากมาตรวัด P1 และคาความสูงของระดับ
ของไหลในหลอด manometer หลอดที่ 1 (h1) ถ(า
ผลตางของระดับของไหลใน manometer ทั้งสอง
(∆h) มีคาเทากับ 15cm จงหาคาความถวงจําเพาะ
ของของไหล C และคาความดันที่อานได(จากมาตรวัด P2
76

บทที่ 3
สมการควบคุมของการไหล (Governing Equation of Fluid Motion)

การศึ กษาที่ ผ า นมาได( ก ล า วถึ งของไหลที่ ห ยุ ด นิ่ งหรื อ ของไหลที่ ไ ม มี การไหล อย า งไรก็ ต ามหาก
พิจารณาอนุภาคของของไหลที่กําลังเคลื่อนที่ในสนามของการไหล ความดัน ความเร็วของอนุภาค รวมถึง
แรงตางๆ ที่เกิดขึ้น จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ไปตามตําแหนง และเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อ
หาความสัมพันธของตัวแปรตางๆ เราสามารถวิเคราะหโดยอาศัยหลักการจากสมการควบคุม (Governing
Equation) สมการควบคุมที่ถูกสร(างขึ้นเพื่อศึกษากลศาสตรของของไหล ได(ถูกสร(างขึ้นด(วยกฎตาง ๆ
ด(วยกันดังนี้คือ กฎอนุรักษมวลสาร (Conservation of Mass) กฎอนุรักษโมเมนตัม (Conservation of
Momentum) และกฎอนุรักษพลังงาน (Conservation of Energy)
การศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของของไหลจําเปนต(องเข(าใจถึงจลศาสตรของไหล ซึ่งก็คือการศึกษา
การเคลื่อนที่ของไหลโดยไมพิจารณาถึงแรงกระทําที่ทําให(เกิดการเคลื่อนที่ ซึ่งจําเปนต(องทราบนิยาม
คําศัพท และลักษณะการไหลซึ่งดังนี้
 เส(นสายธารการไหล (Stream Line) หมายถึงเส(นที่ลากสัมผัสกับความเร็วของการไหลทุกจุดตาม
การเคลื่อนที่ขณะใดขณะหนึ่งของกลุมอนุภาคของไหล เนื่องจากไมมีความเร็วสวนที่ตั้งฉากกับ
เส(นสายธารไหลจึงไมมีการไหลข(า มเส( นสายธารการไหล สวนลํ าการไหล (Stream Tube)
หมายถึงกลุมเส(นสายธารการไหลที่รวมกันมีลักษณะคล(ายทอ

Stream Line Stream Tube

รูปที่ 3.1 เส(นสายธารการไหลและลําการไหล


 เส(นทางการไหล (Path Line) หมายถึงแนวเส(นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลเพียงอนุภาค
เดียวในหนึ่งชวงเวลา เส(นใยการไหล (Streak Line) หมายถึงภาพของกลุมอนุภาคของไหลที่
กําลังเคลื่ อนที่ในสนามการไหล เชน เมื่อฉีดสี ลงในสนามการไหล เราจะเห็นภาพของเส(นสี ที่
เคลื่อนที่ไปในสนามการไหล หรือภาพของควันที่ลอยในอากาศ
77

 ของไหลจริงและของไหลสมมติ (Real Fluid and Ideal Fluid) การไหลของของไหลจริง (Real


Fluid) จะพิจารณาผลกระทบจากความหนืด ซึ่งทําให(เกิดความเค(นเฉือนขึ้นระหวางอนุภาคของ
ของไหลจนทําให(อนุภาคของไหลมีความเร็วแตกตางกันดังรูปที่ 3.2a สวนการไหลของของไหล
สมมติ (Ideal Fluid) เปนการไหลที่สมมุติให(ของไหลไมมีผลกระทบเนื่องจากความหนืด ดังนั้นใน
สนามการไหลจะไมเกิดความเค(นเฉือนระหวางอนุภาคของของไหล และความเร็วของอนุภาคของ
ไหลจะเทากันตลอดการไหล ดังรูปที่ 3.2b

รูปที่ 3.2 ของไหลจริงและของไหลสมมติ


 ของไหลที่อัดตัวได(กับอัดตัวไมได( (Compressible Fluid and Incompressible Fluid) ของ
ไหลอัดตัวได( (รูปที่ 3.3a) คือของไหลที่คุณสมบัติของไหลเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของความดัน
ในทางตรงกั น ข( า มของไหลอั ด ตั ว ไม ไ ด( (รู ป ที่ 3.3a) คื อ ของไหลที่ คุ ณ สมบั ติ ข องไหลไม
เปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของความดัน โดยสวนมากของไหลมีสถานะเปนของเหลว จะถือวาของ
ไหลนั้นเปน ของไหลที่อัดตัวไมได(

a) b)
รูปที่ 3.3 ของไหลที่อัดตัวได(กับอัดตัวไมได(
78

 การไหลแบบคงตัวและไมคงตัว (Steady Flow and Unsteady Slow) เมื่อพิจารณาที่จุดใดจุด


หนึ่ งในสนามการไหล หากในช ว งเวลาที่ วิ เ คราะห ค าของตัว แปรต า งๆ ที่ เ กี่ย วข( อง ไมมีการ
เปลี่ยนแปลง จะถือวาการไหลนั้นไมแปรเปลี่ยนตามเวลาเรียกวา Steady Flow ในทางตรงกัน
ข(าม หากในชวงเวลาที่วิเคราะห คาของตัวแปรตางๆ ที่เกี่ยวข(องมีการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นได(
ชัด จะถือวา การไหลนั้นแปรเปลี่ยนตามเวลาเรียกวา Unsteady Flow
 การไหลแบบราบเรียบและการไหลแบบปMîนปñวน (Laminar Flow and Turbulent Flow) หาก
พิ จ ารณาจากเส( น ทางการเคลื่ อนตั ว ของอนุ ภ าคของไหลในสนามการไหล เราสามารถแบ ง
ประเภทการไหลได(เปน 2 ลักษณะคือการไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) อนุภาคของของ
ไหลจะเคลื่อนที่อยางเปนระเบียบ ไปตามเส(นทางที่แนนอน (เคลื่อนที่ไปตาม Stream Line)
สภาพการไหลไมมีความปMîนปñวน การไหลประเภทนี้มักจะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความ
หนืดสูง หรือการไหลที่มีความเร็วต่ํามากๆ (รูปที่ 3.4a) สวนการไหลแบบปMîนปñวน (Turbulent
Flow) อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่อยางไมเปนระเบียบ อนุภาคของของไหลมีเส(นทางการ
เคลื่อนที่ไมแนนอน สภาพการไหลในสนามการไหลมีความปMîนปñวน การไหลประเภทนี้มักเกิดกับ
ของไหลที่มีความหนืดต่ํา หรือการไหลที่มีความเร็วสูง (รูปที่ 3.4b)

รูปที่ 3.4 การไหลแบบราบเรียบและการไหลแบบปMîนปñวน

 การไหลแบบหมุนและการไหลแบบไมหมุน (Rotational Flow and Irrotational Flow ) หาก


พิจารณาจากลักษณะของการเคลื่อนตัวของอนุภาคของของไหล สามารถแบงได( 2 ลักษณะคือ
การไหลแบบหมุน (Rotational Flow) คือการไหลที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไปพร(อมกับ
การหมุน การไหลแบบไมหมุน (Irrotational Flow) คือการไหลที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไป
แตไมมีการหมุน
79

สมการควบคุม (Governing Equation)


การสร(างสมการควบคุมสําหรับวิเคราะหการไหลสามารถดําเนินการได( 2 แบบคือ การติดตาม
อนุภาคของไหลที่เ ราสนใจ และ การเฝh าดูการไหลจากกรอบที่กํา หนดไว( ซึ่ งการสร( างสมการโดยการ
ติดตามมวลหรือก(อนวัตถุที่เปนของแข็งสามารถทําได(งาย แตจะมีความยุงยากเมื่อนํามาใช(กับของไหล
เนื่องจากของไหลไมมีความคงตัวและมีการเปลี่ยนรูปรางอยูตลอดเวลา ดังนั้นจึงต(องอาศัยการกําหนดของ
เขตในบริเวณที่มีการไหลขึ้นมา เชน การศึกษาลักษณะการไหลโดยการใช(สีฉีดเข(าไปในน้ําเพื่อดูพฤติกรรม
การไหลผา นโครงสร( างทางชลศาสตร ชนิ ดหนึ่ ง การติด ตามอนุ ภาคของสี นี้วา เคลื่อนที่อยา งไรมีความ
ยุงยากซับซ(อน ดังนั้นแทนที่จะติดตามอนุภาคดังกลาว สามารถเปลี่ยนเปนการเฝhาดูผานกรอบที่กําหนดไว(
โดยพิจารณาวามีการไหลเข(าและไหลออกจากกรอบดังกลาวเทาใด และพิจารณาวากรอบดังกลาวมีการ
เปลี่ยนแปลงอยางไร จะเปนการงายกวาการติดตามอนุภาคของสีดังกลาว ซึ่งกรอบดังกลาวที่กําหนดขึ้น
นั้นคือ ปริมาตรควบคุม (Control Volume) ดังนั้นการสร(างสมการควบคุมสําหรับการไหลในบทนี้จะ
วิเคราะหการไหลนี้จะได(กําหนดขอบเขต (กรอบ) ของการไหล ซึ่งเรียกวา วิธีปริมาตรควบคุม (Control
Volume Approach) การวิเคราะหด(วยวิธีปริมาตรควบคุมมีศัพททางเทคนิคที่เกี่ยวข(องกับการวิเคราะห
ดังนี้
- ระบบ (System) หมายถึง กลุมของอนุภาคของไหลที่เลือกทําการศึกษา มีรูปพรรณสัณฐานที่
เฉพาะเจาะจง และ สามารถเคลื่อนที่ไปตําแหนงใดก็ได(
- สิ่งแวดล(อม (Surrounding) หมายถึงสิ่งตางๆ ที่ล(อมรอบอยูภายนอกระบบ
- ปริมาตรควบคุม (Control Volume) หมายถึง ปริมาตรที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อใช(ในการศึกษา
พฤติกรรมของการไหลเข(า และไหลออก ในบริเวณที่ทําการศึกษา
- ผิวของปริมาตรควบคุม (Control Surface) หมายถึง พื้นที่ผิวของขอบเขตที่ล(อมรอบปริมาตร
ควบคุม
การกําหนดขอบเขตของปริมาตรควบคุม (Boundary of Control Volume)
การกําหนดขอบเขตของปริมาตรควบคุม สามารถทําได(หลายลักษณะ ขึ้นอยูกับสภาพปMญหา
และระบบที่ทํา การวิเคราะห ในการกําหนดขอบเขตนั้น จะต(องมีตํา แหน งของของการไหลเข(า ออกที่
ชัดเจน และจะต(องตอบคําถามที่กําลังวิเคราะหนั้นได( ตัวอยางเชน ปMญหาเกี่ยวกับการไหลในทอ เราจะ
กําหนดขอบเขตปริมาตรควบคุมแบบอยูนิ่งกับที่ ไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง (Fix Control Volume)
เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของระบบที่ไหลผานทอ ดังรูปที่ 3.5A หากปMญหาเกี่ยวข(องกับวัตถุที่เคลื่อนที่ใน
ของไหล เราจะกําหนดขอบเขตปริมาตรควบคุมแบบเคลื่อนที่ ไมมีการเปลี่ยนรูปราง (Moving Control
Volume) เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของระบบรอบวัตถุในขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ผานระบบนั้น ดังรูปที่ 3.5B
หรือถ(าหากต(องการศึกษาเกี่ยวกับของไหลที่อยูในภาชนะที่สามารถเปลี่ยนรูปรางได( เราจะกําหนด
80

ขอบเขตปริมาตรควบคุมแบบเปลี่ยนรูปรางได( (Deforming Control Volume) เพื่อศึกษาความสัมพันธ


ระหวางรูปรางของภาชนะ กับการไหลเข(าและออกของระบบ ดังรูปที่ 3.5C

รูปที่ 3.5 การกําหนดขอบเขตของปริมาตรควบคุม

ซึ่งศาสตราจารย Osborne Reynolds ได(บัญญัติกฎโดยกลาวถึงความสัมพันธระหวางระบบกับ


ปริมาตรควบคุม โดยใช(หลักการของวิธีปริมาตรควบคุมเรียกวา ทฤษฏีการเคลื่อนย(ายของเรยโนลด
(Reynolds Transport Theorem) เพื่อใช(สร(างสมการสําหรับการวิเคราะหการไหล

ทฤษฎีการเคลื่อนย.ายของเรยโนลด (Reynolds Transport Theorem)


ทฤษฎีการเคลื่อนย(ายของเรยโนลด เปนทฤษฎีพื้นฐานที่ใช(อธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของ
ของไหล ที่มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติใดๆ อยางตอเนื่อง ซึ่งบางครั้งทฤษฎีการเคลื่อนย(ายของเรยโนลดนี้
ถูกเรียกวา สมการของการอนุรักษทั่วไป (General Conservation Equation) หากพิจารณาการไหลทาง
เดียวผานปริมาตรควบคุมที่อยูกับที่ (Fixed Control Volume) ของข(อลด (การเปลี่ยนแปลงหน(าตัดทอ)
ดังรูปที่ 3.6 โดยกําหนดให(แนวเส(นประคือ ขอบเขตของปริมาตรควบคุมและแนวเส(นทึบคือขอบเขตของ
ระบบและ B คือ ปริมาณทางฟKสิกสใดๆ (เชน มวล โมเมนตัม ความเร็ว ความเรง) ในระบบที่เคลื่อนตัว
ผานปริมาตรควบคุม และ b คือตัวแปรทางฟKสิกสนั้นตอหนึ่งหนวยมวล ดังนั้น B = bm เมื่อ m คือมวล
ของการไหล ตัวอยางเชน ถ(า B คือมวล, B=m ดังนั้น b จะมีคาเทากับ 1 หรือ ถ(า B คือพลังงานจลน
B = mV 2 2 ดังนั้น b จะมีคาเทากับ V 2 2 เปนต(น
81

รูปที่ 3.6 การเคลื่อนที่ของระบบผานปริมาตรควบคุมที่มีการไหลทิศทางเดียว

จากรูปที่ 3.6A เมื่อเวลา t = t ปริมาณใดๆ ที่มีอยูในระบบ BSYS(t) จะเทากับปริมาณใดๆ ที่อยูใน


ปริมาตรควบคุม BCV(t) เขียนเปนสมการได(แก

Bsys (t ) = B CV (t ) (3.1)

แตเมื่อเวลาผ านไป δt หากพิจ ารณาความสัมพันธระหวางปริมาณในระบบ กับปริมาณใน


ปริมาตรควบคุม (รูปที่ 3.5B) จะได(วาปริมาณ B ของระบบ (Bsys ) ณ. เวลา t + δt มีคาเทากับ ปริมาณ
B ในปริมาตรควบคุม (B CV ) ณ. เวลา t + δt ลบด(วยปริมาณ B ที่ไหลเข(าปริมาตรควบคุม (Bin )
ณ. เวลา t + δt บวกด(วยปริมาณ B ที่ไหลออกจากปริมาตรควบคุม (Bout ) ณ. เวลา t + δt สามารถ
เขียนได(ดังสมการ

Bsys (t + δt ) = BCV (t + δt ) − Bin (t + δt ) + Bout (t + δt ) (3.2)

และสามารถพิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ B ในระบบเมื่อเทียบกับเวลา
(δB sys δt ) จะสามารถเขียนได(ดังสมการ

δB sys B ( t + δt ) − B sys ( t )
= sys (3.3)
δt δt

แทนคาสมการที่ 3.1 และ 3.2 ในสมการที่ 3.3


δB sys
= BCV (t + δt ) − Bin (t + δt ) + Bout (t + δt ) − BCV (t )
δt δt
82

δB sys
= BCV (t + δt ) − BCV (t ) − Bin (t + δt ) + Bout (t + δt ) (3.4)
δt δt δt δt

เมื่อกําหนดลิมิตของสมการ 3.4 โดยพิจารณา δt มีคาน(อยมากจนเกือบเปน 0 จะได(


δBsys DBsys
lim = (3.5)
δt →0 δt Dt

∂ ∫ (ρbd∀ )
B (t + δt ) − BCV (t ) ∂BCV
lim CV = = CV
(3.6)
δt →0 δt ∂t ∂t

เมื่ อ ∂BCV คื อ อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงของปริ ม าณ B ในปริ ม าตรควบคุ ม ,


∂t
B (t + δ t ) • •
lim in = B in เมื่ อ B in คื อ อั ต ราการไหลเข( า ของปริ มาณผ า นผิ ว ปริ ม าตรควบคุ ม และ
δt → 0 δt
B (t + δ t ) • •
lim out =B เมื่อ B คืออัตราการไหลออกของปริมาณผานผิวปริมาตรควบคุม ดังนั้น
out out
δt → 0 δt
สมการที่ 3.4 สามารถเขียนได(เปน
DB sys
= ∂BCV − Bɺ in + Bɺ out (3.7)
Dt ∂t

และถ(าหากมีการไหลเข(าหรือไหลออกผานผิวควบคุมหลายหลายทาง สมการที่ 3.7 สามารถเขียนใหมได(


เปน
DBsys ∂BCV
= −∑B
ɺ + B
in ∑ ɺ out (3.8)
Dt ∂t

เมื่อ ∑ Bɺ in คือผลรวมของอัตราการไหลเข(าของปริมาณ B ผานผิวปริมาตรควบคุม และ


∑ Bɺ out คือผลรวมของอัตราการไหลออกของปริมาณ B ผานผิวปริมาตรควบคุม ซึ่งเราจะเรียกสมการที่
3.8 วา สมการการเคลื่อนย(ายของเรยโนลด (Reynolds Transport Theorem) ซึ่งเปนสมการที่การไหล
เข(าและไหลออกตั้งฉากกับผิวควบคุม อยางไรก็ตามหากปริมาตรควบคุมและระบบมีรูปทรงอิสระ การไหล
เข(าหรือไหลออกจากปริมาตรควบคุมผานผิวควบคุมจะไมตั้งฉากกับผิวควบคุม ดังรูปที่ 3.7 ในกรณีนี้
จะต(องหาคา ∑ Bɺ in และ ∑ Bɺ out โดยทําการปริพันธสมการที่ 3.8
83

รูปที่ 3.7 การไหลเข(าหรือไหลออกจากปริมาตรควบคุมที่ไมตั้งฉากกับผิวควบคุม

พิจารณาการไหลออกจากปริมาตรควบคุมผานพื้นผิวควบคุม (Control surface, CS) ดังรูปที่


3.7 โดยกําหนดให( CS out เปนผิวผิวควบคุมที่มีการไหลออก โดยสามารถหาปริมาตรที่ไหลออก (δ∀)
ผานพื้นที่เล็ก ๆ (δA) บนผิวควบคุม CS out ดังนี้

δ∀ = δlnδA (3.9)

เมื่อ δln = δl cos θ คือระยะในแนวตั้งฉากกับ δA เนื่องจาก δl = Vδt ดังนั้น δ∀ = Vδt cos θδA
และจากรูปจะได( V cos θ = V ⋅ nˆ เมื่อ n̂ คือเวกเตอรหนึ่งหนวยตั้งฉากกับผิวควบคุมโดยมีทิศชี้ออกจาก
ปริมาตรควบคุม ดังนั้นสมการที่ 3.9 เขียนได(เปน

δ∀ = V ⋅ nˆ δtδA (3.10)

ปริมาณ B ที่ไหลออกผาน δA ในชวงเวลา δt จะมีคาเทากับ δBout = bρδ∀ = bρ (V ⋅ nˆ δtδA)


ดังนั้นอัตราการไหลออกของ B ผาน δA ในชวงเวลา δt

δBɺ out = lim


bρδ∀
= lim
(bρV ⋅ nˆδtδA) = ρbV ⋅ nˆδA (3.11)
δt →0 δt δt →0 δt

ทําการปริพันธสมการที่ 3.11 ตลอดพื้นผิว CS out จะได(

Bɺ out = ∫ dBɺ out = ∫ ρbV ⋅ nˆdA (3.12)


CSout CSout
84

ในทํานองเดียวกันสําหรับอัตราการไหลเข(าผานผิวควบคุมจะได(

Bɺ in = − ∫ ρbV ⋅ nˆdA (3.13)


CSin

และอัตราที่ B ไหลเข(าและออกผานผิวควบคุมทั้งหมด

Bɺ out − Bɺ in = ∫ ρbV ⋅ nˆdA (3.14)


CS

เมื่อนําคาในสมการที่ 3.6 และ 3.14 แทนคาลงในสมการ 3.4 จะได(


DBsys ∂
= ∫ ρbd∀ + CS∫ ρbV ⋅ nˆdA (3.15)
Dt ∂t CV

สมการที่ 3.15 เปนสมการรูปแบบทั่วไปของทฤษฎีการเคลื่อนย(ายของเรยโนลด สําหรับปริมาตร


ควบคุมที่อยูกับที่และมีขนาดคงที่ โดยที่ V ⋅ nˆ สามารถแบงได(เปน

 V ⋅ nˆ > 0 ไหลออกจากปริมาตรควบคุม − 90° < θ < 90°

 V ⋅ nˆ < 0 ไหลออกจากปริมาตรควบคุม 90° < θ < 270°

 V ⋅ nˆ = 0 ไมมีการไหลเข(าและไหลออกผานปริมาตรควบคุม แบงออกได( 2 กรณีคือ


ความเร็ว V=0 หรือ cosθ = 0 เนื่องจากของไหลไถลไปกับผิวควบคุมไมได(ไหลเข(าและ
ไหลออกผานผิวควบคุม
85

สมการกฎการอนุรักษมวล (Mass Conservation)


หลักการของสมการควบคุมมวลของของไหล มาจากการประยุกตใช(กฎการอนุรักษมวลหรือกฎ
ทรงมวล (Conservation of Mass) หากพิจารณาจากรูปแบบอยางงาย โดยให(ปริมาณ B ที่พิจารณาคือ
มวล M จากสมการที่ 3.4 จะได(วา
DMsys ∂MCV
= − ∑ Mɺ In + ∑ Mɺ Out (3.16)
Dt ∂t
DM sys
แตเนื่องจากมวลไมมีวันสูญสลายซึ่งนั่นหมายความวา อัตราการเปลี่ยนแปลงต(องเทากับศูนย =0
Dt
ดังนั้น
∂M CV
0 = −∑M
ɺ +∑M
In
ɺ
Out หรือ
∂t
∂M CV
= ∑ Mɺ In − ∑ Mɺ Out (3.17)
∂t

สมการที่ 3.17 คือ สมการกฎการอนุรักษมวล (Mass Conservation) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา


DM sys ∂M CV
สมการความตอเนื่อง (Continuity Equation) จะเห็นได(วา = 0 แตคา นั้นไมเทากับ
Dt ∂t
ศูนย และสามารถเปนได(ทั้งคาบวกและคาลบทั้งนี้ขึ้นอยูกับอัตราการไหลเข(าและไหลออกปริมาตรควบคุม
ซึ่งเปนสมการที่ใช(กับการไหลได(ทั้งแบบคงที่และแบบไมคงที่ อยางไรก็ตามหากพิจารณาการไหลเปนแบบ
∂M CV
คงที่ จะทําให(ไมมีการเปลี่ยนแปลงในปริมาณควบคุม สงผลให( = 0 เราจะได(สมการกฎอนุรักษ
∂t
มวลสําหรับการไหลแบบคงที่ดังนี้

∑ Mɺ = ∑ Mɺ
In Out (3.18)

เมื่อ Mɺ คือ ∫ ρV ⋅ nˆdA หากของไหลเปนของไหลที่ไมสามารถอัดตัวได(จะทําให(ความหนาแนน


A

(ρ ) ไมเปลี่ยนแปลงจะได( Mɺ = ρ ∫ V ⋅ nˆdA หากการไหลไหลตั้งฉากกับผิวควบคุมแตมีความเร็วไมคงที่


A

จะทําให( Mɺ = ρ ∫ VdA = ρV A เมื่อ V คือความเร็วเฉลี่ยที่ไหลตั้งฉากกับผิวควบคุมพื้นที่ A และสามารถ


A
→ →
หาความเร็วเฉลี่ยของการไหลได(ดังนี้ V = ρ ∫ V ⋅ n dA ρA และหากการไหลไหลตั้งฉากกับผิวควบคุม
A

พื้นที่ A จะทําให( M = Mɺ = ρV ∫ dA = ρVA สําหรับการไหลของของไหลที่อัดตัวไมได( ความเร็วการไหล
A
86

มีคาคงที่และการไหลมีทิศตั้งฉากกับผิวควบคุมจากสมการที่ 3.18 สามารถสรุปได(ดังนี้

∑ (ρ Q ) = ∑ (ρQ )
in out

เอาความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงคูณเข(าทั้งสองด(านจะได(

∑ (γQ ) =∑ (γQ )
in out

และเมื่อของไหลมีความหนาแนนคงที่ใช(

∑Q in = ∑ Q out
(3.19)

โดยที Q คือ อัตราการไหล (m3/s) V คือความเร็วการไหล (m/s) ρ คือความหนาแนนของของ


ไหล (kg/m3) และ γ คือน้ําหนักจําเพาะของของไหล (N/m3) และเมื่อถึงอัตราการไหลในรูปแบบตาง ๆ
จะได( Mɺ = ρQ คืออัตราการไหลโดยมวล (kg/s) Wɺ = γQ คืออัตราการไหลโดยน้ําหนัก (N/s) และ
∀ɺ = Q คืออัตราการไหลโดยปริมาตร (m3/s) หรือเรียกสั้น ๆ วาอัตราการไหล
87

ตัวอย2างที่ 3.1 น้ําไหลเข(าทอสี่เหลี่ยมดังรูปด(วยอัตราการไหล 0.3 m3/s ด(านบนและด(านข(างของทอมี


ลักษณะเปนรูพรุนโดยด(านบนมีอัตราการไหลเข(าด(วยด(วยสมการพาราโบลาสวนด(านข(างมีอัตราการไหล
ออกด(วยสมการเส(นตรง ตั้งแตต(นทางจนถึงปลายทางสําหรับอัตราการไหลเข(ามากที่สุดด(านบนเทากับ
0.3 m3/s ตอเมตรที่ปลายทาง และด(านข(างมีอัตราการไหลออกมากสุด 0.5 m3/s ตอเมตรที่ต(นทาง จง
หาความเร็วเฉลี่ยทางด(านปลายทางของทอเมื่อกําหนดให(ทอมีความยาว 0.3 m และหน(าตัดของทอ
เทากับ 0.01 m2 เมื่อสภาวะการไหลเปนแบบคงที่

รูปที่ Ex3.1 การไหลของน้ําไหลเข(าทอสี่เหลี่ยม

วิธีทํา

- หาสมการอัตราการไหลเข(าทอด(านบน (qU)

พิจารณาทางด(านบนทอเมื่ออัตราการไหลเข(า เปนฟMงกชั่นของสมการพาราโบลา จะได(

qU = ay 2 + by + c (Ex3.1-1)

จากสมการที่ Ex3.1-1 และรูปที่ Ex3.1 พบวา

เมื่อ y = 0 ; qU = 0 จะได( c = 0 และ

เมื่อ y = 0.3 m ; q U = 0.3 m 2 /s จะได( 0.3a+b = 1 และ


dqu
เมื่อ y = 0 ; = 2ay + b = 0 จะได( b = 0 จากเงื่อนไขทั้งสามจะได( a = 10 3 แทน
dy
คาตาง ๆ ลงในสมการ Ex3.1-1 จะได( สมการสําหรับอัตราการไหลเข(าด(านบนดังนี้
10 2
qU = y (Ex3.1-2)
3
88

- หาสมการอัตราการไหลออกด(านข(าง (qf)

พิจารณาทางด(านข(างทอเมื่ออัตราการไหลออก เปนฟMงกชั่นของเส(นตรง จะได(

q f = my + c (Ex.3.1-3)

จากสมการที่ Ex3.1-3 และรูปที่ Ex3.1 พบวา


เมื่อ y = 0 ; q U = 0.5 m 2 /s จะได( c = 0.5 และ
เมื่อ y = 0.3 m ; q U = 0 m 2 /s จะได( 0 = 0.3m+0.5 จะได( m = - 5 3
แทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex3.1-3 จะได( สมการสําหรับอัตราการไหลออกด(านข(างดังนี้
5
q f = 0.5 − y (Ex3.1-4)
3
จากสมการความตอเนื่อง สมการ
∂M CV
= ∑M
ɺ −∑M
In
ɺ
Out (Ex3.1-5)
∂t

∂M CV
เมื่ออัตราการไหลเปนแบบคงที่ (Steady flow) =0
∂t

∑ Mɺ In −∑M
ɺ
Out = 0 (Ex3.1-6)

ของไหลเปนน้ําทําให(ความหนาแนคงที่สมการที่ Ex3.1-6 จะเปน

∑Q − ∑Q
In Out =0 (Ex3.1-7)

แทนคาลงในสมการ Ex3.1-7 จะได(

 5 
0. 3 0.3
10 2
0 .3 + ∫0 3 y dy − ∫0  0.5 − 3 y dy − 0.01× V2 = 0

1  5 y2  
0. 3 0.3
10  y 3  
V2 =  0 .3 +   −  0 .5 y −  
0.01  3  3 0  3 2 0 
 

1  10 0.33 5 0 .3 2 
V2 =  0 .3 + × − 0 .5 × 0 . 3 + ×  = 25.5 m/s
0.01  3 3 3 2 

ความเร็วที่ไหลออกทางด(านปลายทอสี่เหลี่ยมเทากับ 25 m/s ตอบ


89

ตัวอย2างที่ 3.2 จากตัวอยางที่ 3.1 จงหาตําแหนงของการไหลในทอที่มีความเร็วการไหลมากที่สุด

วิธีทํา จากหลักการเดียวกันในตัวอยางที่ 3.1 จะได(สมการความเร็วที่แปรผันตามระยะความยาวทอดังนี้


1   5  
L L
10 2
VL = 
0.01 
0 .3 + ∫
0
3
y dy − ∫
0
 0.5 − y dy 
3  

1  5 y2  
L L
10  y 3  
VL =  0 .3 +   −  0 . 5 y −  
0.01  3  3 0  3 2 0 
 

1  10 L3 5 L2 
VL =  0 . 3 + + − 0 .5 L 
0.01  3 3 3 2 

dVL
ตําแหนงที่ความเร็วมีคามากที่สุดคือตําแหนงที่ =0
dL

dVL 1 10 2 5 
=  L + L − 0.5 = 0
dL 0.01  3 3 
แก(สมการหาคา L จะได(
(− 5 3) ± (5 3)2 + 4 × (10 3)× 0.5
L= = 0.211 m
2 × (10 3)

ตอบ ตําแหนงความเร็วการไหลมากที่สุดในทอสี่เหลี่ยมเกิดตรงความยาวที่หางออกมาจากด(านเข(า
เทากับ 0.211 m
90

ตัวอย2างที่ 3.3 ของไหล A มีความถวงจําเพาะ 0.9 และของไหล B มีน้ําหนักจําเพาะ 12,500 N/m3 ไหล
มาผสมกันในทอรูปตัว Y ดังรูป เมื่ออัตราการไหลโดยมวลของของไหล A 90 kg3/s และ และอัตราการ
ไหลของของไหล B เทากับ 0.24 m3/s จงหาความหนาแนนของของไหลที่ทางออก เมื่อสภาวะการไหล
เปนแบบคงที่

วิธีทํา เมื่อการไหลเปนแบบคงที่จากสมการความตอเนื่องจะได(
∑ Mɺ In −∑M
ɺ
Out = 0 (Ex3.3-1)
∑ Mɺ In = Mɺ A + ρ B QB
 12,500 
= 90 +   × 0.24
 9.81 
พิจารณาการไหลออก
∑ Mɺ Out = ρMixQMix
แทนคาทั้งหมดในสมการ จะได(
 12,500 
90 +   × 0.24 − ρ MIX Q MIX = 0 (Ex3.3-2)
 9.81 
เนื่ องจากระบบเป น ของเหลวอัด ตัว ได(น( อยมาก ประกอบกับ ปริ มาตรควบคุ มเปน แบบคงตัว ไม มีการ
เปลี่ยนแปลงปริมาตร และการไหลไมแปรเปลี่ยนตามเวลา
∴ QA + QB = Qmix
90
+ 0.24 = 0.34 m3/s
0.9 ×1000
 12,500 
แทนคาใน (Ex3-2) จะได( 90 +   × 0.24 − ρ MIX × 0.34 = 0
 9.81 
 90 + (305.81) 
ρMix =  
 0.34 
= 1164.15 kg/m3
ตอบ ความหนาแนนของของไหลที่ทางออกเทากับ 1164.15 kg/m3
91

ตัวอย2างที่ 3.4 โรงบําบัดน้ําเสียแหงหนึ่งต(องการบําบัดน้ําผานอางตกตะกอน โดยน้ําเสียที่ต(องการบําบัด


ที่จะไหลเข(าสูอางตกตะกอน มีปริมาณ 500 ลิตร/วินาที คาความถวงจําเพาะ 1.0015 หลังจากผานการ
ตกตะกอนน้ําเสียมีคาความถวงจําเพาะเทากับ 1.0012 ซึ่งจะไหลออกผานฝายน้ําล(นที่ทางออก เนื่องจาก
ระดั บ น้ํ า ภายในอ า งค อนข( า งคงที่ จึ งประมาณได( ว า อั ต ราการไหลออกจากอ า งค อนข( า งคงที่ จากการ
ตรวจวัดตะกอนที่ก(นอาง คาความถวงจําเพาะมีคาเทากับ 1.6552 จะต(องใช(เวลานานเทาไรกวาที่ตะกอน
จะเต็มอางพอดี (ปริมาณตะกอนถึงระดับสูงสุด)

รูปที่ Ex3.4
DB sys ∂BCV
วิธีทํา พิจารณาจากสมการการเคลื่อนย(ายของเรยโนด = − ∑ Bɺ In + ∑ Bɺ Out
Dt ∂t

กําหนดให(ระบบคือ ของไหล และปริมาณที่พิจารณาคือมวล จะได(วา


∂MCV
= ∑ Mɺ In − ∑ Mɺ Out
∂t

พิจารณาการไหลเข(า

ɺ In
∑M = ρinQin

= 1.0015ρW (1.0 )

พิจารณาการไหลออก

ɺ Out
∑M = ρ out Q out

= 1.0012ρW (1.0 )
92

เมื่อพิจารณาที่ t = 0 มวลใน Control Volume คือมวลของน้ําสวนที่ 1 และ 2 แตเมื่อเวลาผานไป t =


∆t มวลที่อยูใน Control volume คือ มวลของน้ําสวนที่ 1 กับ มวลของตะกอนที่เข(ามาแทนที่สวนที่ 2
ดังนั้นในชวงเวลาดังกลาวมีมวลแตกตางกันเทากับ

∆M CV = (m1 + mตะกอน ) − (m1 + m 2 )

= mตะกอน − m2

= ρ ตะกอน ∀ตะกอน − ρ 2 ∀ 2

= ∀(ρตะกอน − ρ2 )

= ( 3600 × 3)(1.6552 − 1.0012)(1000)

∴ ∆M CV = 7,063,200 kg = 7,063.2 tons

เมื่อพิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงของมวลใน Control volume ตอหนึ่งหนวยเวลา จะได(

∂MCV ∆MCV 7,063.2 × 103


= =
∂t ∆t ∆t
3
7,063.2 × 10
นํา (2) (3) และ (4) แทนใน (1) = (1.0015 − 1.0012)ρW
∆t
7,063.2
∆t = = 47,088,000 s = 545 days ตอบ
(1.0015 − 1.0012 )
93

สมการโมเมนตัมเชิงเส.น (Linear Momentum Equation)

โมเมนตัมหมายถึงความสามารถในการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งมีคาเทากับผลคูณระหวางมวลและ
ความเร็วของวัตถุ โมเมนตัมเปนปริมาณเวกเตอร สําหรับสมการควบคุมโมเมนตัมเปนการประยุกตใช(กฎ
การเคลื่ อนที่ข(อที่สอง-โมเมนตั มเชิงเส(นของนิวตัน (Newton’s Second Law: The Linear
Momentum) ซึ่งมีความหมายในเชิงของกฎการอนุรักษโมเมนตัม (Conservation of Momentum) วา
แรงลัพธรวมที่กระทําตอปริมาตรควบคุม มีคาเทากับ ผลรวมของอัตราการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัม
ภายในปริมาตรควบคุมและอัตราการไหลสุทธิของโมเมนตัมที่ไหลผานพื้นผิวควบคุม จากสมการการ
เคลื่อนย(ายของเรยโนลด (สมการที่ 3.15) โดยให(ปริมาณ B ที่พิจารณาคือโมเมนตัม (mV) จะได(วาสมการ
D (mV )sys ∂
= ∫ ρbd∀ + CS∫ ρbV ⋅ nˆdA (3.20)
Dt ∂t CV

จากกฎข(อที่สองของนิวตัน

∑F = m a = d (mV )
dt
 
∑ F ( dt ) = m( dV ) (3.21)

ซึ่งสมการที่ 3.21 ก็คือ กฎของอินพัลสโมเมนตัม (Impulse Momentum) โดยเราจะเรียกเทอม


 
ของ ∑ F ( dt ) วา อิมพัลส (Impulse) สวนเทอมของ m( dV ) คือ การเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัม จาก
สมการที่ 3.21 เมื่อพิจารณา โมเมนตัม และแรงที่กระทํากับระบบจะได(วา
 
∑ Fsys ( dt ) = m sys (dVsys )

 D(mV )sys
∑ F sys = (3.22)
Dt

ซึ่งความหมายของสมการที่ 3.22 ก็คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงเส(นของระบบ จะมีคา



เทากับ ผลรวมของแรงภายนอกที่กระทํากับระบบ ( ∑ F sys ) เมื่อแทนคาลงในสมการที่ 3.22 ในสมการที่
3.20 จะได(วา

∑F sys = ∫ ρbd∀ + CS∫ ρbV ⋅ nˆdA
∂t CV
(3.23)
94

สมการที่ 3.23 เรียกวาสมการโมเมนตัมเชิงเส(น (Linear Momentum Equation) ถ(าการไหลเปนแบบ



คงที่ และเปนของไหลที่อัดตัวไมได( (Incompressible Fluid) จะทําให( ∫ ρ ⋅ V ⋅ d∀ = 0 ดังนั้น
∂t CV
สมการที่ 3.23 จะเปน

∑F sys = ∫ ρ ⋅ b ⋅ (V ⋅ nˆ )dA = ∫ ρ ⋅ b ⋅ (V ⋅ nˆ )dA − ∫ ρ ⋅ b ⋅ (V ⋅ nˆ )dA (3.24)


CS out in

mV
เมื่อ b คือ โมเมนตัมตอหนวยมวล = =V ดังนั้นสมการที่ 3.24 จะสามารถเขียนใหมได(เปน
m

∑F sys = ∫ ρ ⋅ V ⋅ (V ⋅ nˆ )dA − ∫ ρ ⋅V ⋅ (V ⋅ nˆ )dA (3.25)


out in

เมื่อ V ⋅ dA = dQ และ (V ⋅ nˆ ) คือ ความเร็วการไหลในทิศทางที่พิจารณา ดังนั้นสมการสมการที่ 3.25


สามารถแยกพิจารณาได(ตามทิศทางการไหลได(ดังนี้

แกน x : ∑ F = ∑ (ρQV )
x x out − ∑ (ρQV x )in (3.26)

แกน y : ∑ F = ∑ (ρQV )
y y out − ∑ (ρQV y )in (3.27)

แกน z : ∑ F = ∑ (ρQV )
z z out − ∑ (ρQV z )in (3.28)

โดยที่ ρQV คืออัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม (Momentum Flux) ซึ่งหมายถึงอัตราการ


ขนสงมวลตอหนึ่งหนวยพื้นที่ตอเวลามีหนวยเปนนิวตัน (N) ซึ่งเสมือนวาอัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
คือแรงอยางหนึ่งที่มีขนาด เทากับ สมการที่ 3.21 ถึง 3.23 ก็คือ สมการโมเมนตัม (Momentum
Equation) ของของไหลที่อัดตัวไมได( (Incompressible Fluid) ภายใต(การไหลแบบคงที่
95

การหาแรงกระแทกของน้ําบนแผ2นกั้น
แผ2นกั้นมีแบบแบน (Horizontal plate)
พิ จ ารณารู ป ที่ 3.8 พบว า เมื่ อ ลํ า น้ํ า เคลื่ อ นที่
ด(วยความเร็วคงที่มากระแทกกับแผนกั้น หากไมคิดแรง
เสี ยดทานในขณะลํา น้ํา เคลื่อนที่ และไม มีการสูญ เสี ย
พลั ง งานในขณะที่ ลํ า น้ํ า พุ ง ชน ลํ า น้ํ า จะไหลไปตาม
พื้นผิวนั้น

จากสมการโมเมนตัมเชิงเส(นของของไหล

พิจารณาแกน y;

∑ F = ∑ (ρQV )
y y out − ∑ (ρQV y )in
รูปที่ 3.8 การกระแทกของลําน้ํา
บนแผนกั้นแบบแบน

เนื่องจากเปนของไหลชนิดเดียวกัน (ρ in = ρ out ) และอัตราการไหลออกเทากับอัตราการไหลเข(า


(Qin = Qout )

∑F y [
= ρQ (V y )out − (V y )in ] (3.29)

เมื่อ Fy คือ ผลรวมของแรงในทิศทางแกน y ρ คือ ความหนาแนนของของไหล Q คือ อัตราการ


ไหล Vout คือ ความเร็วของการไหลออกจากแผนเรียบในทิศทาง y Vin คือ ความเร็วของการไหลที่กระทบ
(เข(า) แผนเรียนในทิศทาง y เมื่อพิจารณารูปที่ 3.5 จะได(แรงกระแทกที่กระทํากับแผนกั้น (Fy) เทากับแรง
ที่แผนกั้นต(านแรงกระแทก FP แตมีทิศตรงกันข(าม (แรงกระทํา Fy มีคาเทากับแรงปฏิกิริยา FP) ความเร็วที่
ไหลเข(าแกน y (V y )in เทากับ Vin และความเร็วที่ไหลออกแกน y (V y )out เทากับศูนย แทนคาตาง ๆ ใน
สมการที่ 3.29
96

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ 3.29 จะได(

− FP = − ρQVin
หรือ
F p = ρQV (3.30)

เมื่อ FP คือแรงต(านการกระแทกของลําน้ํา (N) ซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ําแตทิศทาง


ตรงกันข(าม ρ คือ ความหนาแนนของของไหล (kg/m3) Q คือ อัตราการไหล (m3/s) และ V คือ
ความเร็วของการไหล (m/s)

แผ2นกั้นรูปกรวยมุม 120°
พิจารณารูปที่ 3.9 พบวาเมื่อลําน้ําเคลื่อนที่ด(วยความเร็ว
คงที่มากระแทกกับแผนกั้น หากไมคิดแรงเสียดทานในขณะลําน้ํา
เคลื่อนที่ และไมมีการสูญเสียพลังงานในขณะที่ลําน้ําพุงชน ลําน้ํา
จะไหลไปตามพื้นผิวนั้นซึ่งทํามุม 120° (วัดตามแนวแกน y)

จากสมการโมเมนตัมเชิงเส(นของของไหล

พิจารณาแกน y;

∑ F = ∑ (ρQV )
y y out − ∑ (ρQV y )in รูปที่ 3.9 การกระแทกของลําน้ําบน
แผนกั้นแบบกรวย

เนื่ อ งจากเป น ของไหลชนิ ด เดี ย วกั น (ρ in = ρ out ) และอั ต ราการไหลออกเท า กั บ อั ต ราการไหลเข( า


(Qin = Qout )

∑F y [
= ρQ (V y )out − (V y )in ] (3.31)
97

เมื่อพิจารณารูปที่ 3.8 จะได(แรงกระแทกที่กระทํากับแผนกั้น (Fy) เทากับแรงที่แผนกั้นต(านแรง


กระแทก FP แตมีทิศตรงกันข(าม (แรงกระทํา Fy มีคาเทากับแรงปฏิกิริยา FP) ความเร็วที่ไหลเข(าแกน y
(V ) เทากับ Vin และความเร็วที่ไหลออกแกน y (V ) เทากับ
y in y out − Vin cos θ เมื่อ θ = 120° = 60° จะ
2
ได( − Vin cos 60 = −0.5Vin แทนคาตาง ๆ ในสมการที่ 3.31 จะได(

− FP = ρQ [− 0.5Vin − Vin ]
หรือ
FP = 1.5 ρQVin (3.32)
เมื่อ FP คือแรงต(านการกระแทกของลําน้ํา (N) ซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ําแตทิศทางตรงกัน
ข(าม ρ คือ ความหนาแนนของของไหล (kg/m3) Q คือ อัตราการไหล (m3/s) และ Vin คือ ความเร็วของ
การไหล (m/s)

แผ2นกั้นรูปกึ่งทรงกลม
พิ จ ารณารู ป ที่ 3.10 พบว า เมื่ อ ลํ า น้ํ า เคลื่ อ นที่ ด( ว ย
ความเร็ ว คงที่ มากระแทกกั บ แผน กั้ น หากไม คิด แรงเสีย ดทาน
ในขณะลําน้ําเคลื่อนที่ และไมมีการสูญเสียพลังงานในขณะที่ลํา
น้ําพุงชน ลําน้ําจะไหลไปตามพื้นผิวนั้นซึ่งทํามุม 180° (วัดตาม
แนวแกน y)

จากสมการโมเมนตัมเชิงเส(นของของไหล

พิจารณาแกน y;

∑ F = ∑ (ρQV )
y y out − ∑ (ρQV y )in
รูปที่ 3.10 การกระแทกของลําน้ําบน
แผนกั้นแบบกึ่งทรงกลม

เนื่องจากเปนของไหลชนิดเดียวกัน (ρ in = ρ out ) และ อัตราการไหลออกเทากับอัตราการไหลเข(า


(Qin = Qout )
∑F y [
= ρQ (V y )out − (V y )in ] (3.33)
98

เมื่อพิจารณารูปที่ 3.9 จะได(แรงกระแทกที่กระทํากับแผนกั้น (Fy) เทากับแรงที่แผนกั้นต(านแรง


กระแทก FP แตมีทิศตรงกันข(าม (แรงกระทํา Fy มีคาเทากับแรงปฏิกิริยา FP) ความเร็วที่ไหลเข(าแกน y
(V ) เทากับ Vin และความเร็วที่ไหลออกแกน y (V ) เทากับ
y in y out − Vin cos θ เมื่อ θ = 180° = 90° จะ
2
ได( − Vin cos 90 = −Vin แทนคาตาง ๆ ในสมการที่ 3.26 จะได(
− FP = ρQ [− Vin − Vin ]
หรือ
FP = 2 ρQVin (3.34)

เมื่อ FP คือแรงต(านการกระแทกของลําน้ํา (N) ซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ําแตทิศทาง


ตรงกันข(าม ρ คือ ความหนาแนนของของไหล (kg/m3) Q คืออัตราการไหล (m3/s) และ Vin คือ
ความเร็วของการไหล (m/s)
จากการวิเคราะหแรงกระแทกแผนกั้นพบวา เมื่อรูปรางแผนกั้นที่โดนน้ําพุงกระแทกแตกตางกัน
สงผลให(แรงกระแทกมีคาแตกตางกันออกไปด(วย ซึ่งจะมีประโยชนในการออกแบบรูปรางของใบพัดและ
กังหันน้ําตอไป
99

สมการพลังงาน (Energy Equation)


สมการพลังงานของการไหลขั้นต(นนั้นเกิดจากแนวคิดของ Leonhard Euler โดยพิจารณาการ
ไหลสมมติที่เคลื่อนที่อนุภาคของไหลตามเส(นสายธารการไหล โดยกําหนดวาการไหลดังกลาวไมมีความ
หนืดดังนั้นจึงไมมีแรงเฉือนมากระทําให(ของไหลสมมติเคลื่อนที่ ดังนั้นแรงที่กระทําจึงของไหลจึงมีเพียง
แรงเนื่องจากน้ําหนักของของไหล และแรงเนื่องจากความดันดังรูปที่ 3.11a

a) b)

รูปที่ 3.11 การเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลตามแนวเส(นทางการไหล

พิจารณารูปที่ 3.11b อนุภาคของไหลรูปทรงกระบอกมวล m ซึ่งมีขนาดพื้นที่หน(าตัด dA และมี


ความยาว ds กําลังเคลื่อนที่ไปตามแนวเสนสายธารการไหลด(วยความเรง as ทํามุม θ กับแนวระนาบ เมื่อ
พิจารณาแรงที่กระทํากับก(อนของไหลดังกลาวจะพบวามี แรงดันกับน้ําหนักของก(อนของไหล และจากกฎ
ข(อที่สองของนิวตันจะได(

∑F s = ma s

F in− F out − dw sin θ = ma s (3.35)

 ∂P  dz
เมื่อ F in= PdA , Fout =  P + ds  dA , m = ρ ⋅ ds ⋅ dA , sin θ = และ dw = γ ⋅ ds ⋅ dA
 ∂s  ds

dV
เนื่องจากความเรง as= และ V = f ( s, t ) ดังนั้นจะได(
dt

∂V ds ∂V dt ∂V ∂V
as = ⋅ + ⋅ =V ⋅ + (3.36)
∂s dt ∂t dt ∂s ∂t
100

∂V
เมื่อการไหลมีสภาวะคงที่ จะทําให( =0 สมการ3.36 จึงสามารถเขียนใหมได(วา
∂t

∂V
as = V ⋅ (3.37)
∂s

โดยที่ เมื่อ P คือความดันที่หน(าตัดทางเข(า ρ คือ ความหนาแนนของของไหล และสามารถเขียนสมการ


3.37 ใหมได(เปน

 ∂P  dz ∂V
PdA −  P + ds  dA − (γ ⋅ ds ⋅ dA) = (ρ ⋅ ds ⋅ dA )V (3.38)
 ∂s  ds ∂s

∂P dz ∂V
− ⋅ ds ⋅ dA − (γ ⋅ ds ⋅ dA) = (ρ ⋅ ds ⋅ dA)V ⋅ (3.39)
∂s ds ∂S

นํา γ ⋅ ds ⋅ dA หารตลอดสมการที่ 3.39 จะได(


dz 1 ∂P 1 ∂V
+ + V =0 (3.40)
ds γ ∂s g ∂s

เนื่องจาก z, P และ v มีความสัมพันธอยูในรูปของแกน s เพียงอยางเดียว ดังนั้นสมการอนุพันธยอย


สามารถเขียนใหมในรูปอนุพันธธรรมได(เปน
dz 1 dP 1 dV
+ + V =0
ds γ ds g dS

เอา ds คูณตลอดจะได(

1 1
dz + dP + VdV = 0
γ g

จัดรูปสมการใหมจะได(
dP V ⋅ dV
dz + + =0 (3.41)
γ g

สมการที่ 3.41 คือสมการของออยเลอร (Leonhard Euler) สําหรับการเคลื่อนที่ตามแนวเส(น


สายธารการไหล (Euler’s equation for motion along a streamline)
101

สมการของแบรนูลลี (Bernoulli)

แบรนูลลีได(ทําการปริพันธสมการพลังงานของ Leonhard Euler

dP  V ⋅ dV 
∫ dz + ∫ γ
+ ∫ 
 g
 = ∫ 0

จากผลของการปริพันธจะได(

P V2
z+ + =C (3.42)
γ 2g

สมการที่ 3.42 คือ สมการของแบรนูลลี เมื่อ C คือ คาคงที่ ซึ่งเรียกวาคาคงที่ของแบรนูลลี ซึ่ง


หมายความวาบนเส(นสายธารการไหลเดียวกันคาคงที่ของแบรนูลลีจะมีคาเทากันตลอด อยางไรก็ตามหาก
พิจารณาเทอมแตละเทอมในสมการของแบรนูลลีจะพบวาในแตละเทอมจะมีหนวยเปนความสูง ซึ่งก็คือ
พลังงานในแตละรูปแบบนั่นเอง โดย Z คือ เฮดของพลังงานศักดิ์ ซึ่งก็คือความสูงจากระดับอ(างอิงถึงแนว
P
เส(นทางการไหล หรือเรียกวาเฮดระดับ (Potential Head or Elevation Head, m) คือ เฮดของ
γ
V2
พลังงานอันเนื่องมาจากความดันสถิต หรือเรียกวา เฮดความดัน (Pressure Head, m) คือ เฮดของ
2g
พลังงานจล หรือเรียกวา เฮดความเร็ว (Velocity Head, m)
102

การประยุกตใช.สมการของแบรนูลลี
พิจารณารูปที่ 3.12 เปนการไหลภายในทอจากหน(าตัดการไหลที่ 1 ไปหน(าตัดการไหลที่ 2

รูปที่ 3.12 พลังงานการไหล เส(นลาดชลศาสตรและเส(นลาดพลังงาน

จากรูปที่ 3.12 แสดงตัวแปรตาง ๆ ของสมการแบรนูลลี โดยพิจารณาภายใต(เงื่อนไข การไหล


แบบคงที แรงที่เกี่ยวข(องมีเพียงแรงโน(มถวงกับแรงเนื่องมาจากความดัน ของไหลเปนของไหลสมมติ และ
เปนของไหลที่อัดตัวไมได( เมื่ออนุภาคของไหลเคลื่อนที่ไปตามเส(นสายธารการไหลโดยไมมีผลจากพลังงาน
ภายนอกและไมมีการสูญเสียพลังงาน จากสมการของแบรนูลลีกลาววา “ผลรวมของพลังงานที่จุดใดจุด
หนึ่งจะเทากับผลรวมของเฮดอีกจุดหนึ่งเสมอ” ดังนั้นพลังงานรวมจะคงที่ตลอดความยาวของเส(นสายธาร
การไหล ทําให(พลังงานการไหลจากหน(าตัดที่ 1 และหน(าตัดที่ 2 มีคาเทากันดังรูปที่ 3.12 สามารถเขียน
ในรูปของสมการได(ดังนี้

P1V12 P2 V22
z1 + + = z2 + + (3.43)
γ 2g γ 2g

ระดับของพลังงานรวมนั้นเราจะเรียกวา เส(นระดับพลังงาน (Energy Grade Line, E.G.L.) และ


เส(นที่บอกถึงระดับผลรวมของเฮดระดับกับเฮดความดัน จะเรียกวา ระดับชลศาสตร (Hydraulic Grade
Lime, H.G.L.) โดยผลรวมของเฮดระดับกับเฮดความดันเรียกวาเฮดสถิต (ปKโซมิเตอรเฮด, Piezomatic
Head)
103

ตัวอย2างที่ 3.4 จงคํานวณหาความเร็วและอัตราการไหลที่น้ําพุงออกจากทอที่มีขนาดเส(นผานศูนยกลาง


20 cm ดังรูปที่ Ex3.4-1 สมมติวาเปนการไหลแบบคงที่ และไมมีการสูญเสียพลังงานเนื่องจากการไหล

รูปที่ Ex3.4-1 การไหลออกของน้ําจากถังเก็บน้ําขนาดใหญมาก

วิธีทํา จากสมการของแบรนูลลี

P1 V12 P V2
z1 + + = z2 + 2 + 2 (Ex3.4-1)
γ 2g γ 2g

จากรูปที่ Ex3.4-1 z1 = 55 m , z1 = 35 m , P1 = P2 = ความดันบรรยากาศ และ V1 ≈ 0 เนื่องจาก


ถังน้ํามีขนาดใหญการไหลออกที่ตําแหนงที่ 2 ทําให(ระดับน้ําที่ตําแหนงที่ 1 มีการลดระดับน(อยมาก ดังนั้น
ความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 เทากับศูนย แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.4-1 จะได(

 P1 P2  V22
(55 − 35) +  −  + 0 =
γ γ  2g

V2 = 2 ⋅ g ⋅ 20 = 19.81 m/s

π ⋅ 0.12
อัตราการไหล; Q = AV = × 19.81 = 0.15565 m 3 s
4

ตอบ ดังนั้นความเร็วและอัตราการไหลที่น้ําพุงออกจากทอมีคาเทากับ 19.81 m/s และ 0.16 m3/s


ตามลําดับ
104

ตัวอย2างที่ 3.5 จงหาเฮดระดับ เฮดความดัน เฮดความเร็ว และ เฮดรวมของการไหลจากตําแหนงที่ 1 ไป


ตําแหนงที่ 2 ของการไหลในตัวอยางที่ 3.4

วิธีทํา
ผลการคํานวณ
3)
2) 5) 6)
1) พื้นที่ 4)
ขนาดเส(นผาน ศูนยกลาง, เฮดระดับ, Z เฮดความเร็ว,
ตําแหนง หน(าตัด, ความเร็ว, V (m/s)
D (m) (m) V2/2g (m)
A (m2/s)
1 - - 0.00 55 0.0
B 0.2 0.0314 4.95 48 1.2
C 0.2 0.0314 4.95 40 1.2
D 0.1 0.0079 19.81 40 20.0
2 0.1 0.0079 19.81 35 20.0

ผลการคํานวณ (ตอ)

7) 8) 9) 10) 11)
ตําแหนง ความดัน, P เฮดความดัน, เฮดรวม, เส(นระดับ เส(นระดับ
(N/m2) P/γ (m) H (m) H.G.L. (m) E.G.L. (m)
1 - 0.0 55.0 55.0 55.0
B 56,418.75 5.75 55.0 53.7 55.0
C 134,898.75 13.75 55.0 53.7 55.0
D - 49,068.05 -5.0 55.0 35.0 55.0
2 - 0.0 55.0 35.0 55.0

วิธีการคํานวณ
1) ตําแหนง (จากข(อมูล) 2) ขนาดเส(นผานศูนยกลาง, Di m (จากข(อมูล)
πDi2
3) พื้นที่หน(าตัด Ai = m2 4) ความเร็ว Vi = Q =
0.15565
m/s
4 Ai Ai
Vi 2
5) เฮดระดับ, Zi m (จากข(อมูล) 6) เฮดความเร็ว,
2g
7) ความดัน, Pi จากสมการของแบรนูลลี พิจารณาระหวางตําแหนง 1 กับตําแหนงที่พิจารณา (ตําแหนง i)
105

 V2 
Pi =  55 − Z i − i  เชน ระหวางตําแหนง 1 กับ B จะได(
 2g 
 4.95 2 
PB =  55 − 48 −  ⋅ γ w = 56,418.75 N/m 2
 2g 
Pi Pi Vi 2
8) เฮดความดัน, 9) เฮดรวม H = zi + +
γ γ w 2g
Pi Pi Vi 2
10) เส(นลาดชลศาสตร, H .G.L. = zi + 11) เส(นลาดพลังงาน, E.G.L. = zi + +
γw γ w 2g
สามารถเขียนเส(นลาดชลศาสตร (H.G.L) และ เส(นลาดพลังงาน (E.G.L) ได(ดังรูป

รูปที่ Ex3.5-1 เส(นลาดชลศาสตร (H.G.L) และ เส(นลาดพลังงาน (E.G.L)


ตัวอยางการไหลตัวอยางที่ 3.4 และตัวอยางที่ 3.5 เปนการไหลสมมติโดยไมคิดการสูญเสีย
พลังงาน อยางไรก็ตามการไหลที่เกิดขึ้นจริงจะต(องมีการสูญเสียพลังงานเสมอ เชนการไหลจากหน(าตัดที่ 1
ไปหน(าตัดที่ 2 ดังรูปที่ 3.13 สมการพลังงานสามารถคือ

P1 V12 P V2
z1 + + = z2 + 2 + 2 + H L (3.44)
γ 2g γ 2g

เมื่อ HL คือการสูญเสียพลังงานจากการไหลที่หน(าตัดที่ 1 ไปหน(าตัดที่ 2


106

ตัวอย2างที่ 3.6 จากตัวอยางที่ 3.4 จงหาความเร็วและอัตราการไหลของ หากการไหลจากตําแหนงที่ 1 ไป


ตําแหนงที่ 2 มีการสูญเสียพลังงานดังกรณีตอไปนี้
a) มีการสูญเสียพลังงาน 2 m
b) มีการสูญเสียพลังงานเทากับ 2 เทาของเฮดความเร็วที่ตําแหนงที่ 2
วิธีทํา จากสมการของแบรนูลลี

P1 V12 P V2
z1 + + = z2 + 2 + 2 + H L (Ex3.6-1)
γ 2g γ 2g

จากรูปที่ Ex3.4-1 z1 = 55 m , z1 = 35 m , P1 = P2 = ความดันบรรยากาศ และ V1 ≈ 0


เนื่องจากถังน้ํามีขนาดใหญการไหลออกที่ตําแหนงที่ 2 ทําให(ระดับน้ําที่ตําแหนงที่ 1 มีการลดระดับน(อย
มาก ดังนั้นความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 เทากับศูนย
a) มีการสูญเสียพลังงาน 2 m แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.6-1 จะได(

(55 − 35) +  P1 − P2  + 0 − 2 = V2


2

γ γ  2g
V2 = 2 ⋅ g ⋅18 = 18.79 m/s
π ⋅ 0.12
อัตราการไหล; Q = AV = × 18.79 = 0.148 m 3 s
4

b) มีการสูญเสียพลังงานเทากับ 2 เทาของเฮดความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่


Ex3.6-1 จะได(

 P1 P2  V22
(55 − 35) +  −  + 0 = 3
γ γ  2g
2
V2 = ⋅ g ⋅ 20 = 11.437 m/s
3
π ⋅ 0.12
อัตราการไหล; Q = AV = × 18.79 = 0.09 m 3 s
4

- ความเร็วและอัตราการไหลที่น้ําพุงออกจากทอกรณีมีการสูญเสียพลังงาน 2 m มีคา
เทากับ 18.79 m/s และ 0.148 m3/s ตามลําดับ
- ความเร็วและอัตราการไหลที่น้ําพุงออกจากทอกรณีมีการสูญเสียพลังงานเทากับ 2 เทา
ของเฮดความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 มีคาเทากับ 11.437 m/s และ 0.09 m3/s ตามลําดับ
107

ตัวอย2างที่ 3.7 น้ําไหลผานข(อตอลดขนาดด(วย


อัตราการไหล 80 liter/s ทําการวัดความดันที่
ตําแหนงที่ 2 พบวามีคาเทากับ 2,500 Pa จงหา
ขนาดและทิศทางของแรงกระแทกของน้ําที่กระทํา
กับข(อตอลดขนาด (กําหนด: การไหลเปนแบบคงที่
และไมมีการสูญเสียพลังงานระหวางการไหล)
รูปที่ Ex3.7-1 การไหลผานข(อลด

วิธีทํา การหาแรงกระทําต(องใช(สมการโมเมนตัม กรณีการไหลเปนแบบคงที่จะได(

พิจารณาแกน x : ∑ F = ∑ (ρQV )
x x out − ∑ (ρQV x )in (Ex3.7-1)

พิจารณาแรงที่กระทํากับข(อลดตอลดขนาด จะได(ดังรูป

รูปที่ Ex3.7-2 แรงที่กระทํากับข(อลดและทิศทางความเร็วของน้ํา

จากรูปแทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex7-1 จะได(

F1 − F2 − Fx = (ρQV x )out − (ρQV x )in (Ex3.7-2)

เมื่อ
F1 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุม (ข(อตอลดขนาด, เส(นประ) ทางด(านเข(า มีคาเทากับ P1A1
F2 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุม (ข(อตอลดขนาด, เส(นประ) ทางด(านออก มีคาเทากับ P2A2
Fx คือ แรงต(านทานการกระแทกของน้ําซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ําแตทิศทางตรงกันข(าม
(V x )in คือ ความเร็วทางด(านเข(าของทอตามทิศทางแกน x = V1
(Vx )out คือ ความเร็วทางด(านออกของทอตามทิศทางแกน x = V2
ρ in = ρ in = ρ w คือความหนาแนนของน้ํา (ของไหลอัดตัวไมได()
Qin = Qout = Q คืออัตราการไหล (สมการความตอเนื่อง) นําคาตาง ๆ แทนลงในสมการ Ex3.7-2 จะได(
108

P1 A1 − P2 A2 − Fx = ρQ (V2 − V1 ) (Ex3.7-2)

จากสมการที่ Ex3.7-2 ต(องการทราบคา Fx ซึ่งเปนตัวแปรที่ไมทราบคา ตัวแปรที่เหลือสามารถหาได(ดังนี้

π × 0.6 2 π × 0.4 2
A1 = = 0.283 m 2 , A2 = = 0.126 m 2
4 4

V1 =
(80 1,000 ) = 0.283 m/s , V2 =
(80 1,000 ) = 0.635 m/s
0.283 0.126

P2 = 250 × 10 3 N/m 2 และ P1 หาได(จากสมการพลังงานดังนี้

 P  V 2 V 2 
P1 = γ w ⋅ ( z2 − z1 ) + 2 +  2 − 1  (Ex3.7-3)
 γ  2 g 2 g 

จากรูปที่ Ex7-1 z1 = z2 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex.7-2 จะได(

 2,500  0.6352 0.2832  2


P1 = 9,810 × 0 + +  −  = 2,661.57 N/m
 9,810  2 g 2 g 

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.7-2 จะได(

2,661 .57 × 0 .283 − 2,500 × 0.126 − Fx = 1,000 × 0.08 × (0 .635 − 0 .283 )

Fx = 410.06 N ←

ตอบ ดังนั้นแรงที่น้ํากระทํากับข(อตอลดมีคาเทากับ 410.06 N →


109

ตัวอย2างที่ 3.8 จงหาแรงกระแทกของน้ําที่กระทํา


กับหัวฉีดดับเพลิงดังรูป น้ําไหลผานหัวฉีดด(วย
อัตราการไหล 40 liter/s ทําการวัดความดันที่
ตําแหนงที่ 1 พบวามีคาเทากับ 100 kPa จงหา
การสูญเสียพลังงานที่เกิดขึ้น และขนาดและ
ทิศทางของแรงกระแทกของน้ําที่กระทํากับหัวฉีด
(กําหนด: การไหลเปนแบบคงที่)
รูปที่ Ex3.8-1 การไหลผานข(อลด

วิธีทํา การหาแรงกระทําต(องใช(สมการโมเมนตัม กรณีการไหลเปนแบบคงที่จะได(

พิจารณาแกน x : ∑ F = ∑ (ρQV )
x x out − ∑ (ρQV x )in (Ex3.8-1)

พิจารณาแรงที่กระทํากับข(อลดตอลดขนาด จะได(ดังรูป

รูปที่ Ex3.8-2 แรงที่กระทํากับข(อลดและทิศทางความเร็วของน้ํา

จากรูปแทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex8-1 จะได(

F1 − F2 − Fx = (ρQV x )out − (ρQV x )in (Ex3.8-2)

เมื่อ
F1 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุม (ข(อตอลดขนาด, เส(นประ) ทางด(านเข(า มีคาเทากับ P1A1
F2 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุม (ข(อตอลดขนาด, เส(นประ) ทางด(านออก มีคาเทากับ P2A2
Fx คือ แรงต(านทานการกระแทกของน้ําซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ําแตทิศทางตรงกันข(าม
(V x )in คือ ความเร็วทางด(านเข(าของทอตามทิศทางแกน x = V1
(Vx )out คือ ความเร็วทางด(านออกของทอตามทิศทางแกน x = V2
ρ in = ρ in = ρ w คือความหนาแนนของน้ํา (ของไหลอัดตัวไมได()
Qin = Qout = Q คืออัตราการไหล (สมการความตอเนื่อง) นําคาตาง ๆ แทนลงในสมการ Ex3.8-2 จะได(
110

P1 A1 − P2 A2 − Fx = ρQ (V2 − V1 ) (Ex3.8-3)

จากสมการที่ Ex3.8-3 ต(องการทราบคา Fx ซึ่งเปนตัวแปรที่ไมทราบคา ตัวแปรที่เหลือสามารถหาได(ดังนี้

π × 0.12 π × 0.075 2
A1 = = 7.854 × 10 −3 m 2 , A2 = = 4.418 × 10 −3 m 2
4 4

V1 =
(40 1,000 ) = 5.093 m/s , V2 =
(40 1,000 ) = 9.054 m/s
-3
7.854 × 10 4.418 × 10 -3

P1 = 100 × 10 3 N/m 2 และ P2 = 0 N/m 2 เนื่องจากปลายหัวฉีดสัมผัสกับอากาศ

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.8-3 จะได(

100 × 10 3 × 7.854 × 10 −3 − 0 − Fx = 1,000 × 0.04 × (9.054 − 5.093 )

Fx = 626.96 N ←

ดังนั้นแรงที่น้ํากระทํากับข(อตอลดมีคาเทากับ 626.96 N →

สําหรับการสูญเสียพลังงานหาได(ดังนี้

 P1 P2   V12 V22 
H L = ( z1 − z 2 ) +  −  +  −  (Ex3.8-4)
 γ γ   2g 2g 

จากรูปที่ Ex3.8-1 z1 = z2 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.8-4 จะได(

 100 × 103   5.0932 9.054 2 


H L = 0 +  − 0  +  −  = 7.33 m (Ex3.8-5)
 9810   2g 2 g 

ตอบ แรงที่น้ํากระทํากับข(อตอลดมีคาเทากับ 626.96 N ทิศจากซ(ายไปขวา ( → ) และมีการสูญเสีย


พลังงาน 7.33 m
111

ตัวอย2างที่ 3.9 น้ําไหลผานข(องอรูปตัว U ขนาดเส(นผานศูนยกลาง 15 cm ด(วยความเร็วที่ทางเข(า (จุดที่


1) ขนาด 2.5 m/s ดังรูป มีการสูญเสียพลังงาน
ของการไหลจากจุดที่ 1 ไป จุดที่ 2 เทากับ 2.5
เทาของเฮดความเร็วทางด(านออก (จุดที่ 2) จง
หาความดันที่จุดที่ 2 และแรงกระแทกของน้ําที่
กระทํากับข(องอ (ข(องอวางอยูในแนวระนาบและ
การไหลเปนแบบคงที่)

รูปที่ Ex3.9-1 การไหลผานข(อตอรูปตัว U

วิธีทํา การหาแรงกระทําต(องใช(สมการโมเมนตัม กรณีการไหลเปนแบบคงที่จะได(

พิจารณาแกน y : ∑ F = ∑ (ρQV )
y y out − ∑ (ρQV y )in (Ex3.9-1)

พิจารณาแรงที่กระทํากับข(อลดตอลดขนาด จะได(ดังรูป

รูปที่ Ex3.9-2 แรงที่กระทํากับข(องอและทิศทางความเร็วของน้ํา

จากรูปแทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex3.9-1 จะได(

− F1 − F2 + Fx = (ρQV y )out − (ρQV y )in (Ex3.9-2)


เมื่อ
F1 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุม (ข(องอ, เส(นประ) ทางด(านเข(า มีคาเทากับ P1A1
F2 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุม (ข(องอ, เส(นประ) ทางด(านออก มีคาเทากับ P2A2
Fy คือ แรงต(านทานการกระแทกของน้ําซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ําแตทิศทางตรงกันข(าม
112

(V ) คือ ความเร็วทางด(านเข(าของทอตามทิศทางแกน x = -V1


y in

(V ) คือ ความเร็วทางด(านออกของทอตามทิศทางแกน x = V2
y out

ρ in = ρ in = ρ wคือความหนาแนนของน้ํา (ของไหลอัดตัวไมได()
Qin = Qout = Q คืออัตราการไหล (สมการความตอเนื่อง) นําคาตาง ๆ แทนลงในสมการ Ex3.9-2 จะได(

− P1 A1 − P2 A2 + Fy = ρQ (V2 − (− V1 )) (Ex3.9-3)

จากสมการที่ Ex3.9.3 ต(องการทราบคา Fy ซึ่งเปนตัวแปรที่ไมทราบคา ตัวแปรที่เหลือสามารถหาได(ดังนี้

π × 0.15 2
A1 = = 0.0177 m 2 = A 2 , V1 = V2 = 2.5 m/s ,
4
Q = A1V1 = 0 .0177 × 2.5 = 0.0442 m 3 /s

P1 = 200 × 10 3 N/m 2 และ P2 หาได(จากสมการพลังงานดังนี้

 P V 2 V 2  V2
P2 = γ w ⋅ ( z1 − z2 ) + 1 +  1 − 2  − 2.5 2  (Ex3.9-4)
 γ  2g 2g  2g 

จากรูปที่ Ex3.9-1 z1 = z2 และ V1=V2 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.9-4 จะได(

 250 × 103 2 .5 2  2
P2 = 9,810 × 0 + + 0 − 2 .5 ×  = 242.19 kN/m
 9,810 2g 

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.9-2 จะได(

[(− 250 − 242 .19 )× 10 3


]
× 0.0177 + Fy = 1,000 × 0.0442 × (0 )

Fy = 8,711 .76 N ↑

ตอบ ดังนั้นแรงที่น้ํากระทํากับข(องอมีคาเทากับ 8,711.76 N ↓


113

ตัวอย2างที่ 3.10 น้ําไหลผานข(อตอสามทางดังรูป โดยไหล


เข(าทางหน(าตัดที่ 1 และไหลออกทางหน(าตัดที่ 2 จงหาวา
น้ําจะไหลเข(าหรือไหลออกทางหน(าตัดที่ 3 และแรง
กระแทกของน้ําที่กระทํากับข(อตอดังกลาว (ข(อตอสามทาง
วางอยูในแนวระนาบ ไมมีการสูญเสียพลังงานระหวางการ
ไหลและการไหลเปนแบบคงที่)

รูปที่ Ex3.10-1 การไหลผานข(อตอสามทาง

วิธีทํา จากสมการความตอเนื่องจะได(

∑Q in = ∑ Qout (Ex3.10-1)

สมมติน้ําไหลออกทางหน(าตัดที่ 3 จะได(

Q1 = Q2 + Q3

π 0 .4 2 π 0 .2 2
×4 = × 12 + Q3
4 4

Q 3 = 0.1257 m 3 /s

ดังนั้นน้ําจะไหลออกทางหน(าตัดที่ 3 ด(วยอัตราการไหล 0.1257 m3/s

การหาแรงกระทําต(องใช(สมการโมเมนตัม กรณีการไหลเปนแบบคงที่จะได(

พิจารณาแกน x : ∑ F = ∑ (ρQV )
x x out − ∑ (ρQV x )in (Ex3.10-2)

พิจารณาแรงที่กระทํากับข(อตอสามทางดังรูป
114

a) ทิศทางของความเร็ว b) ทิศทางของแรงกระทํา

รูปที่ Ex3.10-2 ทิศทางความเร็วของน้ําแรงที่กระทํากับข(อสามทาง

จากรูปแทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex3.10-2 เนื่องจากที่หน(าตัดที่ 1 ไมมีแรงในแนวแกน X และ


(Vx )in = 0 จะได(

F2 − F3 x − Fx′ = [(ρQV x )2 + (ρQV x )3 ]out (Ex3.10-3)

เมื่อ
F1 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุมที่หน(าตัดที่ 1 (ด(านเข(า) มีคาเทากับ P1A1
F2 คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุมที่หน(าตัดที่ 2 (ด(านออก) มีคาเทากับ P2A2
F3x คือแรงดันน้ําที่กระทํากับปริมาตรควบคุมที่หน(าตัดที่ 3 (ด(านออก) มีคาเทากับ P3 A3 cos θ
Fx′ คือ แรงต(านแรงกระแทกของน้ําซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ํา (Fx) แตทิศทางตรงกันข(าม
(Vx )2 คือ ความเร็วทางด(านออกตามในแนวแกน x = −V (ทิศทางความเร็วตรงกันข(ามกับทิศ +x)
2

(V x )3 คือ ความเร็วทางด(านออกตามในแนวแกน x = +V3 cos θ (ทิศทางของความเร็วมีทิศเดียว +x)


ρ1 = ρ 2 = ρ 3 = ρ w คือความหนาแนนของน้ํา (ของไหลอัดตัวไมได()

P2 A2 − P3 A3 cos θ − Fx′ = ρ (Q3V3 cos θ − V2 ) (Ex3.10-4)


115

จากสมการที่ Ex3.10-4 ต(องการทราบคา Fx′ ซึ่งเปนตัวแปรที่ไมทราบคา ตัวแปรที่เหลือสามารถหาได(


ดังนี้
π × 0.4 2 π × 0.2 2
A1 = = 0.1257 m 2 , A 2 = = 3.142x10 - 2 m 2 ,
4 4
π × 0.12
A3 = = 7.85 × 10 − 3 m 2
4
0 .1257
V1 = 4.0 m/s , V2 = 12.0 m/s V2 = = 16 .0 m/s
, 7.85 × 10 -3
Q1 = 0.5027 m 3 /s , Q 2 = 0.377 m 3 /s , Q 3 = 0.1257 m 3 /s

P1 = 220 × 10 3 N/m 2 ดังนั้น P2 และ P3 หาได(จากสมการพลังงานดังนี้


 P1  V12 V22  
P2 = γ w × ( z1 − z2 ) + +  −  (Ex3.10-5)
 γ  2g 2g 

จากรูปที่ Ex3.10-1 z1 = z2 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.10-5 จะได(

 220 ×103  42 122   2


P2 = 9,810 × 0 + + −   = 156 kN/m
 9,810  2 g 2 g 

เชนเดียวกันสามารถหาคา P3 ได(ดังนี้

 P  V 2 V 2 
P3 = γ w × ( z1 − z3 ) + 1 +  1 − 3   (Ex3.10-6)
 γ  2g 2g 

จากรูปที่ Ex7-1 z1 = z2 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.10-6 จะได(

 220 ×103  42 162   2


P3 = 9,810 × 0 + + −   = 100 kN/m
 9,810  2g 2g 

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex3.10-4 จะได(

P2 A2 − P3 A3 cos θ − Fx′ = ρ (Q3V3 cos θ − V2 )

156 × 10 3 × 3.142 × 10 −2 − 100 × 10 3 × 7.85 × 10 −3 − Fx′ = 1,000 × (0.1257 × 16 cos 60 − 0.377 × 12 )


Fx′ = 7634.92 N →
116

ดังนั้นแรงที่น้ํากระทํากับข(อตอสามทางในแนวแกน x เทากับ 7634.92 N →

พิจารณาแกน y : ∑ Fy = ∑ (ρQV y )out − ∑ (ρQV y )in (Ex3.10-7)

จากรูปแทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex3.10-7 เนื่องจากที่หน(าตัดที่ 1 ไมมีแรงในแนวแกน X และ


(Vx )in = 0 จะได(

F3 y − F1 − Fy′ = ( ρ QVy ) − ( ρ QV y )
3 1
(Ex3.10-8)

(
F3 sin θ − F1 + Fy′ = ρ × Q3 × ( −V3 cos θ ) − Q1 × ( −V )1 )
P3 A3 sin θ − P1 A1 + Fy′ = ρ × ( Q1V1 − Q3V3 sin θ ) (Ex3.10-9)

Fy′ คือ แรงต(านแรงกระแทกของน้ําซึ่งมีขนาดเทากับแรงกระแทกของน้ํา (Fy) แตทิศทางตรงกัน


ข(าม จากสมการที่ Ex.3.10-8 ต(องการทราบคา Fy′ ซึ่งเปนตัวแปรที่ไมทราบคา ตัวแปรที่เหลือสามารถหา
ได(ดังนี้
100 × 10 3 × 7.85 × 10 −3 sin 60 − 220 × 10 3 × 0.1257 + Fy′ = 1, 000 × ( 0.5027 × 4 − 0.1257 × 16 sin 60 )
Fy′ = 27, 243.22 N ↓

ดังนั้นแรงที่น้ํากระทํากับข(อตอสามทางในแนวแกน x เทากับ 7634.92 N ↓

แรงลัพธที่กระทํา FR = 7634.922 + 27, 243.222 = 28,292.84 N

27243.22
ทิศทางที่แรงลัพธกระทํา β = tan −1 = 74.34
7634.92

สามารถเขียน free body diagram แสดงตําแหนงของแรง


กระแทกและมุมที่แรงกระแทกกระทําตอข(อตอสามทางได(ดังนี้
117

แบบฝ_กหัดท.ายบท

1. โรงงานแหงหนึ่งต(องการผสมของเหลวสองชนิดคือ A กับ B ที่มีคาความถวงจําเพาะเทากับ 0.95 และ


1.20 ตามลําดับ อัตราการไหลของสาร A ถูก
ควบคุมที่ 0.5 cms หากต(องการควบคุมความ
ถวงจําเพาะของสารผสม ให(มีคา 1.05 จงหาอัตรา
การไหลของสาร B (ของเหลวทั้งสองชนิดอัดตัวได(
น(อยมาก)

2. ถั งใบใหญ ขนาดหนึ่ งปล อยน้ํ า ออกที่ ป ลาย


ท อ ดั ง รู ป ถ( า การไหลเป น แบบคงที่ แ ละไม มี ก าร
สูญเสียพลังงานจงหาอัตราการไหลที่ปลายทอ

3. ถังสี่เหลี่ยมใบหนึ่งมีขนาด 1.5 m x 3.0 m และสูง 2.5 m บรรจุน้ําที่ระดับความสูง 2.2 m ดังรูป ถ(า


หากน้ํ า ไหลออกจากก( น ถั ง ผ า นท อ ที่ มี ข นาดเส( น ผ า น
ศูนยกลาง 8 cm จงหาเวลาที่น้ําไหลออกจากถังทั้งหมด

4. ถังใบหนึ่ง มีทางน้ําไหลเข(าออกในลักษณะดังรูป จงหาวา


น้ําไหลเข(าหรือไหลออกที่ทอที่ 4 ด(วยความเร็วเทาใด เมื่อทอ
ที่ 4 มีขนาดเส(นผานศูนยกลาง 15 mm. และการไหลเปน
แบบคงที่
118

5. ในกระบวนการบําบัดน้ําเสียของร(านอาหารแหงหนึ่งต(องการบําบัดน้ําเสียวันละ 120 m3/s โดย


การแยกไขมันออกจากน้ําเสียด(วยการผสมสารดักจับไขมันลงในน้ําเสีย จากนั้นปลอยลงสูถังพัก
น้ํา ภายในถังพักน้ํามันจะลอยขึ้น
ด(า นบน สว นน้ํา เสีย ที่ ปราศจาก
ไขมั น จะจมลงสู ด( านล า งและถู ก
ระบายทิ้ ง สู แม น้ํ า ในลั ก ษณะดั ง รู ป
ถ( า ความถ ว งจํ า เพาะของน้ํ า เสี ย สาร
ดั กจั บ ไขมั น น้ํ า ทิ้ ง และไขมั น ที่ ค า
เท า กั บ 0.95, 1.00, 1.10 และ
0.80 ตามลําดับ ในการทดสอบหาปริมาณสารดักจับไขมันในห(องปฏิบัติการ พบวาสารดักจับ
ไขมันสามารถดักจับไขมันได( 1.54 L/s ในปริมาณน้ําเสียที่เข(ามาในระบบ 15 L/s จงหาอัตราการ
เติมสารดักจับไขมันที่เหมาะสม และปริมาณน้ําเสียที่ระบายสูธรรมชาติมีปริมาณเทาไรใน 1 วัน

6. โรงบําบัดน้ําเสียแหงหนึ่งต(องการแยกไขมันออกจากน้ําเสียด(วยถังดักไขมัน หลังจากน้ําเสียไหล
ผานถังดักไขมัน ที่ทางออกสามาถวัดอัตราการไหลของ
น้ําเสียได( 4 L/s ความถวงจําเพาะเทากับ 1.2 และเมื่อ
เวลาผานไป 5 นาที ปริมาณไขมันที่ดักได(เพิ่มขึ้น 72
Kg ความถว งจํ า เพาะของไขมั นเท ากั บ 0.6 ถ( า อัต รา
การไหลของน้ําเสียที่ทางเข(ามีคาคงที่ จงหาอัตราการ
ไหลและความหนาแนนของน้ําเสียกอนเข(าถังดักไขมัน

7. ทําการผสมสารเคมี A กับ B ในลักษณะดังรูป ต(องการปลอยสารผสมออกสามทางด(วยอัตราการ


ไหลเท า กั น ถ( า สาร A มี ค วามถ ว งจํ า เพาะ 1.5
อัต ราการไหล 10 L/s ส ว นสาร B มี ความ
ถวงจําเพาะ 0.5 อัตราการไหล 20 L/s จงหา
อัตราการไหลและน้ําหนักจําเพาะของสารผสมที่
ทางออกแตละทาง (การไหลเปนแบบคงที่และของ
ไหลเปนของไหลที่อัดตัวไมได()
119

8. เส(นผานศูนยกลางของหัวฉีดเทากับ 15 mm ตอกับทอสงน้ํา เส(นผานศูนยกลาง 30 mm และ


รับอัตราการไหล 12 L/s จงหาขนาดของแรงที่น(อยที่สุดที่จะใช(ยึดหัวฉีดให(ยึดติดกับทอ กําหนด
ρ = 1,030 kg/m3 และ g = 10 m/s2

9. สายพานลําเลียงทรายกําลังเคลื่อนที่ด(วยความเร็ว 1 m/s เพื่อรับทรายจากถังทรายซึ่งตกลงมา


ตามแนวดิ่งด(วยความเร็ว 1.5 m/s ด(วยอัตรา 5 kg/s (ความหนาแนนของทรายประมาณ 2,700
kg/m3) ในตอนแรกสายพานวางและเริ่มรับทรายที่ตกลงมา ถ(าไมคิดแรงเสียดทานของระบบและ
ล(อ จงหาแรงดึงของสายพาน

10. แผนโค(งเรียบทํามุม 60° กับแนวระดับ กําลังเคลื่อนที่ด(วยความเร็ว U = 10 m/s และรับน้ําจาก


หัวฉีดซึ่งพุงจากหัวฉีดที่อยูกับที่ด(วยความเร็ว V = 30 m/s หัวฉีดมีพื้นที่หน(าตัด 0.003 m2 จง
หาแรงดันของน้ําที่กระทําตอแผนโค(งที่เคลื่อนที่

11. จงหาความเร็วของน้ําที่พุงจากหัวฉีดขนาดเส(นผานศูนยกลาง 10 cm เมื่อหัวฉีดอยูต่ําจากระดับ


เก็บน้ําในถัง 4 m (ไมคิดการสูญเสียพลังงาน)

12. อากาศไหลผานทอผนังพรุนด(วยความเร็วสม่ําเสมอ V = 10 m/s ทอพรุนมีขนาดเส(นผาน


ศูนยกลาง 0.3 m และความยาว 3 m ที่ผนังพรุนสมมติให(มีอากาศไหลเข(าด(วยความเร็ว
สม่ําเสมอ 0.25 m/s จงคํานวณหาความเร็วเฉลี่ยของอากาศตรงทางออกโดยสมมติให(อากาศมี
ความหนาแนนคงตัว

13. อุปกรณมีน้ําไหลเข(าและออกภายใต(สภาวะคงตัว กําหนดพื้นที่หน(าตัดตางๆดังตอไปนี้ A1 = 0.15


m2, A2 = 0.4 m2, A3 = 0.3 m2 และ A4 = 0.5 m2 มีน้ําไหลเข(าทางหน(าตัด A1 ด(วยความเร็ว
สม่ําเสมอ 2.5 m/s ไหลเข(าหน(าตัด A2 ด(วยอัตราการไหลโดยปริมาตรเทากับ 0.05 m3/s และ
ไหลออกหน(าตัด A3 ด(วยอัตราการไหลโดยมวลเทากับ 30 kg/s จงหาวาน้ําจะไหลเข(าหรือออก
จากหน(าตัด A4 ด(วยความเร็วเทาไร
120

14. ข( องอ 45 องศาดั งรู ป เมื่ อ ทํ า การวั ด ความดั น


และความเร็วที่ตําแหนงที่ 1 พบวามีคาเทากับ
34 kPa และ 3 m/s ตามลําดับ สมมติวามีการ
สูญเสียพลังงานเนื่องจากการไหลเทากับ 0.5เทา
ของเฮดความเร็วที่ ตําแหน งที่ 1 จงคํา นวณหา
ความดั น และความเร็ ว ที่ ตํ า แหน ง ที่ 2 แรง
กระแทกของน้ําที่กระทํากับข(องอ

15. ปลายข(องอฉีดน้ําออกสูอากาศ เส(นผาศูนยกลาง 50 mm การ


ไหลจากจุด A ถึงจุด B มีการสูญเสียพลังงานไป 1.5 เทาของ
Velocity head ที่จุด A วัดความดันได( 10 kPa จงหาขนาด และ
ทิศทางของแรงที่กระทํากับข(องอ
121

บทที่ 4
การวิเคราะหมิติและความคล.ายคลึง (Dimensionless Analysis and Similitude)
งานด(านวิศวกรรมที่เกี่ยวข(องกับกลศาสตรของไหล หลายปMญหาลักษณะการไหลมีความซับซ(อน
เชนการไหลผานอาคารลดระดับแบบขั้นบันได การไหลผานอาคารน้ําตก การไหลผานอาคารชลศาสตรที่มี
ความซับซ(อน หรือการออกแบบอาคารชลศาสตรที่ไมเคยออกแบบใช(งานมากอน การวิเคราะหหาลักษณะ
การไหลด(วยทฤษฎีบางครั้งไมสามารถหาคําตอบได(ทั้งหมด ดังนั้นการหาคําตอบด(วยแบบจําลองกายภาพ
จึงเปนแนวทางที่ชวยแก(ปMญหาที่ซับซ(อน และชวยสนับสนุนการตัดสินใจให(กับผู(ออกแบบได(เปนอยางดี
อยางไรก็ตามการใช(แบบจําลองกายภาพจําเปนต(องมีการทดลองเพื่อเก็บข(อมูลและต(องทําการทดลองซ้ํา
หลาย ๆ ครั้งเพื่อให(ได(คําตอบของปMญหาที่ถูกต(อง ดังนั้นหากไมมีการวางแผนที่ดีจะให(มีคาใช(จายในการ
หาคําตอบคอนข(างสูง และอาจต(องใช(เวลานานหากตัวแปรที่เกี่ยวข(องมีจํานวนมาก ในการหาคําตอบของ
ปM ญ หาเหล า นั้ น จํ า เป น ต( อ งจํ า ลองโครงสร( า งทางชลศาสตร และสถานการณ ต า ง ๆ ลงมาทดลองใน
ห( อ งปฏิ บั ติ ก ารซึ่ ง เรี ย กว า แบบจํ า ลอง (Model) โดยต( อ งจํ า ลองให( ส ามารถเป น ตั ว แทนของจริ ง
(Prototype) ได(อยางเหมาะสม ไมเชนนั้นจะได(คําตอบที่ผิดไปจากความเปนจริง ปMญหาดังกลาวสามารถ
ทําได(โดยการใช(หลักความคล(ายคลึง (Similitude) และการวิเคราะหมิติ (Dimensionless Analysis) มา
ชวยวิเคราะหเพื่อจัดกลุมของตัวแปรและวางแผนการทดลอง โดยการศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณที่
สนใจภายใต(สภาวะที่ควบคุมทั้งการไหลภายใต(แรงดันละการไหลในทางน้ําเปKด ซึ่งจะชวยลดจํานวนการ
ทดลองให(น(อยลง ทําให(ได(ผลการทดลอง (Empirical Formulation) ไปใช(ทํานายพฤติกรรมของระบบอื่น
ให(ได(คําตอบที่ถูกต(องมากที่สุด

หน2วยและมิติ
หน2วย (Unit)
หน ว ยคื อลั กษณะนามที่ใ ช( ร ะบุ ถึงปริ มาณ ระบบหน ว ยนั้ น มี มาก ทั้งนี้ ขึ้น อยู กับ ภาษาและ
วัฒนธรรมของแตละประเทศ เชนประเทศไทย ก็มีหนวยของตนเอง เชน ความยาววัดเปน ศอก วา เปน
ต( น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให( เ ป น สากลจึ งมี ร ะบบหน ว ยที่ นิ ย มใช( มากที่ สุ ดในปM จ จุ บั น อยู ส องระบบ คื อ System
International Unit หรือที่เรียกวา “ระบบ SI” ตัวยอ SI และ British Gravitational System หรือที่
เรียกวา “ระบบอังกฤษ” ตัวยอ BG โดยในตําราเลมนี้จะได(ใช(ระบบหนวย SI เปนหลัก เนื่องจากเปน
ระบบหนวยที่นิยมใช(สําหรับประเทศไทย สําหรับวิชากลศาสตรของไหลนั้นหนวยวัดปริมาณพื้นฐานมีอยู
4 ปริมาณคือ มวล ความยาว เวลา และแรง โดยมีหนวยและสัญลักษณดังตารางที่ 4.1
122

ตารางที่ 4.1 หนวยพื้นฐานของระบบ SI และ BG


SI Unit BG Unit
ปริมาณ (quantity) สัญลักษณของหนวย สัญลักษณของหนวย
หนวย (unit) หนวย (unit)
(symbol of unit ) (symbol of unit )
ความยาว (length) เมตร (meter) m ฟุต (foot) ft
มวล (mass) กิโลกรัม (kilogram) kg Slugs slugs
เวลา (time) วินาที (second) s วินาที (second) s
อุณหภูมิ (temperature) เคลวิน (Kelvin) K Rankine R

อยางไรก็ตามหนวยที่ใช(ไมตายตัวเสมอไป เชน มวล อาจมีหนวยเปน กิโลกรัม กรัม หรือ ความ


ยาวอาจมีหนวยเปน เมตร กิโลเมตร เซนติเมตร เปนต(น ดังนั้นเพื่อให(หนวยเหลานี้อยูในรูปแบบเดียวกัน
จึงได(กําหนดมิติขึ้นมาดังรายละเอียดดังนี้
มิติ (Dimensions)
มิติ คือสัญลักษณที่ใช(เปนตัวแทนของหนวย แบงได(สองประเภทคือ มิติปฐมภูมิ และมิติทุติยภูมิ
มิติปฐมภูมิ หรือ มิติพื้นฐาน (Primary Dimensions or Basic Dimensions)
มิติปฐมภูมิ หมายถึง มิติของตัวแปรพื้นฐานที่ไมสามารถแยกเปนมิติอื่นได(อีก และไมขึ้นอยูกับมิติ
อื่นๆ โดยได(เน(นใช(มิติพื้นฐาน 4 ตัว ซึ่งเปนมิติพื้นฐานที่ใช(มากในงานด(านกลศาสตรของไหล ตามหนวย
พื้นฐานดังนี้
ตารางที่ 4.2 มิติปฐมภูมิของระบบ SI และ BG
SI Unit BG Unit
ปริมาณ (quantity) มิติ มิติ
หนวย (unit) หนวย (unit)
(dimension) (dimension)
ความยาว (length) เมตร (meter) L ฟุต (foot) L
มวล (mass) กิโลกรัม (kilogram) M Slugs M
เวลา (time) วินาที (second) T วินาที (second) T
อุณหภูมิ (temperature) เคลวิน (Kelvin) θ Rankine θ
มิติทุติยภูมิ (Secondary Dimensions)
มิติทุติยภูมิคือมิติที่มีเทอมของมิติปฐมภูมิอยางน(อยสองเทอมขึ้นไป เชน พื้นที่เกิดจาก ความ
กว(าง (L) คูณความยาว (L) ดังนั้น พื้นที่ จึงมีมิติเปน L2 หรือ ความเร็ว คือ ระยะทางที่เปลี่ยนไป (L) ตอ
หนึ่งหนวยเวลา (T) ดังนั้น ความเร็ว จึงมีมิติเปน LT-1 เปนต(น ตัวอยางมิติทุติยภูมิแสดงดังตารางที่ 4.3
123

ตารางที่ 4.3 มิติทุติยภูมิของระบบ SI และ BG


SI Unit BG Unit
ปริมาณ
สัญลักษณของหนวย มิติ สัญลักษณของหนวย มิติ
(quantity)
(symbol of unit ) (dimension) (symbol of unit ) (dimension)
พื้นที่ (area) m2, cm2, L2 ft2, inch2 L2

ปริมาตร (volume) m3, cm3, L3 ft3, inch3 L3

ความหนาแน2น (density) kg/m3, g/cm3 ML-3 slug/ft3 ML-3

น้ําหนักจําเพาะ (specific weight) N/m3 ML-2T-2 lb/ft3 ML-2T-2

ความถ2วงจําเพาะ (specific gravity) - - - -

ปริมาตรจําเพาะ (specific volume) m3/kg, cm3/g L3M-1 slug/ft3 L3M-1

ความหนืดจลศาสตร (kinematics viscosity) m2/s L2T-1 ft2/s L2T-1

ความหนืดสัมบูรณ (dynamics viscosity) N·s/m2 ML-1T-1 lb·s/ft2 ML-1T-1

ความเร็ว (velocity) m/s, km/hr, cm/min LT-1 ft/s, mi/hr, inch/min LT-1

ความเร2ง (acceleration) m/s2 LT-2 ft/s2 LT-2

ความเร็วเชิงมุม (angular velocity) rpm T-1 rpm T-1

ความเร2งเชิงมุม (angular velocity) round/s2 T-2 round/s2 T-2

มุม (angle) - - - -

แรง (force) N MLT-2 lb MLT-2

พลังงาน (energy) N·m ML2T-2 lb·ft ML2T-2

กําลัง (power) N·m/s ML2T-3 lb·ft/s ML2T-3

ความดัน (pressure) N/m2 ML-1T-2 lb/ft2 ML-1T-2

ความเครียด (stress) N/m2 ML-1T-2 lb/ft2 ML-1T-2

ความเค.น (strain) - - - -

ความตึงผิว (surface tension) N/m2 ML-1T-2 lb/ft2 ML-1T-2

งาน (work) N·m ML2T-2 lb·ft ML2T-2

โมเมนตัม (momentum) kg·m/s MLT-1 slug·ft/s MLT-1


124

จากตารางที่ 4.2 และ ตารางที่ 4.3 จะเห็นได(วาไมวาหนวยจะอยูในระบบใดจะมีมิติที่เหมือนกัน


ดังนั้นจึงทําให(ผู(เรียนเข(าใจงายขึ้นและเปนประโยชนในเรื่องการเรียนเรื่องการวิเคราะหมิติและความ
คล(ายคลึง
การวิเคราะหมิติ (Dimensionless Analysis)
การวิเคราะหมิติ เปนเทคนิคทางคณิตศาสตรในการจัดกลุมตัวแปรเพื่อหาความสัมพันธระหวาง
ตัวแปรที่สนใจกับตัวแปรที่เกี่ยวข(องให(เปนกลุมตัวแปรไร(มิติ (Dimensionless Group) แล(วศึกษา
ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติแทน ซึ่งจะชวยจํานวนการทดลองลงได(มาก เชน ต(องการศึกษาหา
ความดันที่ลดลงของของไหลนิวโทเนียนชนิดอัดตัวไมได( (Incompressible Newtonain Fluid) ตอหนึ่ง
หนวยความยาวทอ ( ∆p L ) ในทอกลมที่มีลักษณะตรงยาว ผนังเรียบ วางในแนวนอน ซึ่งได(พิจารณาแล(ว
ตัวแปรสําคัญที่เกี่ยวข(องเพื่อหาคําตอบนี้ได(แก ขนาดเส(นผานศูนยกลางของทอ (D) ความหนาแนนของ
ของไหล ( ρ ) ความหนืดพลศาสตรของของไหล ( µ ) ความเร็วเฉลี่ยการไหล (V) โดยสามารถเขียนเปน
สมการแสดงความสัมพันธได(เปน

∆p L = f (D, ρ , µ ,V ) (4.1)

จากสมการที่ 4.1 ต(องทําการเปลี่ยนคาตัวแปรที่ละตัวโดยควบคุมตัวแปรอื่นให(คงที่เพื่อให(ได(


คําตอบวาตัวแปรแตละตัวมีอิทธิพลตอคาความดันที่ลดลงตอหนึ่งหนวยความยาวทออยางไร เชน เมื่อ
ต(องการทราบอิทธิพลของขนาดเส(นผานศูนยกลางทอ ต(องทําการเปลี่ยนเฉพาะคา D และควบคุม
ρ , µ ,V ให(คงที่ แล(ววัดดําเนินการวัดคา ∆p L ซึ่งจะได(ผลดังรูปที่ 4.1a สําหรับตัวแปรอื่น ๆ ก็สามารถ
ทําได(ในลักษณะเดียวกันดังแสดงในรูปที่ 4.1b ถึง4.1d
125

(a) (b)

(c) (d)

รูปที่ 4.1 อิทธิพลของตัวแปรตาง ๆ ตอความดันที่ลดลงของการไหลภายในทอ

รูป ที่ 4.1 แสดงอิ ทธิพลของตัว แปรต าง ๆ ต อความดัน ที่ ลดลงของการไหลภายในทอภายใต(


สภาวะการไหลภายใต(แรงดันซึ่งมีข(อดีที่สามารถแสดงถึงอิทธิพลของตัวแปรตาง ๆ ได(อยางชัดเจน แตก็มี
ข(อเสียหลายประการเชน จําเปนต(องมีจํานวนการทดลองจํานวนมากทําให(สิ้นเปลืองงบประมาณและเวลา
หรือการทดลองบางครั้งมีความยุงยากเชน การแปรผันคาความหนืดพลศาสตรโดยให(ตัวแปรอื่นคงที่ดังใน
รูป 4.1b ทํ าได(ย ากเพราะถ(า ความหนื ด แปรเปลี่ ย นจะทํ าให(ความหนาแน น เปลี่ย นไปด( ว ย จึ งอาจ
จําเปนต(องใช(เครื่องมือในการควบคุมสภาวะการทดลองที่มีราคาแพง (การแก(ไขปMญหาดังกลาวนี้สามารถ
ทําได(โ ดยเปลี่ ยนชนิด ของ ๆ ไหลหลาย ๆ ชนิดในสภาวะอุณหภู มิห(อง) และที่ สําคัญไมสามารถแสดง
อิทธิพลความสัมพันธของตัวแปรเปนความสัมพันธเดียวกัน เพื่อให(ได(ความสัมพันธที่เปนลักษณะทั่วไป
และสามารถนําไปใช(กับระบบอื่น ๆ ที่มีความคล(ายคลึงกันได( ดังนั้นเพื่อให(ลดความยุงยากจากปMญหา
ดังกลาวข(างต(นสามารถทําได(โดยการหาความสัมพันธระหวางตัวแปรที่สนใจ ( ∆p L )กับตัวแปรอื่น ๆที่
เกี่ยวข(อง (D, ρ , µ ,V ) โดยการจัดเปนเปนกลุมตัวแปรไร(มิติ (วิธีการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติจะได(กลาว
ต อ ไป) แล( ว ทํ า การศึ ก ษาหาความสั ม พั น ธ ข องกลุ ม ตั ว แปรไร( มิ ติ เ หล า นั้ น แทน ดั ง นั้ น แทนที่ จ ะหา
ความสัมพันธของตัวแปรตาง ๆ ดังสมการ 4.1 สามารถหาโดยใช(ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติดังนี้
126

D (∆p L )  ρVD 
= f   (4.2)
ρV 2  µ 

จากความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติดังสมการที่ 4.2 สามารถลดตัวแปรจาก 5 ตัวแปรเหลือ


เพียง 2 กลุมตัวแปรและสามารถนําไปทําการทดลองโดยการแปรผันคา ρVD µ เพื่อหาคาที่เปลี่ยนไป
ของกลุ ม ตั ว แปรไร( มิ ติ D∆p ρV 2 L ผลที่ ไ ด(
สามารถแสดงได(ดังรูปที่ 4.2 ดังนั้ นสามารถลด
จํานวนการทดลอง ลดความยุงยากในการทดลอง
ซึ่งการทดลองเพื่ อหาความสั มพัน ธ ดังรูป ที่ 4.2
สามารถทํ า ได( ง า ยโดยใช( ท อ ที่ ห าได( โ ดยทั่ ว ไป
เลื อ กใช( ข องไหลที่ ห าง า ยเช น น้ํ า น้ํ า มั น ซึ่ งไม
จําเปนต(องเปลี่ยนขนาดทอแม(วาจะเปลี่ยนชนิด
ของ ๆ ไหล ผู(ทําการทดลองสามรถตัดสินใจเลือก
การทดลองที่ ใ ห( ส ามารถใช( ง บประมาณที่ น( อ ย
ที่สุดและให(คําตอบที่ถูกต(องมากที่สุด รูปที่ 4.2 ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติที่ใช(ใน
การศึกษาความดันที่ลดลงตอหนึ่งหนวยความยาวทอ

พื้นฐานที่ใช(ในการหาความสัมพันธให(ได(กลุมตัวแปรไร(มิตินี้ ต(องเข(าใจมิติของแตละตัวแปร (ดูบท


ที่ 1) ซึ่งสามารถแสดงในรูปของมิติพื้นฐานคือ (Basic Dimension) สองระบบคือ 1) ระบบ MLT ได(แก
มวล (Mass) มิติคือ M ความยาว (Length) มิติ L และ เวลา มิติ คือ T และ 2) ระบบ FLT ได(แก แรง
(Force) มิติคือ F ความยาว (Length) มิติ L และ เวลา มิติ คือ T มีมิติวามิติของตัวแปรได(จําเปนต(อง
เข(าใจพื้นฐาน ดังนั้นมิติตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข(องของปMญหาดังกลาวข(างต(นได(แก (พิจารณาในระบบ
FLT) ∆p L คือ FL-3, D คือ L, ρ คือ FL-4T-2, µ คือ FL-2T, V คือ LT-1 ซึ่งสามารถใช(ตรวจสอบกลุมตัว
แปรไร(มิติของสมการที่ 4.2 วาเปนกลุมตัวแปรไร(มิติหรือไมได(ดังนี้

D(∆p L )
=
L FL−3 ( ) = F 0 L0T 0 = 1 = ไร้ มิติ
ρV 2 (
FL− 4T 2 LT −1 )( )
2

ρVD (FL−4T 2 )(LT −1 )L


และ
(FL−2T ) = F L T = 1 =ไร้ มิติ
0 0 0
=
µ
127

ประโยชน ใ นการจั ด กลุ ม ตั ว แปรไร( มิ ติ น อกจากสามารถลดจํ า นวนการทดลองลงได( แ ล( ว


ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติจะไมขึ้นอยูกับหนวยที่ใช( ดังนั้นสามารถใช(ความสัมพันธดังกลาวนี้ได(
กับทุกระบบหนวย ซึ่งการวิเคราะหปMญหาด(วยวิธีการจัดกลุมตัวแปรให(เปนกลุมตัวแปรไร(มิติเรียกวา การ
วิเคราะหมิติ ในบทนี้จะกลาวถึงวิธีการวิเคราะหมิติของ วิธีของเรยไลท (Rayleigh Method) และวิธีของ
บัคกิ้งแฮมไพน (Buckingham -Π)

วิธีของเรยไลท (Rayleigh’s method)


วิธีการของเรยไลท เปนวิธีการการวิเคราะหโดยทําให(ตัวแปรอยูในรูปความสัมพันธยกกําลัง โดย
กํ า หนดให( φ เป น ฟM ง ก ชั น ใด ๆ ซึ่ ง แปรผั น ตามฟM ง ก ชั น ϕ1 , ϕ2 , ϕ3 ,..., ϕn ซึ่ ง สามารถเขี ย นใน
ความสัมพันธได(ดังนี้
ϕ = f (ϕ1 , ϕ 2 , ϕ3 ,..., ϕ n ) (4.3)
ซึ่ ง ในการทดลองใด ๆ นั้ น มั กจะมี ค า คงที่ ไ ร( มิ ติ C ซึ่ ง เป น เสมื อ นตั ว ปรั บ แก( ค า จากการทดลอง และ
ดําเนินการใสคายกกําลังให(กับตัวแปรตาง ๆ และสามารถจัดรูปสมการใหมได(เปน
ϕ = C (ϕ1a , ϕ 2b , ϕ3c ,..., ϕn n ) (4.4)
จากนั้นดําเนินการหาคาเลขยกกําลัง a, b, c,..., n เพื่อหาคําตอบของสมการดังตัวอยาง
128

ตัวอย2างที่ 4.1 ต(องการทราบแรงที่กระทําตอใบพัด (F) ของเครื่องสูบน้ําชนิดหนึ่งซึ่งแรงกระทําดังกลาว


ขึ้นอยูกับขนาดเส(นผานศูนยกลาง (D) ของเครื่องสูบน้ํา และความเร็วรอบการหมุนของใบพัด (N)
ความเร็วการไหลของของไหล (V) ความหนาแนนของของไหล (ρ ) และความหนืดพลศาสตรของของไหล
(µ )
วิธีทํา วิธีการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติตามวิธีการของเรยไลททําได(ดังนี้

เขียนฟMงชั่นของสมการ

(
F = C D a , N b ,V c , ρ d , µ e ) (E4.1-1)

โดยตัวแปรแตละตัวมีมิติดังตาราง (วิเคราะหระบบ MLT)

F D N V ρ µ
MLT-2 L T-1 LT-1 ML-3 ML-1T-1

นํามิติของตัวแปรตาง ๆ มาเขียนสมการให(อยูในระบบเลขยกกําลัง

MLT −2 = C  La × T −1 × LT −1 × ML−3 ) × ( ML T ) 


b c d −1 e

( ) ( ) ( −1

แก(สมการหาคาเลขยกกําลัง โดยการแยกพิจารณา M L และ T

M; 1 = d+e (E4.1-2)

L; 1 = a+c-3d-e (E4.1-3)

T; -2 = -b-c-e (E4.1-4)

ทําการแก(สมการที่ E4.1-2 ถึง E4.1-4 ซึ่งมี 3 สมการ 5 ตัวแปร การหาคําตอบที่แนนนอนไมสามารถทํา


ได( อยางไรก็ตามสามารถแทน a, c, d ในรูป b และ e ได(

d = 1- e

c = 2-b-e

a = 1-c+3d+e =2+b-e
129

นําคาตาง ๆ มาแทนคาในสมการที่ E4.1-1

(
F = C D (2+b −e ) , N b , V (2−b−e ) , ρ (1−e ) , µ e ) (E4.1-5)

จัดรูปสมการ E4.1-5 ได(เปน


e
 µ 
b
 DN 
F = C ρD V  2

2
 
 V   ρDV 
e
 F   µ 
b
 DN 
หรือ   = C
2 2     (E4.1-6)
 ρD V   V   ρDV 

สมการที่ E4.1-6 ต(องทําการตรวจสอบวากลุมตัวแปรไร(มิติที่สร(างขึ้นเปนกลุมตัวแปรไร(มิติหรือไม


F MLT −2
= = M 0 L0T 0 = 1 = ไร้ มิติ
(
ρD 2V 2 ML−3 (L )2 LT −1 ) ( )2

DN (L ) T −1
=
( )
= L0T 0 = 1 = ไร้ มิติ
V LT −1

µ ML−1T −1
= = M 0 L0T 0 = 1 = ไร้ มิติ
ρVD (ML LT (L )
−3 −1
)( )
โดยเลขยกกําลัง b และ e สามารถเปนเลขจํานวนนับใด ๆ ก็ได( เชน

ถ(า b = 1 จะได( DN V แตถ(า b = -1 จะได( V DN สมการที่ 4.1-6 จะกลายเปน

 F   DN  µ 
  = C
2 2    (E4.1-7)
 ρD V   V  ρDV 

ถ(า e = 1 จะได( µ ρDV แตถ(า b = -1 จะได( ρDV µ

 F   V  ρDV 
  = C
2 2    (E4.1-8)
 ρD V   DN  µ 

เมื่อ C คือสัมประสิทธิ์ใด ๆ อยางไรก็ตามหากตัวแปรต(นมีจํานวนมาก วิธีของเลยไลทจะมีความยุงยากใน


การหาคําตอบมาก ดังนั้นวิธีของบัคกิ้งแฮมไพนจึงเปนที่นิยมโดยมีรายละเอียดดังนี้
130

ทฤษฎีของบัคกิ้งแฮมไพน (Buckingham Pi Theorem)


ทฤษฎีของบัคกิ้งแฮมไพน เปนทฤษฎีที่นิยมในการนํามาใช(วิเคราะหกลุมตัวแปรไร(มิติ โดยทฤษฎี
นี้ จ ะพิ จ ารณาจํ า นวนตั ว แปรทั้ ง หมด k ตั ว ที่ เ ป น สมการเอกพั น ธ ท างมิ ติ (Dimensionally
Homogeneous) และแทนด(วยสมการความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติ (Dimensionless Groups)
จํานวน k-r กลุม เมื่อ r จํานวนของมิติอ(างอิง (Reference Dimensions) ได(แกจํานวนมิติพื้นฐานของตัว
แปรที่สนใจ กลุมตัวแปรไร(มิตินี้นิยมเรียกวา เทอมไพน (Pi Term) สัญลักษณที่ใช(ได(แก Π การหาจํานวน
เทอมไพนหรือการสร( างกลุมตัวแปรไร(มิติจ ะอาศัย หลักการของ สมการเอกพัน ธทางมิ ติ โดยพิจารณา
สมการแสดงความสั ม พั น ธ ข องตั ว แปรทั้ ง หมดจํ า นวน k ตั ว โดยที่ k1 เป น ฟM ง ก ชั่ น ของตั ว แปร
k 2 , k3 , k 4 ,..., k n ดังสมการ

k1 = f (k 2 , k3 , k 4 ,..., k n ) (4.5)

จากหลักการความเปนเอกพันธทางมิติ เมื่อพิจารณาสมการที่ 4.5 จะทําให(ทราบวามิติของตัว


แปรทางด(านซ(ายต(องเทากับมิติของแตละพจนทางด(านขวา ดังนั้นสามารถจัดรูปสมการให(อยูในกลุมของ
ตัวแปรไร(มิติ (ไพเทอม) ได(ดังสมการ

Π1 = φ (Π 2 , Π 3 , Π 4 ,..., Π k − r ) (4.6)

เมื่อ φ (Π 2 , Π 3 , Π 4 ,..., Π k −r ) คือฟMงกชันของ Π 2 ถึง Π n

การสร.างกลุ2มตัวแปรไร.มิติ (Determination of Dimensionless groups)


การสร(างกลุมตัวแปรไร(มิติหรือจํานวนเทอมไพน นิยมใช(วิธีตัวแปรซ้ํา (Method of Repeating
Variables) ซึ่งเปนวิธีการที่สามารถสร(างกลุมตัวแปรไร(มิติได(อยางเปนระบบ โดยที่มั่นใจได(วากลุมตัวแปร
ไร(มิติทุกกลุมจะไมมีมิติและเปนอิสระตอกันโดยมีวิธีการดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(องในการทดลองซึ่งเปนขั้นตอนการกําหนดตัวแปรสําหรับนํามา
วิเคราะห ตัว แปรไร(มิตินั้ นเปน ขั้น ตอนที่ย าก ซึ่ งผู( ทํา การทดลองจํา เปน ต(องกํ าหนดตัว แปรที่ เกี่ ยวข(อง
ทั้งหมดให(ครบถ(วนซึ่งต(องมีจํานวนมากพอที่จะสามารถหาคําตอบได( หากกําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(องน(อย
เกินก็ไมสามารถหาคําตอบของปMญหาได(หรือความถูกต(องลดลง หากกําหนดตัวแปรมากเกินไปกลุมตัวแปร
ไร(มิติที่สร(างขึ้นก็จะมากขึ้นไปด(วย ทําให(เสียงบประมาณและเวลาในการทดลองเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามการ
กําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(องควรจะพิจารณาตัวแปรแตละตัวต(องเปนอิสระตอกัน เชน ถ(าความหนาแนน
(ρ ) และน้ําหนักจําเพาะ (γ ) เปนตัวแปรที่สําคัญ เราสามารถกําหนด ρ กับ γ หรือ ρ กับ g ก็ได( แต
131

ไม ควรเลื อกทั้ ง ρ , γ , g เข( า มาทั้ ง สามตั ว แปรเนื่ องจากทั้ ง สามตั ว แปรไม เ ป น อิ ส ระต อกั น (γ = ρg )
ขั้นตอนนี้สมมติตัวแปรที่สําคัญจํานวน k ตัว: k1 , k2 , k3 , k4 ,..., kn และเขียนฟMงกชันความสัมพันธดัง
สมการ
k1 = f (k 2 , k3 , k 4 ,..., k n )
(4.7)

ขั้นตอนที่ 2 แสดงมิติของตัวแปรและเลือกระบบมิติพื้นฐานที่จะใช(ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติ (ระบบ


MLT หรือระบบ FLTโดยที่ M มีมิติที่สัมพันธกับ F ดังนี้ F = MLT-2)

ขั้นตอนที่ 3 กําหนดจํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติ
จํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติ = จํานวนตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข(อง (k) – จํานวนมิติอ(างอิง
พื้นฐาน (r)

ขั้นตอนที่ 4 เลือกตัวแปรซ้ํา การกําหนดตัวแปรซ้ํามีหลักการดังนี้


 ตัวแปรซ้ําควรเลือกจากกลุมตัวแทนสามกลุมดังนี้
 กลุมตัวแทนทางด(านกายภาพ เชน ขนาด, พื้นที่
 กลุมตัวแทนทางด(านคุณสมบัติของของไหล เชน ความหนาแนน, ความหนืด
พลศาสตร
 กลุมตัวแทนทางด(านจลนศาสตร เชน ความเร็ว, ความเรง เปนต(น
 จํานวนตัวแปรซ้ําจะต(องมีจํานวนเทากับจํานวนมิติอ(างอิง (เทากับ r)
 ไมควรเลือกตัวแปรตาม (ตัวแปรที่เราสนใจหาคําตอบเชน แรงที่กระทําตอใบพัด, F ใน
ตัวอยางที่ 4.1)
 ตัวแปรซ้ําที่ต(องมีมิติที่เปนอิสระตอกัน (dimensionally independent) หมายความวา
ตัวแปรซ้ําต(องไมสามารถรวมกันเองเปนตัวแปรไร(มิติได(
 ตัวแปรซ้ําที่เลือกไมควรเปนตัวแปรไร(มิติ (ตัวแปรที่ไมมีหนวย) อยูแล(ว เชน คา
สัมประสิทธิ์ตาง ความลาดชัน
132

ขั้นตอนที่ 5 สร(างกลุมตัวแปรมิติกลุมที่หนึ่ง มีวิธีการดังนี้


เลือกตัวแปรที่ไมใชตัวแปรซ้ํา (Non-Repeating Variable) มาหนึ่งตัว (ปกติจะเลือกตัวแปร
ตามหรือตัวแปรที่สนใจในการหาคําตบ) นํามาคูณกับผลคูณของตัวแปรซ้ําทั้งหมดที่เลือกใน
ข(อ 4 โดยตัวแปรซ้ําทุกตัวต(องใสเลขยกกําลัง จากนั้นดําเนินการหาคาเลขยกกําลังของตัว
แปรซ้ําทั้งหมด (รายละเอียดการคํานวณดูในตัวอยางที่ 4.2) ก็สามารถสร(างกลุมตัวแปรไร(
มิติกลุมที่หนึ่งได( (Π1 )

ขั้นตอนที่ 6 สร(างกลุมตัวแปรมิติกลุมอื่น ๆ ดําเนินการตามข(อ 5 ก็จะสามารถสร(างกลุมตัวแปรไร(มิติกลุม


อื่นได(ได( Π 2 , Π 3 , Π 4 ,..., Π k −r

ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบกลุมตัวแปรไร(มิติแตละกลุมวาเปนเปนกลุมตัวแปรไร(มิติหรือไม

ขั้นตอนที่ 8 เขียนสมการสร(างความสัมพันธให(อยูในรูปของเทอมไพนที่สร(างขึ้นดังสมการ

Π1 = φ (Π 2 , Π 3 , Π 4 ,..., Π k − r ) (4.8)

เมื่อ Π เปนเทอมไพนที่ประกอบด(วยตัวแปรตามหรือตัวแปรที่เราสนใจศึกษา โดยความสัมพันธของแต


ละเทอมไพนสามารถหาได(จากการทดลอง
133

ตัวอย2างที่ 4.2 จากตัวอยางที่ 4.1 จงใช(ทฤษฎีของบัคกิ้งแฮมไพนในการหากลุมตัวแปรไร(มิติ

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 กําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(องในการทดลอง ในโจทยข(อ 4.1 มีตัวแปรที่เกี่ยวข(องทั้งหมด 6 ตัว
(k=6) ได(แก แรงที่กระทําตอใบพัด (F) ขนาดเส(นผานศูนยกลาง (D) ของเครื่องสูบน้ํา ความเร็วรอบการ
หมุนของใบพัด (N) ความเร็วการไหลของของไหล (V) ความหนาแนนของของไหล (ρ ) และความหนืด
พลศาสตรของของไหล (µ )

ขั้นตอนที่ 2 แสดงมิติของตัวแปรและเลือกระบบมิติพื้นฐานที่จะใช(ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติวิธีการจัด
กลุมตัวแปรไร(มิติ
ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติครั้งนี้เลือกใช(ระบบ MLT ในการวิเคราะห

F D N V ρ µ
MLT-2 L T-1 LT-1 ML-3 ML-1T-1

จํานวนมิติอ(างอิงพื้นฐาน (r) เทากับ 3 คือ M L และ T (ข(อสังเกตจํานวนมิติพื้นฐานหากตัวแปรที่เรา


สนใจเหลือ 4 ตัวโดยตัด ρ กับ µ ออกไป จะทําให(เหลือมิติพื้นฐานอ(างอิง 2 ตัวคือ L และ T)

ขั้นตอนที่ 3 กําหนดจํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติ
จํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติเทากับ 3 เทอม (6-3)

ขั้นตอนที่ 4 เลือกตัวแปรซ้ํา ตัวแปรซ้ําจะมีทั้งหมด 3 ตัว


 ตัวแปรซ้ําควรเลือกจากกลุมตัวแทนสามกลุมดังนี้ โดยเลือกมากลุมละตัวได(แก
 กลุมตัวแทนทางด(านกายภาพ คือ D
 กลุมตัวแทนทางด(านคุณสมบัติของของไหล คือ ρ

 กลุมตัวแทนทางด(านจลนศาสตร คือ V (แรงที่กระทําตอใบพัด, F จัดอยูในกลุมนี้ซึ่ง


ไมควรเลือกมาเปนตัวแปรซ้ํา)
ดังนั้นจะได(ตัวแปรซ้ําคือ D, ρ ,V
 จํานวนตัวแปรซ้ําจะต(องมีจํานวนเทากับจํานวนมิติอ(างอิง (เทากับ r = 3) ซึ่ง D, ρ ,V
มีมิติอ(างอิงของมิติพื้นฐานครบเทากับจํานวนมิติอ(างอิง
134

D ρ V
-3
L ML LT-1

ตัวแปรซ้ําที่เลือกสามารถนํามาใช(วิเคราะหหากลุมตัวแปรไร(มิติได(เนื่องจาก ไมได(เลือกตัวแปรตาม ตัวแปร


ซ้ําที่ต(องมีมิติที่เปนอิสระตอกัน และตัวแปรซ้ําไมเปนตัวแปรไร(มิติ ดังนั้นจึงสามารถนํามาวิเคราะหเพื่อจัด
กลุมตัวแปรไร(มิติได(

ขั้นตอนที่ 5 สร(างกลุมตัวแปรมิติกลุมที่หนึ่ง
Π1 = FD a ρ bV c (E4.2-1)
นํามิติของตัวแปรตาง เขาไปในสมการที่ E4.2-1 (เทอม Π1 มีมิติเทากับ M 0 L0T 0 ) จะได(

( ) (
M 0 L0T 0 = MLT −2 (L ) ML−3
a
) (LT )
b −1 c
(E4.2-2)

แก(สมการที่ E4.2-2 เพื่อหาเลขชี้กําลัง a, b, และ c

M 0 = M 1+b (E4.2-3)
L0 = L1+ a −3b + c (E4.2-4)
T 0 = T −2−c (E4.2-5)
แก(สมการ E4.2-3 ถึง E4.2-5 จะได( b = -1, c = -2 และ a = -2 นําเลขชี้กําลังไปแทนคาในสมการที่
E4.2-1 จะได(

Π1 = FD −2 ρ −1V −2

F
หรือ Π1 = (E4.2-6)
ρD 2V 2

ขั้นตอนที่ 6 สร(างกลุมตัวแปรมิติกลุมอื่น

Π 2 = ND a ρ bV c (E4.2-7)

Π 3 = µD a ρ bV c (E4.2-8)
135

ดําเนินการตามขั้นตอน 5 จะได(กลุมตัวแปรไร(มิติดังนี้
ND
Π2 = (E4.2-9)
V

µ
Π3 = (E4.2-10)
ρVD

ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบกลุมตัวแปรไร(มิติแตละกลุมวาเปนเปนกลุมตัวแปรไร(มิติหรือไม
F
Π1 =
ρD 2V 2

ND
Π2 =
V

µ
Π3 =
ρVD

µ ρVD
หากนํา คา Π3 = ยกกําลัง -1 จะได( '
Π3 = กลุมตัวแปรไรมิติที่รู(จักดีทางกลศาสตรของไหล
ρVD µ
เรียกวา ตัวเลขเรยโนลด (Reynolds number)

ขั้นตอนที่ 8 เขียนสมการสร(างความสัมพันธให(อยูในรูปของเทอมไพนที่สร(างขึ้นดังสมการ

F  ND ρVD 
= φ  ,  (E4.2-11)
2 2
ρD V  V µ 

ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติสามารถหาได(จากการทดลอง
136

ตัวอย2างที่ 4.3 ฝายรูปสามเหลี่ยมจะถูกนํามาใช(วัดอัตราการไหลของน้ําเสียที่ต(องการระบายออกจาก


โรงงานอุตสาหกรรมควบคุมประเภทหนึ่งลงสูแมน้ําซึ่งมีตัวแปรที่เกี่ยวข(องที่ต(องประเมินอัตราระบาย (Q)
คือ ความเร็วการไหลผานฝาย (V) มุมบากของฝาย (θ ) ความสูงของตัวฝาย (H) ความสูงของน้ําเหนือสัน
ฝาย (h) ความหนาแนนของน้ําเสีย (ρ ) ความหนืดของน้ําเสีย (µ ) ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของ
โลก (g)

วิธีทํา กําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(อง Q = φ (V ,θ , H , h, ρ , µ , g ) ทั้งมด 8 ตัว

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(องในการทดลอง Q = φ (V ,θ , H , h, ρ , µ , g ) ทั้งมด 8 ตัว

ขั้นตอนที่ 2 แสดงมิติของตัวแปรและเลือกระบบมิติพื้นฐานที่จะใช(ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติวิธีการจัด
กลุมตัวแปรไร(มิติ

ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติครั้งนี้เลือกใช(ระบบ MLT ในการวิเคราะห

Q V θ H h ρ µ g

L3T-1 LT-1 - L L ML-3 ML-1T-1 LT-2

จํานวนมิติอ(างอิงพื้นฐาน (r) เทากับ 3 คือ M L และ T

ขั้นตอนที่ 3 กําหนดจํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติ
จํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติเทากับ 5 เทอม (8-3)

ขั้นตอนที่ 4 เลือกตัวแปรซ้ํา ตัวแปรซ้ําจะมีทั้งหมด 3 ตัว


 ตัวแปรซ้ําควรเลือกจากกลุมตัวแทนสามกลุมดังนี้ โดยเลือกมากลุมละตัวได(แก
 กลุมตัวแทนทางด(านกายภาพ คือ H (มุมบากของฝาย, θ จัดอยูในกลุมนี้ซึ่งไมควร
เลือกมาเปนตัวแปรซ้ําเนื่องจากเปนตัวแปรที่ไร(มิติ)
 กลุมตัวแทนทางด(านคุณสมบัติของของไหล คือ ρ

 กลุมตัวแทนทางด(านจลนศาสตร คือ V (อัตราการไหล, Q จัดอยูในกลุมนี้ซึ่งไมควร


เลือกมาเปนตัวแปรซ้ํา)
137

ดังนั้นจะได(ตัวแปรซ้ําคือ H , ρ ,V
 จํานวนตัวแปรซ้ําจะต(องมีจํานวนเทากับจํานวนมิติอ(างอิง (เทากับ r = 3) ซึ่ง H , ρ ,V
มีมิติอ(างอิงของมิติพื้นฐานครบเทากับจํานวนมิติอ(างอิง

H ρ V

L ML-3 LT-1

ขั้นตอนที่ 5 สร(างกลุมตัวแปรไร(มิติกลุมที่หนึ่ง

Π1 = QH a ρ bV c (E4.3-1)

นํามิติของตัวแปรตาง เขาไปในสมการที่ E4.3-1 (เทอม Π1 มีมิติเทากับ M 0 L0T 0 ) จะได(

( ) (
M 0 L0T 0 = L3T −1 (L ) ML−3
a
) (LT )
b −1 c
(E4.3-2)

แก(สมการที่ E4.3-2 เพื่อหาเลขชี้กําลัง a, b, และ c

M0 = Mb (E4.3-3)

L0 = L3+ a −3b +c (E4.3-4)

T 0 = T −1−c (E4.3-5)

แก(สมการ E4.3-3 ถึง E4.3-5 จะได( a = -2, b = 0 และ c = -1 นําเลขชี้กําลังไปแทนคาในสมการที่


E4.2-1 จะได(

Π1 = QH −2 ρ 0V −1

Q
หรือ Π1 = (E4.2-6)
VH 2
138

ขั้นตอนที่ 6 สร(างกลุมตัวแปรมิติกลุมอื่น

Π 2 = θH a ρ bV c (E4.3-7)

Π 3 = hH a ρ bV c (E4.3-8)

Π 4 = µH a ρ bV c (E4.3-9)

Π1 = gH a ρ bV c (E4.3-10)

ดําเนินการตามขั้นตอน 5 จะได(กลุมตัวแปรไร(มิติดังนี้
h
Π2 = (E4.2-11)
H

µ
Π3 = (E4.2-12)
ρVD
Π4 = θ (E4.2-13)
gH
Π5 = (E4.2-14)
V2

ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบกลุมตัวแปรไร(มิติแตละกลุมวาเปนเปนกลุมตัวแปรไร(มิติหรือไม
Q
Π1 =
VH 2
h
Π2 =
H
µ
Π3 =
ρVD
Π4 = θ
gH
Π5 = 2
V

ขั้นตอนที่ 8 เขียนสมการสร(างความสัมพันธให(อยูในรูปของเทอมไพนที่สร(างขึ้นดังสมการ

Q h µ gH 
2
= φ  , ,θ , 2  (E4.3-15)
VH  H ρVD V 

ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติสามารถหาได(จากการทดลอง
139

ตัวอย2างที่4.4 ต(องการสร(างเครื่องสูบน้ําแบบใหมเพื่อใช(ให(ตรงตามวัตถุประสงคของการใช(งานในระบบ
ชลประทานของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแหงหนึ่ง ผู(ออกแบบจึงต(องทําการศึกษาหาประสิทธิภาพ
ของเครื่องสูบน้ําในห(องปฏิบัติการ โดยได(พิจารณาถึงตัวแปรที่เกี่ยวข(องดังนี้คือ อัตรากรสูบน้ํา (Q) กําลัง
ของเครื่องสูบน้ํา (P) ขนาดเส(นผานศูนยกลางของ Rotor (D) ความเร็วรอบการหมุนของ Rotor (N) เฮด
ของน้ํา (H) ความหนาแนนของน้ํา (ρ ) และความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (g) จงหากลุมตัวแปร
ไร(มิติเพื่อนํามาหาความสัมพันธและวิเคราะหถึงประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําตอไป

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดตัวแปรที่เกี่ยวข(องในการทดลอง η = φ (Q, P, D, N , H , ρ , g ) ทั้งมด 8 ตัว

ขั้นตอนที่ 2 แสดงมิติของตัวแปรและเลือกระบบมิติพื้นฐานที่จะใช(ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติวิธีการจัด
กลุมตัวแปรไร(มิติ ในการจัดกลุมตัวแปรไร(มิติครั้งนี้เลือกใช(ระบบ FLT ในการวิเคราะห

η Q P D N H ρ g

- L3T-1 FLT-1 L T-1 L FL-4T2 LT-2

จํานวนมิติอ(างอิงพื้นฐาน (r) เทากับ 3 คือ F L และ T

ขั้นตอนที่ 3 กําหนดจํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติ
จํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติเทากับ 5 เทอม (8-3)

ขั้นตอนที่ 4 เลือกตัวแปรซ้ํา ตัวแปรซ้ําจะมีทั้งหมด 3 ตัว


 ตัวแปรซ้ําควรเลือกจากกลุมตัวแทนสามกลุมดังนี้ โดยเลือกมากลุมละตัวได(แก
 กลุมตัวแทนทางด(านกายภาพ คือ H
 กลุมตัวแทนทางด(านคุณสมบัติของของไหล คือ ρ

 กลุมตัวแทนทางด(านจลนศาสตร คือ N (ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ํา, η จัดอยูใน


กลุมนี้ซึ่งไมควรเลือกมาเปนตัวแปรซ้ําเนื่องจากเปนตัวแปรตามที่เราสนใจและเปนตัว
แปรที่ไมมีมิติ)
140

ดังนั้นจะได(ตัวแปรซ้ําคือ D, ρ , N

 จํานวนตัวแปรซ้ําจะต(องมีจํานวนเทากับจํานวนมิติอ(างอิง (เทากับ r = 3) ซึ่ง D, ρ , N


มีมิติอ(างอิงของมิติพื้นฐานครบเทากับจํานวนมิติอ(างอิง

D ρ N

L FL-4T2 T-1

ขั้นตอนที่ 5 สร(างกลุมตัวแปรไร(มิติกลุมที่หนึ่ง

Π 1 = ηD a ρ b N c (E4.4-1)

นํามิติของตัวแปรตาง เขาไปในสมการที่ E4.4-1 (เทอม Π1 มีมิติเทากับ F 0 L0T 0 ) จะได(

(
F 0 L0T 0 = (L ) FL− 4T 2
a
) (T )
b −1 c
(E4.4-2)

แก(สมการที่ E4.3-2 เพื่อหาเลขชี้กําลัง a, b, และ c

F0 = Fb (E4.4-3)

L0 = La −4b (E4.4-4)

T 0 = T 2 b −c (E4.4-5)

แก(สมการ E4.4-3 ถึง E4.4-5 จะได( a = 0, b=0 และ c=0 นําเลขชี้กําลังไปแทนคาในสมการที่ E4.4-1
จะได(

Π 1 = ηD 0 ρ 0 g 0

หรือ Π1 = η (E4.3-6)

จะเห็นได(วาประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําเปนตัวแปรไร(มิติเนื่องจากเปนตัวแปรที่ไมมีหนวย
141

ขั้นตอนที่ 6 สร(างกลุมตัวแปรมิติกลุมอื่น

Π 2 = QD a ρ b N c (E4.4-7)

Π 3 = PD a ρ b N c (E4.4-8)

Π 4 = HD a ρ b N c (E4.4-9)

Π 5 = gD a ρ b N c (E4.4-10)

ดําเนินการตามขั้นตอน 5 จะได(กลุมตัวแปรไร(มิติดังนี้
Q
Π2 = (E4.4-11)
ND 3

P
Π3 = (E4.4-12)
ρN 3 D 5
H
Π4 = (E4.4-13)
D

g
Π5 = (E4.4-14)
DN 2

ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบกลุมตัวแปรไร(มิติแตละกลุมวาเปนเปนกลุมตัวแปรไร(มิติหรือไม
Π1 = η
Q
Π2 =
ND 3
P
Π3 =
ρN 3 D 5
H
Π4 =
D
g
Π5 =
DN 2

ขั้นตอนที่ 8 เขียนสมการสร(างความสัมพันธให(อยูในรูปของเทอมไพนที่สร(างขึ้นดังสมการ

 Q P H g 
η = φ  3
, 3 5
, , 
2 
(E4.4-15)
 ND ρN D D DN 

ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติสามารถหาได(จากการทดลอง
142

ตัว อย างการนํ าทฤษฎี ของบั คกิ้ งแฮมไพน มาวิเ คราะหมิติ และใช(ศึกษาการไหลผา นอาคารชล
ศาสตร เชน การศึกษาของ Chinnarasri และ คณะ (2008) ได(ใช(เทคนิคการวิเคราะหมิติมาศึกษาถึง
ศึกษาการสลายพลังงานของทางระบายน้ําล(นขั้นบันไดแบบกลองตาขาย (EL) โดยมีตัวแปรที่สําคัญดังรูปที่
4.3

รูปที่ 4.3 แบบรางแสดงแบบจําลองกายภาพสําหรับการไหลผานทางระบายน้ําล(นขั้นบันได(แบบกลองตา


ขาย ที่มา: Chinnarasri และ คณะ (2008)
รูปที่ 4.3 Chinnarasri และ คณะ (2008) ได(กําหนดตัวแปรที่สําคัญตอการสลายพลังงานในรูป
ของความสูงน้ํา (EL) ดังนี้ อัตราการไหลตอหนึ่งหนวยความกว(าง (q) ความสูงของทางระบายน้ําล(น (HT)
ความสูงของกลองตาขาย (h) ความยาวของกลองตาขาย (l) มุมเอียงของทางระบายน้ําล(น (α ) ความ
พรุนของกลองตาขาย (e) และความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (g) โดยใช(ทฤษฎีของบักกิงแฮมไพ
สามารถสร(างกลุมตัวแปรไร(มิติได(ดังนี้

EL = φ (q, H T , h, l ,α , e, g ) (4.9)

โดยมีมิติของตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวข(องดังนี้

EL q HT h l α e g
2 -1
L LT L L L - - LT-2
สามารถสร(างกลุมตัวแปรไร(มิติได(ดังนี้
EL  q2 h l 
= φ  3
, , , α , e 

HT  gH T
H T H T 

ความสัมพันธของกลุมตัวแปรไร(มิติสามารถหาได(จากการทดลอง
143

ความเปxนหนึ่งเดียวของเทอมไพน (Uniqueness of Pi Terms)

จากการวิเคราะหกลุมตัวแปรไร(มิติด(วยวิธีตัวแปรซ้ํานั้น รูปแบบของสมการขึ้นอยูกับตัวแปรซ้ําที่
เลือกด(วย ดังตัวอยางการวิเคราะหความดันที่ตกลงตอหนึ่งหนวยความยาวทอ ( ∆p L ) กับตัวแปรอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข(องได(แกขนาดเส(นผานศูนยกลางของทอ (D) ความหนาแนนของของไหล ( ρ ) ความหนืด
พลศาสตรของของไหล ( µ ) ความเร็วเฉลี่ยการไหล (V) เมื่อทําการเลือก D, ρ ,V เปนตัวแปรซ้ําเมื่อ
วิเคราะหกลุมตัวแปรไร(มิติจะได(ความสัมพันธของเทอมไพนคือ D(∆p L ) = φ  ρVD  เมื่อนําทดลอง
 µ 
ρV 2  
และนําข(อมูลมาพล็อตกราฟหาความสัมพันธจะได(ดังรูปที่ 4.4a แตหากเลือก D, µ ,V เปนตัวแปรซ้ําเมื่อ

วิเคราะหกลุมตัวแปรไร(มิติจะได(ความสัมพันธของเทอมไพนคือ (∆p L )D = φ1  ρVD  เมื่อนําทดลอง


2

Vµ  µ 
และนําข(อมูลมาพล็อตกราฟหาความสัมพันธจะได(ดังรูปที่ 4.4b

(a) (b)

รูปที่ 4.4 ความสัมพันธระหวางกลุมตัวแปรไร(มิติ

จากรูปที่ 4.4 ผลลัพธที่ได(จากการทอลองยอมพบวาฟMงกชัน φ และ φ1 ยอมให(คาแตกตางกันแต


หากพิจารณาแยกออกเฉพาะตัวแปร ∆p L คาที่ได(ยอมเทากัน ดังนั้นสามารถสรุปได(วาจากการวิเคราะห
มิติเทอมไพนไมได(มีเพียงชุดเดียว ตัวอยางเชน

Π1 = φ (Π 2 , Π 3 )

สามารถสร(างเทอมไพนชุดใหมได(จากการผสมเทอมไพนเข(าด(วยกัน เชน ต(องการสร(างเทอม Π′2

Π′2 = Π a2 Π b3
144

เมื่อ a และ b เปนเลขชี้กําลังดังนั้นสามารถเขียนความสัมพันธได(เปน

Π1 = φ1 (Π′2 , Π 3 )

หรือ Π1 = φ2 (Π 2 , Π′2 )

ทั้งสองความสัมพันธถูกต(อง แตอยางไรก็ตามจํานวนของเทอมไพนไมสามารถลดลงได( เพียงแตรูปแบบ


ข อ ง เ ท อ ม ไ พ น อ า จ แ ต ก ต า ง กั น อ อ ก ไ ป ด( ว ย วิ ธี ก า ร ดั ง นี้ ส า ม า ร ถ แ ส ด ง ใ ห( เ ห็ น ว า ค า
(∆p L )D 2 =  (∆p L )D  ρVD  อยางไรก็ตามไมสามารถแสดงให(เห็นได(วาเทอมไพนรูปแบบใดดี
 ρV 2  µ 
Vµ   
ที่สุด จนกวาจะได(ทําการทดลองและหาความสัมพันธเทอมไพนเหลานั้น

กลุ2มตัวแปรไร.มิติที่พบทั่วไปในกลศาสตรของไหล (Common Dimensionless Groups in Fluid


Mechanics)
กลุมตัวแปรไร(มิติที่พบบอยในทางกลศาสตรของไหลเกิดจากการวิเคราะหหาอัตราสวนของแรง
ตาง ๆ เชน เลขเรยโนลด (ρVD µ ) ซึ่งเปนเทอมไร(มิติที่สําคัญมากในวิชากลศาสตรของไหล เปนการ
เรียกตามชื่อของ Osborne Reynolds (1842-1912) วิศวกรชาวอังกฤษผู(เสนอเลขเรยโนลดนี้ โดยเกิด
จากการวิ เ คราะห อั ต ราส ว นระหว า งแรงเนื่ องจากความเฉื่ อย (ρV L ) ตอแรงเนื่องจากความหนื ด
2 2

(µVL) ใช(สําหรับจําแนกประเภทการไหลที่มีอิทธิพลของความหนืด เชนการไหลในทอภายใต(แรงดัน


สําหรับเทอมไร(มิติอื่น ๆ ที่สําคัญแสดงในตารางที่ 4.4
145

ตารางที่ 4.4 กลุมตัวแปรไร(มิติที่พบได(ทั่วไปในกลศาสตรของไหล

ชื่อ สัญลักษณ กลุมตัวแปรไร(มิติ สัดสวนแรง การประยุกตใช(


Reynolds แรงเฉื่อยตอแรงหนืด พลศาสตรของ
Re ρVD µ
number (ρV 2 2
L µVL ) การไหลทุกชนิด
แรงเฉื่อยตอแรงโน(ม
Froude
Fr V gL ถวงของโลก การไหลที่มีผิวอิสระ
number
(ρV 2 2
L ρgL3 )
Euler แรงดันตอแรงเฉื่อย ปMญหาความดันหรือ
Eu p ρV 2
number ( pL 2
ρV 2 L2 ) ผลตางความดัน
Cauchy
แรงเฉื่อยตอแรงอัดตัว การไหลที่มีความ
Number Ca ρV 2 Ev
( pL2 ρV 2 L2 ) * สามารถอัดตัวได(
*
Mach
แรงเฉื่อยตอแรงอัดตัว การไหลที่มีความ
Number Ma V c
( pL2 ρV 2 L2 ) ** สามารถอัดตัวได(
*
Weber แรงเฉื่อยตอแรงตึงผิว ปMญหาที่ความตึงผิว
We V c
number (ρV 2 2
L σL ) มีความสําคัญ

*Cauchy number และ Mach number เปนตัวเลขที่มีความสัมพันธซึ่งกัน


146

แบบจําลองและความคล.ายคลึง (Modeling and Similitude)


แบบจําลอง (Model) คือสิ่งที่ใช(แทนระบบทางกายภาพ (Physical System) เพื่อใช(ทํานาย
พฤติกรรมของระบบจริง (Prototype System) ที่ต(องการอาจเปนได( ทั้งการใช(แบบจองลองทาง
คณิตศาสตร (Math Model) และแบบจําลองกายภาพ (Physical Model) ซึ่งในบทนี้จะกลาวถึง
แบบจํ า ลองกายภาพ การจํ า ลองโดยใช( แ บบจํ า ลองกายภาพให( มี ส ภาพคล( า ยต( น แบบ (Prototype)
โดยทั่วไปจะมีขนาดแตกตางกันออกไป ถ(าต(นแบบมีขนาดใหญแบบจําลองมักมีขนาดเล็กลง เพื่อให(งายตอ
การจําลองในห(องปฏิบัติการและลดคาใช(จาย แตถ(าต(นแบบมีขนาดเล็กมากแบบจําลองอาจมีขนาดใหญ
กวาต(นแบบเพื่อให(การศึกษาทําได(งาย อาจใช(ของไหลที่ทดสอบในแบบจําลองคนละชนิดกับที่เกิดขึ้นจริง
การจําลองการศึกษาแบบจําลองของอาคารชลศาสตรหรือโครงการทางด(านวิศวกรรมที่เกี่ยวข(อง
กั บ การไหล จะช ว ยในการตั ด สิ น ใจคู กั บ การใช( แ บบจํ า ลองคณิ ต ศาสตร สามารถช ว ยตรวจสอบการ
ออกแบบเนื่องจากสามารถจํา ลองสภาวะการไหลจริงที่อาจเกิดขึ้ นได( ทําให( เห็นลั กษณะการไหลและ
ผลกระทบที่อาจขึ้นกับอาคารชลศาสตรนั้นซึ่งบางครั้งแบบจําลองคณิตศาสตรไมสามารถให(คําตอบได( เชน
การศึกษารูปแบบของการแตกของเขื่อน การศึกษากังหันพลังน้ําไหลต(นแบบผลิตไฟฟhาที่ใต(บานประตู
ระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ อันเนื่ องมาจากพระราชดําริ และโครงการศึกษาความเหมาะสมรูปแบบการ
พัฒนาโครงการบริหารจัดการน้ําโขง เลย ชี มูล โดยแรงโน(มถวงด(วยแบบจําลองทางกายภาพ เปนต(น
ผลทดสอบที่ได(จากแบบจําลองกายภาพจะต(องสามารถนําไปใช(กับต(นแบบ (ของจริง) ได(อยางมั่นใจ ดังนั้น
การจําลองจะต(องคํานึงถึงสภาพเหมือนต(นแบบให(มากที่สุด อยางไรก็ตามอาจมีข(อเสียเนื่องจากการใช(
แบบจําลองที่ทํานายผิดพลาด ซึ่งความผิดพลาดนั้นไมสามารถตรวจสอบได(จนกวาจะพบในของจริง ดังนั้น
จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่แบบจําลองจะต(องถูกออกแบบอยางถูกต(องและทําการทดสอบและมีการแปร
ผลที่ได(จากการทดลองได(อยางถูกต(องมากที่สุดกอนนําไปใช(เพื่อการออกแบของจริง ซึ่งการศึกษาความ
คล(ายคลึงจะเปนแนวทางชวยให(ลดความผิดพลาดดังกลาวลงได(
147

ทฤษฎีของแบบจําลอง (Theory of model)


ทฤษฎีแบบจําลองอาศัยหลักการวิเคราะหมิติ โดยปMญหาที่ทําการวิเคราะหสามารถกําหนดให(อยู
ในกลุมตัวแปรไร(มิติ ดังสมการ
Π1 = φ (Π 2 , Π 3 , Π 4 ,..., Π n ) (4.9)
เมื่อ Π เปนกลุมตัวแปรไร(มิติ n คือจํานวนกลุมตัวแปรไร(มิติทั้งหมด ดังนั้นความสัมพันธของพฤติกรรม
ตาง ๆ ทั้งในแบบจําลองและต(นแบบก็จะมีความสัมพันธเหมือนกับสมการที่ 4.9 ดังนี้
Π1m = φ (Π 2 m , Π 3m , Π 4 m ,..., Π nm ) (4.10)
Π1 p = φ (Π 2 p , Π 3 p , Π 4 p ,..., Π np ) (4.11)
ตัวห(อย m คือ แบบจําลอง และตัวห(อย p คือ ต(นแบบ โดยที่จะได(ความสัมพันธดังนี้
Π1m = Π1 p
Π 2m = Π 2 p
Π 3m = Π 3 p
.
.
.

Π nm = Π np

สมการความสัมพันธดังกลาวนี้คือสมการการทํานาย (Prediction Equation) ที่ต(องการซึ่งเปน


การแสดงให(เห็นวาเมื่อกลุมตัวแปรไร(มิติเหมือนกัน การวัดคากลุมตัวแปรไร(มิติที่ได(จากแบบจําลองจะมีคา
เทากับกลุมตัวแปรไร(มิติที่วัดได(จากต(นแบบ ซึ่งจะทําให(ผู(ออกแบบสามารถใช(เปนเกณฑในการกําหนด
เงื่อนไขการออกแบบแบบจําลอง หรือที่เรียกวา เกณฑกําหนดความคล(ายคลึง หรือ กฎของแบบจําลอง
(Modeling Laws) เกณฑกําหนดความคล(ายคลึงสําหรับการศึกษาทางด(านกลศาสตรของไหลสามารถ
แบงได( 3 กลุมคือ ความคล(ายคลึงทางเรขาคณิต ความคล(ายคลึงทางจลนศาสตรและความคล(ายคลึงทาง
พลวัต
148

ความคล.ายคลึงทางเรขาคณิตรูปร2าง (Geometric Similarity)


ความคล(ายคลึงทางเรขาคณิตหรือความคล(ายคลึงทางรูปรางหมายถึงแบบจําลองทางจะต(องมี
สัดสวนเทากับต(นแบบโดยแบบจําลองอาจมีขนาดเล็กหรือใหญกวาต(นแบบ โดยอาศัยมาตราสวน (Scale
Ratio) กลาวคือมิติความยาว ระหวางแบบจําลองและต(นแบบจะต(องมีคาคงที่ เชน มาตราสวนความยาว
มาตราสวนของพื้นที่ เปนต(น โดยในการทดลองตัวแบบจําลองนั้นสามารถสร(างให(มีขนาดใหญหรือเล็กลง
ได(

รูปที่ 4.5 ความคล(ายคลึงทางด(านเรขาคณิต


HP
จากรูปที่ 4.5 สามารถแสดงให(เห็นวามีความสัมพันธของสัดสวนตาง ๆ ดังนี้ =Lr1 ,
Hm
WP L
=Lr2 , P =Lr3 โดยที่ Lr1, Lr2 และ Lr3 คือสัดสวนทางด(านความสูง ความกว(างและความยาว
Wm Lm
ตามลําดับ หาก Lr1, Lr2 และ Lr3 มีขนาดเทากันแบบจําลองนี้จะเปนแบบ (Un-distorted model) แต
หากมีคาไมเทากันแบบจําลองจะเปนแบบ (Distorted model) หากพิจารณาสัดสวนพื้นที่ (Ar) และ
สัดสวนปริมาตร (∀r) จะได(
2
A L 
Ar = m =  m  = L2r (4.12)
AP  LP 
3
∀ L 
∀ r = m =  m  = L3r (4.13)
∀ P  LP 

เมื่อ Lr, Ar, และ ∀r คืออัตราสวนความยาว พื้นที่ และ ปริมาตรตามลําดับ Lm, Am, และ ∀mr คื อ ความ
ยาว พื้นที่ และ ปริมาตรของแบบจําลองตามลําดับ และ LP, AP, และ ∀P คื อ คว าม ยา ว พื้ น ที่ แล ะ
ปริมาตรของตัวจริงตามลําดับ
149

ความคล.ายคลึงทางจลนศาสตร (Kinematic Similarity)


ความคล(ายคลึงทางจลนหมายถึงสภาพความความคล(ายของการไหล ซึ่งเกี่ยวข(องกับสภาวะการ
เคลื่อนที่โดย ณ. ตําแหนงใด ๆ เชน อัตราสวนเวลา อัตราสวนความเร็ว หรือ อัตราสวนความเรง บน
แบบจําลองตอต(นแบบต(องมีอัตราคงที่ตลอดการไหล

 อัตราสวนเวลา

Tm
Tr =
TP

 อัตราสวนความเร็ว

Vm (L T )m Lm L p Lr
Vr = = = =
VP (L T )P Tm T p Tr

 อัตราสวนความเรง

ar =
am
=
(
LT
2
)
m
=
Lm L p
=
Lr
aP (
L T2 )
P
2
Tm T 2
p Tr2

โดยหลักการดังกลาวสามารถหาอัตราสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวข(องกับการไหลได(เชนกัน เชน อัตราสวน


ของอัตราการไหลดังนี้
3
Qm L r
Qr = =
QP Tr

จะเห็นได(วาความคล(ายคลึงทางจลนศาสตรมีความสัมพันธกับมาตราสวนความยาวของ
แบบจําลอง (Lr) ดังนั้นการกําหนดมาตราสวนที่เหมาะสมจึงมีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับการศึกษา
แบบจําลองกายภาพ
150

ความคล.ายคลึงทางพลวัต (Dynamic Similarity)

ความคล(ายคลึงทางพลวัตหมายถึงสภาพความคล(ายของอัตราสวนแรงในแบบจําลองตอแรงในต(นแบบ
โดยอัตราสวนแรงตาง ๆ ต(องเปนอัตราสวนเดียวกันหรือสภาพความคล(ายทางพลวัตที่เกิดจากการกําหนด
เทอมไพน ที่เกี่ยวข(องกับอัตราสวนของแรง เชน เรยโนลดนัมเบอร (Re) ฟรุดนัมเบอร (Fr) ของ
แบบจําลองและต(นแบบต(องมีคาเทากัน

(FG )m (FI )m (FP )m (FV )m (FE )m (FT )m


= = = = = = Constant (4.14)
(FG ) p (FI ) p (FP ) p (FV ) p (FE ) p (FT ) p

Re P =Re m (4.15)

FrP =Frm (4.15)

โดยที่
FG คือ แรงเนื่องจากความโน(มถวงของโลก (Gravity force) FG = mg = ρgL3
FI คือ แรงเนื่องจากความเฉื่อย (Inertia force) FI = ma = ρV 2 L2
FP คือ แรงเนื่องจากความดัน (Pressure force) FP = PA = PL2
FV คือ แรงเนื่องจากความหนืด (Viscosity force) FV = µ (du dy )A = µ (V L )A = µVL
FE คือ แรงเนื่องจากความยืดหยุน (Elastic force) FE = EV A = EV L2
FT คือ แรงเนื่องจากความตึงผิว (Tension force) FT = σL
เมื่อ m คือ มวล g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก a คือ ความเรง P คือความดัน A
พื้นที่ µ คือ ความหนืดสัมบูรณ u คือ ความเร็วการไหล y คือความลึกการไหล EV คือ โมดูลัสความ
ยืดหยุน σ คือ ความตึงผิว (ตัวห(อย P คือจากต(นแบบ และ m คือจากแบบจําลอง)
151

ตัวอย2างที่ 4.5 จากตัวอยางที่ 4.4 ต(องการสร(างเครื่องสูบน้ําให(มีขนาดเส(นผานศูนยกลางของ Rotor


เทากับ 240 cm และต(องการให( Rotor หมุนด(วยความเร็วรอบเทากับ 450 rpm ที่ระดับของเฮดน้ํา
เทากับ 20 m โดยเลือกใช(มาตราสวนยอจากของจริง 1:8 โดยใช(น้ําเปนของไหลที่ใช(ในแบบจําลองและ
ต(นแบบที่อุณหภูมิเดียวกัน

ผลการทดสอบในห(องปฏิบัติการพบวาได(คาตาง ๆ ดังนี้

 กําลังงานที่เครื่องสูบน้ําต(องใช(เทากับ 50 Watts
 อัตราการสูบน้ําเทากับ 8 l/s
 ความเร็วรอบของ Rotor เทากับ 1272.8 rpm
 ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําเทากับ 64.2 %

จงหา
a) ขนาดเส(นผานศูนยกลางของ Rotor ที่ต(องใช(ในห(องปฏิบัติการ
b) เฮดของน้ําที่ต(องใช(ในห(องปฏิบัติการ
c) กําลังงานที่ต(องใช(ในเครื่องสูบน้ําของจริง
d) อัตราการสูบน้ําของจริง
e) ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําจริง

วิธีทํา
จากตัวอยางที่ 4.4 สามารถวิเคราะหกลุมตัวแปรไร(มิติได( η = φ  Q
3
,
P
3 5
H g 
, ,  เมื่อ
2 
η คือ
 ND ρN D D DN 
ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ํา Q คือ อัตรากรสูบน้ํา P คือ กําลังของเครื่องสูบน้ํา D คือ ขนาดเส(นผาน
ศูนยกลางของ Rotor N คือ ความเร็วรอบการหมุนของ Rotor H คื อเฮดของน้ํา ρ คือ ความหนาแนน
ของน้ําและ g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก

a) ขนาดเส(นผานศูนยกลางของ Rotor ที่ต(องใช(ในห(องปฏิบัติการ


Lm 1
จากมาตราสวนยอจากของจริง 1:8 จะได( Lr = = ดังนั้นจะได( .
Lp 8
Dm 1 D 240
= ⇒ Dm = P = = 30cm
Dp 8 8 8
152

เพราะฉะนั้นจะได(ขนาดเส(นผานศูนยกลางของ Rotor ที่ต(องใช(ในห(องปฏิบัติการเทากับ 30 cm

b) เฮดของน้ําที่ต(องใช(ในห(องปฏิบัติการ
Lm 1
จากมาตราสวนยอจากของจริง 1:8 จะได( Lr = = ดังนั้นจะได( .
Lp 8
Hm 1 H 20
= ⇒ Hm = P = = 2.5cm
Hp 8 8 8
เพราะฉะนั้นจะต(องควบคุมเฮดของน้ําที่ต(องใช(ในห(องปฏิบัติการเทากับ 30 cm

c) กําลังงานที่ต(องใช(ในเครื่องสูบน้ําของจริง (PP)
P
จากกลุมตัวแปรไร(มิติต(องการหากําลังของเครื่องสูบน้ําดังนั้นเลือกใช( เทอม จะได(
ρN 3 D 5
ความสัมพันธระหวางแบบจําลอง (Model, m) กับต(นแบบ (Prototype, p) ดังนี้
 P   P 
  = 
3 5 

3 5 
 ρN D  m  ρN D  p
เนื่องจาก ρm = ρP (ใช(น้ําในการทดสอบในห(องปฏิบัติการและน้ําเปนของไหลที่ต(องสูบจริง)
เพราะฉะนั้น PP =
( =
)
Pm ρN 3 D 5 P 50 × 4503 × 2405
= 72,406.4 Watts
(ρN 3 D 5 m )
1272.83 × 305

d) อัตราการสูบน้ําของจริง
Q
จากกลุมตัวแปรไร(มิติต(องการหากําลังของเครื่องสูบน้ําดังนั้นเลือกใช( เทอม จะได(
ND 3
ความสัมพันธระหวางแบบจําลอง (Model, m) กับต(นแบบ (Prototype, p) ดังนี้
 Q   Q 
 3 
= 3 
 ND  m  ND  p

เพราะฉะนั้น QP = =
( )
Qm ND 3 P 8 × 450 × 2403
= 1,448.15 l/s
(
ND 3 m )
1272.8 × 303

e) ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําจริง
จากกลุมตัวแปรไร(มิติต(องการหากําลังของเครื่องสูบน้ําดังนั้นเลือกใช( เทอม η จะได(
ความสัมพันธระหวางแบบจําลอง (Model, m) กับต(นแบบ (Prototype, p) ดังนี้
ηm = η p
เพราะฉะนั้น η P = 64.2 %
153

จากเทอมไร(มิติของเครื่องสูบน้ํา จะได(สัมประสิทธิ์ที่สําคัญของเครื่องสูบน้ําตามกฎความคล(ายคลึงของ
เครื่องสูบน้ํา (Similarity laws of pump) ได(ดังนี้

gH
 สัมประสิทธิ์ของเฮด (Head coefficient, CH) , ซึ่งเกิดจากการนําตัวแปรไรมิติ
N 2D2
H   g 
 × 2 
 D   DN 
Q
 สัมประสิทธิ์ของอัตราการไหล (Flow coefficient, CQ),
ND 3
γQH
 สัมประสิทธิ์กําลัง (Power coefficient, CP), เมื่อ P = γQH ( γ คือน้ําหนัก
ρN 3 D 5
จําเพาะของไหล
 ประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ํา (Pump efficiency), η

ซึ่งสามารถนําไปใช(ได(ทุกเครื่องสูบน้ํา โดยมีความสัมพันธระหวางแบบจําลองกับต(นแบบดังนี้
 gH   gH 
  2 2  = 2 2
 N D m  N D  p
 Q   Q 
  3 
= 3 
 ND  m  ND  p
 γQH   γQH 
   = 
3 5 

3 5 
 ρN D  m  ρN D  p
 ηm = η p
154

ตัวอย2าง 4.6 ต(องการหาสมรรถนะของเครื่องสูบน้ําต(นแบบ (Prototype) ชนิดหนึ่งที่มีขนาดเส(นผาน


ศูนยกลางของใบพัดเทากับ 50 mm และต(องการให(ใบพัดหมุนที่ความเร็วรอบเทากับ 1700 rpm
ผู(ออกแบบจึงได(จําลองเครื่องสูบน้ําแบบจําลอง (Model) และนํามาทดสอบในห(องปฏิบัติการ โดยใช(
เครื่องสูบน้ําชนิดเดียวกันแตมีขนาดเส(นผานศูนยกลางของใบพัดเทากับ 20 mm และให(ใบพัดหมุนที่
ความเร็วรอบเทากับ 1200 rpm ผลการทดสอบได(ข(อมูลดังตาราง

อัตราการไหล, Q (l/s) 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7


เฮด, H (m) 50 48 45 40 33 25 15 0

จงหาเขียนกราฟแสดงสมรรถนะของเครื่องสูบน้ําต(นแบบ

วิธีทํา

จากกฎความคล(ายคลึงของเครื่องสูบน้ํา (Similarity laws of pump) จะได(

 Q   Q 
สัมประสิทธิ์ของอัตราการไหล CQ ;  3 
= 3 
 ND  m  ND  p

QP =
( =
)
Qm ND 3 P 1700 × 5003
Qm
(ND 3 m )
1200 × 200 3

QP = 22.14Qm (E4.6-1)

 gH   gH 
สัมประสิทธิ์เฮด CH ;  2 2  = 2 2
 N D m  N D  p

HP =
Hm N 2D2 ( )P
=
1700 2 × 500 2
Hm
(
N 2D2 m ) 1200 2 × 200 2

QP = 12.54 H m (E4.6-2)
155

นําสมการที่ E4.21-1 และ E4.21-1 ไปสร(างความสัมพันธได(ดังตาราง

Qm (l/s) 0.00 0.10 0.20 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70


QP (l/s) 0.00 2.21 4.43 6.64 8.86 11.07 13.28 15.50
Hm (m) 50.00 48.00 45.00 40.00 33.00 25.00 15.00 0.00
HP (m) 627.00 601.92 564.30 501.60 413.82 313.50 188.10 0.00

และสามารถสร(างกราฟแสดงสมรรถนะของเครื่องสูบน้ําต(นแบบได(ดังนี้

รูปที่ Ex6.1 สมรรถนะของเครื่องสูบน้ําต(นแบบ


156

ตัวอย2างที่ 4.7 ต(องการทดสอบการไหลผานวาลวน้ําชนิดหนึ่งซึ่งมีขนาดยอสวนจากของจริง 1:5 โดย


วาลวน้ําที่จะถูกสร(างจริงมีขนาดขนาดเส(นผานศูนยกลาง 100 cm และต(องการให(มีความเร็วการไหล
เทากับ 1 m/s แบบจําลองเลือกใช(อากาศแทนน้ํา จงหาอัตราการไหลที่จะนํามาทดสอบเพื่อเปนตัวแทน
ของอั ตราการไหลที่ จะเกิด ขึ้น จริง กํ า หนดให( คา ความหนืด จลนศาสตร ของน้ํ า และอากาศมี คาเทา กั บ
9.838 x 10-7 m2/s และ 1.672 x 10-5 m2/s ตามลําดับ

วิธีทํา

 หาขนาดเส(นผานศูนยกลางของวาลวในแบบจําลอง

DP 5
=
Dm 1

DP 100
Dm = = = 20 cm
5 5

 หาความเร็วการไหลที่เกิดขึ้นกับวาลวในแบบจําลอง (เนื่องจากเปนการไหลที่มีอิทธิพล
เนื่องจากความหนืดตอแรงเฉื่อยจึงใช(ความคล(ายจากตัวเลขเรยโนลด)

Re P = Re m

 VD   VD 
  = 
 υ  P  υ m

 VD   υ 
Vm =    
 υ  P  D m

 1× 100   1.672 ×10 


−5

−7    = 84.98 m/s
Vm = 
 9.838 × 10  P  20 m

π×0.2 2
ตอบ ดังนั้นอัตราการไหลของอากาศเทากับ Q = AV = ×84.98 = 2.67 m3 /s
4
157

ตัวอย2างที่ 4.8 ต(องการศึกษาแรงที่อิทธิพลของแรงที่กระทํากับตอมอสะพานรูปแบบหนึ่งที่จะสร(างขึ้น


กลางแม น้ํ า ขนาดเส( น ผ า นศู น ย ก ลางที่ อ อกแบบโดยกระทํ า สร( า งแบบจํ า ลองของเสาตอม อ สะพาน
ทรงกระบอก ขนาดเส(นผานศูนยกลาง (DP) 2.0 m ด(วยแบบจําลองที่มีขนาดเส(นผานศูนยกลาง (Dm) 20
cm หากต(องการจําลองสถานการณจริงที่น้ําไหลผานตอมอ
สะพานด(วยความเร็ว (VP) 1.0 m/s ความลึกของน้ํา (yP)
8.0 m จะต(องจําลองสถานการณกับแบบจําลองด(วยความ
ลึกของของไหล (ym) และความเร็วของของไหล (Vm) เทาไร
ซึ่งของไหลที่ใช(ในการทดลองคือน้ําและมีคุณสมบัติเดียวกับ
ของไหลของจริง ขณะที่ทําการทดลองสามารถตรวจวั ด
คาแรงฉุด (FD)m ได( 256 N ฉะนั้นแรงฉุดที่จะเกิดขึ้นกับ
ตอมอสะพานของจริง (FD) P จะมีขนาดเทาไร

วิธีทํา

 อัตราสวนของแบบต(นแบบตอแบบจําลอง (Lr)
DP 200
Lr = = = 10
Dm 20
 หาความลึกการไหลในแบบจําลอง (ym)
yP 8
ym = = = 0.8 m ตอบ
Lr 10
 หาความเร็วการไหลที่จะเกิดขึ้นในแบบแบบจําลอง (เนื่องจากเปนการไหลที่มีอิทธิพล
เนื่องจากความแรงโน(มถวงของโลกตอแรงเฉื่อยจึงใช(ความคล(ายจากฟรุดนัมเบอร)

FrP = Frm

 V   V 
  =  
 gy  P  gy  m

 V  ym 0.8
Vm = ( gy ) 
m
 =
yp
× VP =
8
× 1.0 = 3.16 m/s
 gy P ตอบ
158

 สมการสําหรับหาแรงฉุด (Drag Force) สามารถหาได(ดังนี้


1
FD = CD ( ρV 2 L2 ) (Ex4.8-1)
2

เมื่อ FD คือแรงฉุด (N) CD สัมประสิทธิ์ของแรงฉุด (ไมมีหนวย) ρ คือความหนาแนนของของไหล


3
(kg/m ) V คือความเร็วการไหล (m/s) และ L คือ ขนาดของวัตถุ (m)

 หาแรงฉุดที่จะเกิดขึ้นกับตอมอสะพานของจริง (FD)P จากสมการที่ EX4.8-1 พบวาคา CD


ของวัตถุที่เหมือนกันต(องมีคาเทากัน ดังนั้นจะได(
( C D ) P = ( C D )m
 2F   2F 
 D
 =  D

 ( ρV L )   ( ρV L ) 
2 2 2 2
P m

( ρV L ) × F
2 2
12 × 200 2
ตอบ
(F ) =
D P ( ) P
D m = × 256= 2,565.69 N
( ρV L ) 2 2
m
3.162 × 202
159

แบบฝ_กหัดท.ายบท
1. แรงกระทําตอแผนระนาบ (F)โดยลําของเหลว (jet of liquid) ที่ไหลเข(าปะทะกับแผนระนาบ
ขึ้นอยูกับความหนาแนนของของเหลว (ρ) ความเร็วของลําของเหลว (V) พื้นที่หน(าตัดของลํา
ของเหลว (A) มุมของลําของเหลวที่กระทํากับแนวแผนระนาบ (θ) และระยะหางระหวางหัวฉีด
กับแผนระนาบ (L) จงวิเคราะหหากลุมตัวแปรไร(มิติตามวิธีเรยไลทและวิธีของบัคกิ้งแฮมไพน

2. การลดลงของความดัน (pressure drop, ∆p) เนื่องจากผลของความฝüดของการไหล ในเส(นทอ


ตรง และวางในแนวระดับ มีความเกี่ยวสัมพันธกับตัวแปรตางๆ คือ ขนาดความยาวของทอ (L)
ความเร็วเฉลี่ยของการไหล (V) ความหนืดของของไหล (µ) ขนาดเส(นผานศูนยกลางของทอ (D)
ความหนาแนนของของไหล (ρ) และชนิดของทอ หรือความขรุขระของทอ (ks) ให(คํานวณหา
กลุมตัวแปรความสัมพันธดังกลาว
3. ตอมอสะพานแหงหนึ่งกว(าง B ยาว A ด(านที่ปะทะน้ําทําเปนรูปทรงโค(งครึ่งวงกลมรัศมี R ดังรูป
น้ําลึก Y น้ํามีคาความหนืดเทากับ µ ความหนาแนนเทากับ ρ ความเร็วของน้ําที่ไหลผานใน
แนวราบเทากับ V จงหาความสัมพันธของตัวแปรตางๆ ที่มีผลตอแรงกระทําที่ตอมอ F ในรูปพจน
ของกลุมตัวแปรไร(มิติ

4. ในการศึกษาการกัดเซาะ (scouring) รอบตอมอสะพานรูปทรงกระบอก (circular bridge pier)


มีตัวแปรของปMญหาที่เกี่ยวข(อง ประกอบด(วยขนาดความลึกของหลุมกัดเซาะ (ds) ขนาดของ
ตอมอสะพาน (D) ความลึกของการไหลของน้ํา (y) ความเร็วของการไหลของน้ํา (V) และ
ความเร งเนื่ อ งจากความโน( ม ถ ว งของโลก (g) จงใช( ห ลั ก การวิ เ คราะห มิติ (Dimensional
Analysis) หากลุมตัวแปรไร(มิติ (Dimensionless Parameter) ของปMญหาดังกลาว
160

5. แรงฉุด Drag force ที่ลมพัดผานทรงกลม F, ขึ้นอยูกับเส(นผาศูนยกลางทรงกลม D, ความเร็วลม


V, ความหนาแนนของอากาศ , ρ dynamic viscosity ของอากาศ, µ จงหากลุมตัวแปรไร(มิติที่
สามารถใช(หาความสัมพันธจากข(อมูลการทดลอง
6. แรงหนวงดึงหรือแรงลากดึง (drag force, FD) ที่กระทําตอวัตถุรูปทรงกลม (sphere) ที่เคลื่อนที่
ในของไหลที่มีความหนืด มีความเกี่ยวสัมพันธกับตัวแปรตางๆ คือ ขนาดเส(นผานศูนยกลางของ
ทรงกลม (D) ความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุ (V) ความหนืดของของไหล (µ) และความ
หนาแนนของของไหล (ρ) ให(พิจารณาหากลุมตัวแปรความสัมพันธที่ไมมีมิติวัด (dimensionless
parameters) ของตัวแปรตางๆ ดังกลาว
7. ประตูระบายน้ํากว(าง B ยกบานสูง H ระดับ น้ํา
ด(านเหนือน้ําลึก y1 ระดับน้ําด(านท(ายน้ําลึก y2
น้ํ า มี ค า ความหนื ด เท า กั บ µ ความหนาแน น
เทากับ ρ อัตราการไหลลอดบานประตูเทากับ Q
จงหาความสั ม พั น ธ ของตั ว แปร ที่ เ กี่ ย วข( องกั บ
การไหลลอดผานประตู
8. รางน้ํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า กว(าง B ความลาดชันของพื้นรางเทากับ SO กําหนดให(ความเร็วของ
กระแสน้ําเทากับ V ความลึกเทากับ Y น้ํามีน้ําหนัก
จําเพาะเทากับ γ และความหนืดของน้ําเทากับ µ จง
วิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรที่เกี่ยวข(องในรูปของ
ความสัมพันธของตัวแปรไร(มิติ (ให(ใช( γ , µ และ Y
เปนตัวแปรซ้ํา)
9. จากรูปจงหาเทอมไร(มิติของการไหลผานฝายสันกว(างเมื่อตัวแปรที่เกี่ยวข(องมีดังนี้
161

10. เรือต(นแบบที่จะสร(างขึ้นมีความยาว 100 m หากต(องการศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือที่ความเร็ว


60 km/h โดยการสร(างเรือแบบจําลองให(มีความยาวเพียง 2.5 m
a) จงคํานวณหาความเร็วของเรือแบบจําลอง
b) ถ(าวัดแรงฉุดที่กระทําตอแบบจําลองเทากับ 10 N จงวิเคราะหหาแรงฉุดที่กระทําตอ
ต(นแบบนั้น
11. อาคารระบายน้ําล(นในอัตราการไหล 800 m3/s สร(างแบบจําลองโดยยอขนาดในมาตราสวน
1:20 เพื่ อทํ าให( เ กิ ด ความคล( า ยทางพลวั ตโดยไม คํา นึ งถึ ง ผลเนื่ องจากความเสี ย ดทาน จง
คํานวณหาอัตราการไหลของแบบจําลอง
12. ในแบบจําลองของเรือลําหนึ่ง กําหนดมาตราสวนขนาดเปน 1:60 พบวามีแรงต(านทานของคลื่น
น้ําเทากับ 0.03 N ที่ความเร็ว 0.8 m/s จงหา
a) แรงต(านของคลื่นตอเรือต(นแบบ
b) ความเร็วของเรือต(นแบบ
c) กําลังม(าของเรือต(นแบบ
13. เครื่องสูบแบบแรงเหวี่ยงมีประสิทธิภาพ 85% ที่จุดใช(งานหนึ่งได(ออกแบบใบพัดของเครื่องสูบให(
มีเส(นผานศูนยกลาง 20 cm สามารถสงน้ําได(ในอัตรา 35 L/s ที่อัตราเร็วรอบ 1200 rpm หาก
ต(องการออกแบบให(มีอัตราการไหลเพิ่มขึ้นจะใช(มอเตอรที่มีอัตราเร็วรอบ 1800 rpm
a) ถ(ากําหนดให(ในสภาวะการทํางานแรกสุดนั้นเครื่องสูบมีเฮดความดัน 7 m-H2O จง
คํานวณหาเฮดความดันที่อัตราเร็วรอบ 1800 rpm
b) จงหาขนาดของมอเตอรที่ใช(หมุนเครื่องสูบในข(อ a)
14. การออกแบบทางระบายน้ําล(นของเขื่อนแหงหนึ่ง ต(องการออกแบบให(สามารถระบายปริมาณน้ํา
ได(สูงสุด 150 m/3s แตในการศึกษาด(วยแบบจําลองตั้งคาอัตราการไหลไว(ที่ 0.474 m/3s จงหา
a) มาตราสวนที่ต(องใช(เพื่อให(ของจริงกับแบบจําลองมีความคล(ายคลึงกัน
b) ถ(าแบบจําลองเกิดแรงที่กระทําตออาคาร 20 N จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับของจริง
c) ถ(าในแบบจําลองเกิดการกัดเซาะด(านท(ายอาคารเมื่อเวลาผานไป นาที การกัดเซาะ 30
จะเกิดขึ้นกับของจริงเมื่อเวลาผานไปเทาใด
162

บทที่ 5
การไหลในท2อ (Flow in Pipe)
การไหลภายในทอคือการไหลภายใต(แรงดันที่ของไหลจะต(องไหลเต็มหน(าตัดทอ ทอดังกลาวอาจ
มีรูปรางกลม หรือไมกลมก็ได( ตราบใดที่การไหลมีความดันเกิดขึ้น เชนการไหลของน้ําในทอประปา การ
ไหลของน้ําในระบบทอสงน้ําเพื่อการเกษตรเปนต(น การไหลภายในทอจะมีรูปแบบการไหลที่แตกตางกัน
ออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดและความเร็วของ ๆ ไหล ชนิดและขนาดของทอ

รูปแบบการไหลภายในท2อ (Characteristics of Flow in Pipe)


ในปë ค.ศ. 1883 ออสบอรน เรยโนลด (Osborne Reynolds) วิศวกรชาวฝรั่งเศสได(ทําการศึกษา
รูปแบบการไหลภายในทอ โดยใช(เครื่องมือดังรูปที่ 5.1

รูปที่ 5.1 อุปกรณสําหรับศึกษารูปแบบการไหลภายในทอ

รู ป ที่ 5.1 ประกอบด( ว ยถั งบรรจุ ของเหลวขนาดใหญ ติ ด ตั้ งท อใสและวาล ว ควบคุ มด( า นท( า ย
(ตําแหนง 2) ด(านบนติดตั้งถังขนาดเล็กที่บรรจุของเหลวผสมสี (ของเหลวผสมสีควรมีคุณสมบัติใกล(เคียง
กับของเหลวที่จะทําการทดลองมากที่สุด) มีวาลวควบคุม (ตําแหนงที่ 1) การศึกษาของเรยโนลดมีวิธีการ
ดั ง นี้ เปK ด วาล ว ที่ ตํ า แหน งที่ 2 เล็ กน( อยรอจนกระทั่ ง การไหลเป น แบบคงที่ ทํ า การวั ด อั ต ราการไหล
(สามารถคํานวณความเร็วการไหลได() จากนั้นเปKดวาลวที่ตําแหนงที่ 1 ให(ของเหลวผสมสีไหลผานทอใสรอ
จนกระทั่งเส(นสีมีรูปแบบไมเปลี่ยนแปลง จากนั้นสังเกตรูปแบบของเส(นสี ซึ่งเส(นสีดังกลาวนี้คือเส(นแนว
การไหล ทําการเปKดวาลวน้ําที่ตําแหนง 2 หลาย ๆ คาและสังเกตรูปแบบของเส(นสีที่อัตราการไหลแตกตาง
กัน จากนั้นสามารถนํามาสรุปรูปแบบการไหลได(ดังนี้
163

1. หากเส(นสีที่เห็นมีลักษณะเปนเส(นเรียบไมมีการแตกตัว จะเรียกสภาพการไหลแบบนี้วา การ


ไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) เปนสภาพการไหลที่อนุภาคของของไหลมีการเคลื่อนที่
ไปด(วยกันอยางเปนระเบียบไมสับสน
2. หากเส(นสีที่เห็นมีลักษณะเปนเส(นไมเรียบ มีการแตกตัวอยางชัดเจน จะเรียกสภาพการไหล
แบบนี้วาการไหลแบบปMîนปñวน (Turbulent Flow) เปนสภาพการไหลที่อนุภาคของของไหล
เคลื่อนที่ไปด(วยกันอยางสับสนวุนวาย ไมเปนระเบียบ และ
3. การไหลชวงแปรเปลี่ยน (Transitional Flow) เปนสภาพการไหลในชวงที่เปนการเปลี่ยน
จากสภาพการไหลแบบราบเรียบไปสูสภาพการไหลแบบปMîนปñวน

จากนั้นเรยโนลได(ทําการเปลี่ยนขนาดทอใสหลาย ๆ ขนาด และเปลี่ยนชนิดของไหลหลาย ๆ


ชนิด จนสามารถนําเสนอตัวเลขเรยโนลด ได(ดังสมการ
ρVD
Re = (5.1)
µ

เมื่อ ρ คือความหนาแนนของของไหล (kg/m3) V คือความเร็วของการไหลภายในทอ (m/s)


2
D คือเส(นผาศูนยกลางของทอ (m) และ μ คือความหนืดทางพลวัตของของไหล (N⋅s/m ) โดยมีการแบง
ดังนี้

Re ≤ 2000 = การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow)

2000 < Re < 4000 = การไหลชวงแปรเปลี่ยน (Transitional Flow)

Re ≥ 4000 = การไหลแบบปMîนปñวน (Turbulent Flow)

คาตัวเลขเรยโนลดเปนเทอมไร(มิติ ทําให(ไมมีหนวยดังนั้นจึงสามารถใช(ได(กับทอได(ทุกชนิดและใช(
กับของเหลวได(ทุกชนิดเชนกัน
164

ตั ว อย2 า งที่ 5.1 ของเหลวชนิ ด หนึ่ ง มี ค วามถ ว งจํ า เพาะเท า กั บ 0.89 มี ค วามหนื ด จลศาสตร เ ท า กั บ
0.84x10-6 m2/s ไหลในทอขนาดเส(นผานศูนยกลาง 20 cm ด(วยอัตราการไหล 400 L/s จงหารูปแบบ
การไหลภายในทอดังกลาว
วิธีทํา
Q (400 1,000)
ความเร็วการไหล, V= = = 12.73 m/s
A (π × 0.22 ) 4

หาตัวเลขเรยโนลดจากสมการที่ 5.1
ρVD 12.73 × 0.2
Re = = −6
= 3.03 ×10 6
µ 0.84 × 10

ตัวเลขเรยโนลดที่คํานวณได(มีคามากกวา 4,000 แสดงวาเปนการไหลแบบปMîนปñวน


165

การไหลช2วงทางเข.าและการไหลพัฒนาเต็มที่ (Entrance Region and Fully Developed Flow)

การไหลเข( า ท อตรงตํ า แหน งจุ ด เชื่ อมบรรจบจากแหล งน้ํ า ซึ่ ง จะเรี ย กการไหลเข( า ท อบริ เ วณ
ดังกลาวนี้วา การไหลชวงเข(า (Entrance Region) ดังรูปที่ 5.2 โดยการกระจายความเร็วการไหล
(Velocity Profile) ชวงที่เริ่มเข(าทอ (หน(าตัดที่ 1) จะมีความเร็วใกล(เคียงกันตลอดหน(าตัด และเมื่อไหล
เข( า สู ท อ ผลของความหนื ด ทํ า ให( ข องไหลส ว นที่ ติ ด ผนั ง ท อ ยึ ด ติ ด กั บ ผิ ว ท อ (No-Slip Boundary
Condition) ทําให(เกิดชั้นขอบเขต (Boundary Layer) โดยชั้นขอบเขตคอย ๆ ขยายตัวลูเข(าสูศูนยกลาง
ทอ ทํ าให( ความเร็ วหน( าตัด คอย ๆ คอย ๆ เปลี่ ยนแปลงตามระยะทางที่ไหลไปตามความยาวทอ การ
กระจายความเร็วจะมีการปรับตัวอยางตอเนื่องจนท(ายที่สุดเข(าสูสภาวะสมดุลที่ตําแหนงที่ชั้นขอบเขต
ครอบคลุมถึงแกนกลางทอ ซึ่งก็คือตําแหนงสิ้นสุดของการไหลชวงเข(าและเปนตําแหนงการไหลที่เข(าสูการ
ไหลพัฒนาเต็มที่ (Fully Developed Flow) เมื่อการไหลเข(าสูชวงพัฒนาเต็มที่แล(วการกระจายความเร็ว
การไหลจะไมเปลี่ยนแปลงไปตามระยะทาง จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของการไหล เชน
เปลี่ยนขนาดทอ หรือการไหลผานอุปกรณประกอบทอตาง ๆ เชน วาลว ข(องอ เปนต(น

รูปที่ 5.2 การไหลชวงทางเข(า

ระยะจากตําแหนงที่เริ่มไหลเข(าทอจนถึงตําแหนงที่เปนการไหลแบบพัฒนาเต็ฒที่ เรียกวา ความ


ยาวชวงทางเข(า (Entrance length, LE) โดยสามารถหาความยาวชวงทางเข(าได(ดังนี้
กรณีการไหลเปนแบบราบเรียบ
LE = 0.06 Re (5.2)
และกรณีการไหลเปนแบบปMîนปñวน
LE = 4.4 D(Re )
1/ 6
(5.3)
เมื่อ Re คือ ตัวเลขเรยโนลด D คือขนาดเส(นผานศูนยกลางทอ (หนวยของ LE และ D จะต(องเปนหนวย
เดียวกัน)
166

จะเห็นได(วาความยาวชวงทางเข(ากรณีการไหลแบบราบเรียบจะเกิดขึ้นจากอิทธิพลของตัวเลขเรย
โนลดเทานั้น สวนการไหลแบบปMîนปñวนจะมีอิทธิพลของขนาดทอเข(ามาเกี่ยวข(องด(วย อยางไรก็ตามการ
คํานวณหารูปแบบการกระจายความเร็ว ของการไหลในชวงทางเข(ามีความซับซ(อน และยุงยากมาก
เนื่องจากจะมีการแปรเปลี่ยนตามระยะทาง อยางไรก็ตามเมื่อการไหลพัฒนาเข(าสูชวงการไหลพัฒนาเต็มที่
การกระจายความเร็วจะวิเคราะหได(งายขึ้น เนื่องจากการความเร็วจะแปรผันกับระยะตามแนวรัศมี (r) แต
จะไปแปรผันตามระยะทางตามแนวความยาวของทอ

การสูญเสียพลังงานภายในท2อ (Energy Losses in Pipe)


การไหลภายในทอจะมีการสูญเสียพลังงานตามระยะทางที่ไหลโดยสามารถแบงได(เปนสองสวน
คือ 1) การสูญเสียหลักได(แกการสูญเสียพลังงานที่เกิดจากแรงเสียดทานเนื่องจากความหนืดของของไหล
และแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางของไหลกับผนังทอ 2) การสูญเสียรองคือการสูญเสียพลังงานเนื่องจาก
ไหลผานอุปกรณประกอบทอ เชน ข(อตอ ข(องอ วาลว เปนต(น หากพิจารณาการไหลจากตําแหนงที่ 1 ไป
ตําแหนงที่ 2 ของการไหลภายในทอดังรูปที่ 5.3

รูปที่ 5.3 การไหลเมื่อมีการสูญเสียพลังงาน

จากรูปที่ 5.3 หากประยุกตใช(ทฤษฎีของเบอรนูลีกับการไหลที่มีการสูญเสียพลังงานระหวางหน(า


ตัดการไหลที่ 1 ไปหน(าตัดการไหลที่ 2 จะมีความสัมพันธดังสมการ

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L
γ 2g γ 2g

 P P  V 2 V 2 
หรื อ H L = (Z1 − Z 2 ) +  1 − 2  +  1 − 2  (5.4)
 γ γ   2g 2g 
167

การสูญเสียหลัก (Major Losses)


การสูญเสียหลักคือการสูญเสียพลังงานที่เกิดจากแรงเสียดทานเนื่องจากความหนืดของของไหล
และแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางของไหลกับผนังทอ บางครั้งเรียกอีกวาการสูญเสียพลังงานเนื่องจาก
ความฝüด (Friction Losses) แตเนื่องจากเปนการสูญเสียที่มีคามากกวาอยางอื่นจึงเรียกวาการสูญเสีย
หลัก โดยพลังงานที่สูญเสียนั้นจะขึ้นอยูกับ ขนาดส(นผาศูนยกลางของทอ ความยาวของทอ ความหยาบ
ของวัสดุที่ใช(ทําทอ ความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล เมื่อพิจารณาการไหลเปนแบบคงที่
ของทอที่วางเอียงทํามุมกับแนวระดับดังรูปที่ 5.4

รูปที่ 5.4 การสูญเสียพลังงานเนื่องจากแรงเสียดทาน

จากรูปที่ 5.4a เปนการไหลจากหน(าตัดที่ 1 ไปหน(าตัดที่ 2 ซึ่งมีขนาดหน(าตัดการไหลเทากัน ทํา


ให(ความเร็วการไหลที่หน(าตัดที่ 1 และหน(าตัดที่ 2 มีคาเทากัน จากสมการที่ 5.4 สามารถหาการสูญเสีย
พลังงานได(ดังนี้

P −P 
H L = (Z1 − Z 2 ) +  1 2  (5.5)
 γ 

จากสมการโมเมนตัม

∑ F = ∑ (ρQV ) out
− ∑ (ρQV )in

การไหลมีทางเข(าทางเดียวและทางออกทางเดียวจะได( และเปนการไหลแบบคงที่ ของไหลเปน


ของไหลที่อัดตัวไมได(
168

∑ F = ρQ(V 2 − V1 )

เนื่องจากความเร็วการไหล V1 = V2 ดังนั้น

∑F =0
จากรูปที่ 5.4b

F1 − F2 − W sin θ − F f = 0

P1 A − P2 A − γAL sin θ − τ o (2πRL ) = 0

เอา γ และ A หารตลอด และ L sin θ = Z 2 − Z1 จะได(


P1 − P2 τ o (2πRL )
+ (Z1 − Z 2 ) = (5.6)
γ γA

P −P 
จากสมการที่ 5.5 พบวา H L = (Z1 − Z 2 ) +  1 2  จะได(
 γ 

τ o (2πRL ) τ o (2πRL ) 2 Lτ o
hf = หรือ hf = = (5.7)
γA γ (πR 2 ) γR

ในปë ค.ศ. 1850 วิศวกรชาวฝรั่งเศสชื่อ Henry Darcy และ ศาสตราจารยชาวเยอรมัน Julius


Weisbach ได(ทําการทดลองการสูญเสียพลังงานเนื่องจากความหนืดของของไหลและแรงเสียดทานของ
ไหลกับผนังทอ จากผลการทดลองพบวา ความเค(นเฉือน (τ o ) เปนปฏิภาคโดยตรงกับความเร็วกําลังสอง
ดังสมการ

τo α V 2 (5.8)

หรือ

τ o = KV 2 (5.9)

เมื่อ K คือคาคงที่ แทนคาลงในสมการที่ 5.7 จะได(

2 LKV 2
hf =
γR
169

เมื่อ R =D/2 และ γ = ρ g จะได(

4 LKV 2
hf = (5.10)
ρ gD

และ Darcy และ Weisbach ได(กําหนดคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานขึ้นมาขึ้นมา โดยให(มีคา


เทากับ 8K ρ ดังนั้นสมการที่ 5.10 สามารถเขียนได(เปน

L V2
hf = f (5.11)
D 2g

เมื่อ h f คือ การสูญเสียพลังงานการไหลภายในทอ (การสูญเสียหลัก, m) f คือ สัมประสิทธิ์ความ


เสียดทาน (friction factor, ไมมีหนวย) L คือ ความยาวของเส(นทอ (m) D คือ ขนาดเส(นผานศูนยกลาง
ทอ (m) V คือ ความเร็วเฉลี่ยของการไหลภายในทอ (m/s) g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก
(m/s2) สมการที่ 5.11 เรียกวาสมการของ Darcy Weisbach เปนสมการเพื่อหาคาการสูญเสียพลังงาน
การไหลภายในทอ ซึ่งก็คือการสูญเสียหลักนั่นเอง จะเห็นได(วาการสูญเสียหลักเนื่องจากแรงเสียดทาน
ภายในทอเปนปฏิภาคโดยตรงกับความยาวและเฮดความเร็ว (Velocity Head) และเปนปฏิภาคผกผันกับ
ขนาดเส(นผานศูนยกลางทอ จากการวิเคราะหมิติซึ่งได(กลาวมาแล(วในบทที่ 4 พบวาคา คาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทาน (f) เปนฟMงกชั่นของ ตัวเลขเรยโนลด ( Re ) และความขรุขระสัมพัทธ (ε / D ) ดังสมการ

 ε 
f = φ  Re,  (5.12)
 D

โดยที่ Re =
ρVD
เมื่อ ρ คือความหนาแนนของของไหล (kg/m3) V คือความเร็วการไหล
µ
(m/s) D คือ ขนาดเส(นผานศูนยกลางทอ (m) ไหล µ คือ ความหนืดพลวัต (N⋅s/m2) และ ε คือ ความ
ขรุขระของผิวภายในทอ (m) สําหรับความขรุขระของผิวภายในทอแสดงดังตารางที่ 5.1
170

ตารางที่ 5.1 คาความขรุขระของผิวภายในทอ

ความขรุขระของผิวภายในทอ
ลักษณะผิวทอ
(mm)
ทองแดง (Copper), ตะกั่ว (Lead), ทองเหลือง (Brass), อลูมิเนียม
Aluminum (ใหม) 0.001-0.002
พีวีซี (PVC), พลาสติก (Plastic), แก(ว (Glass) 0.0015-0.007
อีพ็อกซี่ (Epoxy), ไวนิลเอสเตอร (Vinyl ester) 0.0052
เหล็กกล(าไร(สนิม (Stainless steel) 0.0152
เหล็กเชิงพาณิชย (Commercial steel) 0.045-0.0914
เหล็กยืด (Stretched steel) 0.0152
เหล็กผิวเชื่อม (Weld steel) 0.045
เหล็กชุบสังกะสี (Galvanized steel) 0.152
เหล็กมีสนิม (Rusted steel) 0.152-0.4
เหล็กหลอใหม (New cast iron) 0.244-0.823
เหล็กหลอสึกกรอน (Worn cast iron) 0.823-1.52
เหล็กหลอเปนสนิม (Rusty cast iron) 1.52-2.5
เหล็กแผนหรือผิวถูกเคลือบด(วยแอสฟMลท
(Sheet or asphalted cast iron) 0.01-0.152
คอนกรีตฉาบผิว (Smoothed cement) 0.305
คอนกรีตผิวธรรมดา (Ordinary concrete) 0.3-1.0
คอนกรีตผิวหยาบ (Coarse concrete) 0.3-5.0
ไม(ใสผิวเรียบ (Well planed wood) 0.183-0.94

 ε 
ในปë ค.ศ. 1933 J.Nikuradse ได(ทําการทดลองเพื่อหาความสัมพันธของ f = φ  Re,  โดยการ
 D
ทดลองโดยใช(ทอผิวหยาบ โดยการนําทรายตาง ๆ มาติดที่ผิวภายในทอด(วยกาวและทําการวัดการสูญเสีย
พลังงานหลัก (เฮดความดันที่หายไป) โดยการแปรผันอัตราการไหล ตัวเลขเรยโนลด (Re) และคาความ
171

ขรุ ข ระผิ ว สั ม พั ท ธ  ε  และได( นํ า เสนอค า ตั ว แปรไร( มิ ติ ข องความขรุ ข ระ (Dimensionless


D
Characteristic Roughness)  ε u ∗  ที่มีอิทธิพลตอสัมประสิทธิ์ความเสียดทานดังนี้
 v 
 εu ∗ < 5 ถือว า เป น กรณี ผ นั ง เรี ย บ และพบว า ความขรุ ขระของผนั ง ท อจะมาส ง ผลต อ
v
สัมประสิทธิ์ความเสียดทานดันนั้น สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะขึ้นอยูกับตัวเลขเรยโนลดเพียง
อยางเดียว
εu ∗
 5< < 70 ความขรุขระของผนังทอจะมาสงผลตอสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในระดับปาน
v
กลางและสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะขึ้นอยูกับตัวเลขเรยโนลดและความขรุขระสัมพัทธของ
ทอ
εu ∗
 > 70 ถือวาเปนทอมีผิวขรุขระมากจนทําให(การไหลเปนแบบปMîนปñวนสมบูรณ (Fully
v
rough flow or Complete turbulent flow) ดังนั้นสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะขึ้นอยูกับ
ความขรุขระสัมพัทธของทอเพียงอยางเดียว

เมื่อ u* คือ friction velocity เปนชื่อที่ถูกนิยามขึ้นเนื่องจากมีมิติเหมือนกับความเร็ว แตไมใช


τ
ความเร็ว ซึ่งมีคาเทากับ เมื่อ τ คือความเค(นเฉือน และ ρ คือความหนาแนน ε คือความขรุขระ
ρ
ของผิวภายทอ และ ν คือ คาความหนืดจลศาสตร (Kinematic viscosity) ในปë ค.ศ. 1939 Colebrook
ได(นําเสนอสมการการหาคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในกรณีที่ความขรุขระของผนังทอมีผลกระทบใน
ระดับปานกลางดังนี้

1 ε D 2.51 
= −2 log  +
 3.7 Re f  (5.13)
f  

เพื่อให(งายตอการคํานวณ ในปë ค.ศ. 1983 Haaland ได(ทําการปรับปรุงสมการของ Cloebrook


แตสมการของ Haaland มีความคาดเคลื่อนอยูระหวาง 10-15% ซึ่งอยูในเกณฑที่ยอมรับได( สมการดัง
กลาวคือ
1   ε D 1.11 6.91 
= −1.88 log  
  3.7 
+  (5.14)
f  Re 
172

ในกรณีการไหลในทอขรุขระมาก (Fully rough flow) Karman ได(นําเสนอสมการของการหาคา


สัมประสิทธิ์ความเสียดทานไว(ดังนี้
1  3.7 
= 2 log   (5.15)
f ε D

จะเห็นได(วาการหาคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจากสมการที่ 5.13-5.15 มีความยุงยากและ


ซับซ(อน ดังนั้นเพื่อให(งายตอการใช(งาน ในปë ค.ศ. 1944 Lewis F. Moody นํามาเสนอกราฟ
 ε 
ความสัมพันธระหวาง f = φ  Re,  โดยมีลักษณะดังรูปที่ 5.6
 D

รูปที่ 5.6 Moody Diagram


173

ตัวอย2างที่ 5.2 น้ําที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มีความหนืดเชิงจลนศาสตรของน้ํา (ν) = 1.003 x 10-6


m2/s ไหลผานทอเหล็กหลอหุ(มแอสฟMลต (Asphalted Cast-Iron) ซึ่งมีความขรุขระของผิวภายในทอ
เทากับ 0.12 mm มีขนาดเส(นผานศูนยกลางทอเทากับ 20 cm ด(วยอัตราการไหล 0.05 (m3/s) จงหา
พลังงานที่ลดลงตอความยาวของทอหนึ่งกิโลเมตร

วิธีทํา

คํานวณตัวเลขเรยโนลด
Q 0.05
V= = = 1.59m / s
A π × 0 .2 2 4

VD 1.59 × 0.2
Re = = −6
= 3.18 ×105
υ 1.003 ×10

สําหรับเหล็กหลอหุ(มแอสฟMลต (asphalted cast-iron) จะได(คา ε/D = 0.0006 และจากกราฟของ


Moody โดยใช(คา ε/D และคา Re ที่คํานวณได(พบวา f = 0.019 คาของพลังงานที่ลดลงสามารถคํานวณ
ได(จากสมการของ Darcy-Weisbach

L V2  1000  1.59 
2
hf = f = 0.019 ×  
  = 12.2m
D 2g  0.2  2 × 9.81 

ตอบ เพราะฉะนั้นคาพลังงานที่ลดลงตอความยาวทอหนึ่งกิโลเมตรมีคาเทากับ 12.2 เมตร


174

ตัวอย2างที่ 5.3 น้ําไหลจาก สระ (Pond) A ไป สระ B ด(วยอัตราการไหล 80 liter/s โดยผานทอ


เหล็กหลอใหม (New Cast iron) ซึ่งมีความขรุขระของผิวภายทอเทากับ 0.25 mm และมีขนาดเส(นผาน
ศูนยกลางเทากับ 20 cm ความยาวทอรวมทั้งหมด 800 m จงหาผลตางของระดับผิวน้ําระหวาง สระ A
และ สระ B
กําหนด
- ไมคิดการสูญเสียพลังงานรองเนื่องจากอุปกรณประกอบทอ
- การไหลเปนแบบคงที่ (ระดับน้ําใน สระ A และ สระ B มีการเปลี่ยนแปลงน(อยมาก
เนื่องจาก เปนสระขนาดใหญมาก)
- น้ํามีอุณหภูมิคงที่เทากับ 30 องศาเซลเซียส

รูปที่ Ex5.2-1 การไหลของน้ําจาก Tank A ไป Tank B แบบคงที่


วิธีทํา
พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด 1 กับ จุด 2
P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L (Ex5.3-1)
γ 2g γ 2g
P − P V 2 −V 2
( Z1 − Z 2 ) = 2 1 + 2 1 + H L (Ex5.3-2)
γ 2g
จากรูป P1 = P2 = 0 (สําหรับความดันเกจ) และ V1 = V2 = 0 ถือวาความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 และ
2 มีการเคลื่อนที่น(อยมาก แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.2-2
H = HL
หรือ
L V2
H= f (Ex5.3-3)
D 2g
175

อัตราการไหลภายในทอเทากับ Q=0.08 m3 s และพื้นที่หน(าตัดการไหลของทอเทากับ


π×0.2 2 Q 0.08
A= =0.0314 m 2 ดังนั้นความเร็วในการไหลในทอ V= = =2.55 m/s ต(องการหา
4 A 0.0314
คา สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงาน (f) ต(องทราบคาตัวเลขเรยโนลด (Re) และ คาความขรุขระสัมพัทธ
ε 
 
D

ρVD VD
Re = = (Ex5.3-4)
µ υ

จากตารางที่ เมื่อน้ําอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสจะทําให(ความหนืดจลศาสตรมีคาเทากับ 8.009 x 10-7


m2/s แทนคาลงในสมการที่ Ex5.3-4 จะได(
2.55 × 0.2
Re = −7
= 6.37 × 105
8.009 × 10

และจากตารางที่ ได(คา ความขรุขระผิวทอ (ε ) เทากับ 0.25 ดังนั้นจะได(

ε 0.25 × 10 −3
= = 0.00125
D 0.2

ε 
นําคา Re และ   ที่คํานวณได(ไปเปKดกราฟ Mooddy diagram พบวาคา f = 0.021 แทนคาตาง ๆ
D
ลงในสมการ Ex5.3-3 จะได(

800 2.552
H = 0.021× × = 27.84 m
0.2 2g

ตอบ ผลตางของผิวน้ําระหวาง สระ A และ สระ B เทากับ 27.84 m หรืออาจกลาวได(วามีการสูญเสีย


พลังงานหลักเนื่องจากการไหลเทากับ 27.84 m
176

การสูญเสียรอง (Minor Losses)


การสูญเสียรองเปนการสูญเสียพลังงานการไหลเนื่องจากเกิดสภาพการไหลแบบปMîนปñวนเฉพาะที่
เชนตําแหนงที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดหรือทิศทางของความเร็วของการไหล โดยจะเกิดขึ้นเมื่อมีการไหล
ผานอุปกรณประกอบทอต างๆ เชน วาล ว ข(อต อ ข(อลด ข(อขยาย ข(องอตางๆ เปนต(น ขนาดของการ
สูญเสียรองนี้จะขึ้นอยูกับชนิดและจํานวนอุปกรณประกอบทอ ซึ่งการสูญเสียรองนี้จะระบุอยูในรูปของคา
สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor Loss Coefficient, K) คูณกับ เฮดความเร็ว (Velocity
Head) ดังสมการที่ 5.16

V2
hm = K (5.16)
2g

เมื่อ hm คือ การสูญเสียพลังงานรอง (m) K คือ สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (ไมมี


หนวย) V คือ ความเร็วการไหล (m/s) และ g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (m/s2) คา
สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรองสามารถหาได(จากการทดลองซึ่งมีผู(นําเสนอคา K ที่มักพบโดยทั่วไป
ดังนี้

การสูญเสียพลังงานรองเนื่องจากการไหลผ2านวาลว
วาลวมีบทบาทที่สําคัญในการควบคุมทางชลศาสตร เชน ควบคุมอัตราการไหล ปKดกั้นมิให(น้ําไหล
ผา น ปhองกั น การไหลย( อนกลั บ และบางกรณี ใ ช(ล ดความดัน วาล ว มีห ลายชนิด ดั งรู ปที่ 5.7 ขึ้น อยู กับ
วัตถุประสงคของการใช(งาน

a) Globe Valve b) Gate Valve c) Butterfly Valve

รูปที่ 5.7 วาลวน้ํา


177

d) Rotary Cone Valve e) Ball Valve f) Needle Valve

g) Isolate Valve h) Pressure Relief Valve i) Check Valve

j) Foot Valve

รูปที่ 5.7 (ตอ)


178

 วาลวควบคุม (Control valve) การไหล เชน โกลบวาลว (Globe Valve) เกตวาลว (Gate
Valve) วาลวปëกผีเสื้อ (Butterfly Valves) วาลวทรงกรวย (Rotary Cone Valve) วาลวลูกบอล
(Ball Valve) วาลวเข็ม (Needle Valve)
 วาลวตัดตอน (Isolating Valve) ทําหน(าที่ไมให(น้ําที่ไหลจากด(านต(นน้ําหรือท(ายน้ําไหลผาน
 วาลวลดความดัน (Pressure Relief Valve) ทําหน(าที่ลดความดันในทอให(ลดลงตามคาที่ยอมให(
ในการออกแบบ
 เชควาลว (Check Valve) ทําหน(าที่ปhองกันการไหลกลับของของไหลเมื่อเครื่องสูบน้ําปKด
กะทันหันเพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นเนื่องจากน้ํากระแทก เชน วาลวแบบบานเหวี่ยง
(Swing check Valve) ฟุตวาลวหรือหัวกะโหลก (Foot Valve) ซึ่งติดตั้งไว(ที่ปลายทอดูด

เมื่อมีการไหลผานวาลวก็จะมีการสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นซึ่งจะมากหรือน(อยขึ้นอยูกับชนิดของ
วาลวและขนาดของชองเปKด คาสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor Loss Coefficient, K) ของ
วาลวบางชนิดสามารถหาได(จากรูปที่ 5.8
179

a) Glove Valve b) Gate Valve

c) Check Valve d) Angle Valve

e) Basket strainer f) Foot Valve


รูปที่ 5.8 การสูญเสียพลังงานรองเนื่องจากการไหลผานวาลว
ที่มา: Toprak (2000)
180

คาสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานนั้นขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุที่ผลิตด(วย ดังนั้นเพื่อให(ผู(ออกแบบมี
ข(อมูลในการตัดสินใจเบื้องต(น คาการสูญเสียพลังงานรองสําหรับคาสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรองที่
นิยมใช(กันทั่วไปของอุปกรณประกอบทอสามารถหาได(จากตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient, K)

Type of Component K Type of Component K Type of Component K


Pipe Entrance (Reservoir to Pipe) Globe valve - fully open 10.00 Cross
Square Connection 0.50 Gate valve - fully open 0.39 Line flow 0.50
Rounded Connection 0.20 3/4 open 1.10 Branch flow 0.75
Re-entrant (pipe juts into tank) 1.00 1/2 open 4.80 Mitered bend (q)
Pipe Exit (Pipe to Reservoir) 1/4 open 27.00 15o 0.05
Square Connection 1.00 Ball Valve - fully open 0.05 30o 0.10
Rounded Connection 1.00 2/3 open 5.50 45o 0.20
Re-entrant (pipe juts into tank) 1.00 1/3 open 200.00 60o 0.35
Contraction - sudden Angle valve - fully open 4.30 90o 0.80
D2/D1=0.80 0.18 Check valve - conventional 4.00 90o smooth bend
D2/D1=0.50 0.37 Check valve - clearway 1.50 Bend radius/D = 4 0.16-0.18
D2/D1=0.20 0.49 Check valve - ball 4.50 Bend radius/D = 2 0.19-0.25
Contraction - conical Butterfly valve - fully open 1.20 Bend radius/D = 1 0.35-0.40
D2/D1=0.80 0.05 Cock - straight through 0.50 Elbows
D2/D1=0.50 0.07 Foot valve - hinged 2.20 Threaded Regular 90o 1.50
D2/D1=0.20 0.08 Foot valve - poppet 12.50 Threaded Regular 45o 0.40
Expansion - sudden Tee Threaded Long Radius 90o 0.70
D2/D1=0.80 0.16 Line flow 0.30-0.40 Flanged Regular 90o 0.30
D2/D1=0.50 0.57 Branch flow 0.75-1.80 Flanged Long Radius 90o 0.20
D2/D1=0.20 0.92 Flanged, Line Flow 0.20 Flanged Long Radius 45o 0.20
Expansion - conical Flanged, Branch Flow 1.00 180o Return Bends
D2/D1=0.80 0.03 Threaded, Line Flow 0.90 Flanged 0.20
D2/D1=0.50 0.08 Threaded, Branch Flow 2.00 Threaded 1.50
D2/D1=0.20 0.13 Threaded Union 0.08
181

ตัวอย2างที่ 5.4 น้ําไหลจาก สระ A ไป สระ B โดยผานทอเหล็กหลอใหม (New Cast iron) ซึ่งมีความ
ขรุขระของผิวภายทอเทากับ 0.25 mm และมีขนาดเส(นผานศูนยกลางเทากับ 20 cm ความยาวทอรวม
ทั้งหมด 800 m ทําการติดตั้งวาลวควบคุมน้ําแบบ Gate valve ซึ่งทําการเปKดเต็มที่ และข(องอแบบ
Threaded regular 90° จงหาผลตางของระดับผิวน้ําระหวาง สระ (Pond) A และ สระ B
กําหนด
- การไหลเปนแบบคงที่ (ระดับน้ําใน สระ A และ สระ B มีการเปลี่ยนแปลงน(อยมาก
เนื่องจาก เปนสระขนาดใหญมาก)
- น้ํามีอุณหภูมิคงที่เทากับ 30 องศาเซลเซียส

- ถ(าอัตราการไหลเทากับ 80 l/s จงหา ผลตางของระดับน้ําระหวางสระทั้งสอง


- ถ(าระดับน้ําในถังทั้งสองตางกัน 27.84 m จงหาอัตราการไหล

วิธีทํา หาผลตางของระดับน้ําระหวางสระทั้งสองกรณีที่มีอัตราการไหลเทากับ 80 l/s


พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด 1 กับ จุด 2
P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L (Ex5.4-1)
γ 2g γ 2g

P2 − P1 V22 − V12
( Z1 − Z 2 ) = + + HL (Ex5.4-2)
γ 2g

จากรูป P1 = P2 = 0 (สําหรับความดันเกจ) และ V1 = V2 = 0 ถือวาความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 และ


2 มีการเคลื่อนที่น(อยมาก แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.4-2

H = H L = ∑ h f + ∑ hm
182

หรือ

L V2 V2 
H= f + ∑ K ×  (Ex5.4-3)
D 2g  2g 

อัตราการไหลภายในทอเทากับ Q=0.08 m3 s และพื้นที่หน(าตัดการไหลของทอเทากับ


π×0.2 2
Q 0.08
A= =0.0314 m 2 ดังนั้นความเร็วในการไหลในทอ V= = =2.55 m/s
4 A 0.0314

ต(องการหาคา สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงาน (f) ต(องทราบคาตัวเลขเรยโนลด (Re) และ คาความขรุขระ


ε 
สัมพัทธ  
D

ρVD VD
Re = = (Ex5.4-4)
µ υ

จากตารางที่ เมื่อน้ําอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสจะทําให(ความหนืดจลศาสตรมีคาเทากับ 8.009 x 10-7


m2/s แทนคาลงในสมการที่ Ex5.2-4 จะได(
2.55 × 0.2
Re = −7
= 6.37 × 105
8.009 × 10

และจากตารางที่ ได(คา ความขรุขระผิวทอ (ε ) เทากับ 0.25 ดังนั้นจะได(

ε 0.25 × 10 −3
= = 0.00125
D 0.2

ε 
นําคา Re และ   ที่คํานวณได(ไปเปKดกราฟ Mooddy diagram พบวาคา f = 0.021 จาก
D
ตารางที่ 5.2 คา K ของทางเข(าเทากับ 0.5 (พิจารณาเปนแบบ Square connection) คา K ของทางออก
เทากับ 1 คา K ของ Gate valve เทากับ 0.39 และคา K สําหรับข(องอแบบ Threaded regular 90°
เทากับ 1.5 แทนคาตาง ๆ ลงในสมการ Ex5.4-3 จะได(

800 2.552  2.552 


H=0.021× × + ( 0.5+0.39+1.5+1.5+1) ×   = 29.46 m
0.2 2g  2g 

ตอบ ผลตางของผิวน้ําระหวาง สระ A และ สระ B เทากับ 29.46 m หรืออาจกลาวได(วามีการสูญเสีย


พลังงานหลักเนื่องจากการไหลเทากับ 29.46 m
183

หาอัตราการไหลระหว2างสระทั้งสองถ.าระดับน้ําในถังทั้งสองต2างกัน 27.84 m

พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด 1 กับ จุด 2

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L (Ex5.4-1)
γ 2g γ 2g

P2 − P1 V22 − V12
( Z1 − Z 2 ) = + + HL (Ex5.4-2)
γ 2g

จากรูป P1 = P2 = 0 (สําหรับความดันเกจ) และ V1 = V2 = 0 ถือวาความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 และ


2 มีการเคลื่อนที่น(อยมาก แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.4-2

27.84 = H L = ∑ h f + ∑ hm

หรือ

L V2 V2 
27.84 = f + ∑ K ×  (Ex5.4-3)
D 2g  2g 

 800 V
2
27.84 =  f + 4.89 
 0.2  2g

2 g × 27.84 546.22
V= = (Ex5.4-4)
( 4, 000 f + 4.89 ) ( 4, 000 f + 4.89 )

จะเห็นได(วาสมการที่ Ex5.4-4 นั้นไมสามารถหาคําตองได( เนื่องจากไมทราบคา f ซึ่งการจะหาคา f ได(นั้น


ต(องทรายคาความเร็ว V กอน เนื่องจากไมทราบอัตราการไหลจึงทําให(ไมสามารถคํานวณความเร็วการไหล
V สงผลให(ไมสามารถคํานวณคาตัวเลขเรยโนลดได(จึงไมสามารถหาคา f ได( ดังนั้นการหาคําตอบนี้ต(องใช(
วิธีการ Trial and error โดยมีวิธีการดังนี้

- สมมติคา f (ในที่นี้สมมติ f=0.015) และนําไปแทนคาในสมการที่ Ex5.4-4 จะได(คา V ออกมา


ดังนี้

546.22
V= = 2.90 ms
( 4,000×0.015+4.89 )
184

ε 
- คํานวณคา Re และ  
D

2.90 × 0.2
Re = −7
= 7.24 × 105
8.009 × 10

ε 0.25 × 10 −3
= = 0.00125
D 0.2

- เปKดกราฟ moody diagram จะได(คา f= 0.0205


- เนื่องจากคา f ที่ทําการสมมติไมเทากับคา f ที่คํานวณได(ต(องทําการสมมติ f ใหม (ในที่นี้สมมติ
f=0.0205)

546.22
V= = 2.51 ms
( 4,000×0.0205+4.89 )

ε 
- คํานวณคา Re และ  
D

2.51× 0.2
Re = = 6.27 × 105
8.009 × 10 −7

ε 0.25 × 10 −3
= = 0.00125
D 0.2

- เปKดกราฟ moody diagram จะได(คา f= 0.0205


- เนื่องจากคา f ที่ทําการสมมติมีคาเทากับคา f ที่คํานวณได( ดังนั้นความเร็วในการไหลผานทอ
เทากับ 2.51 m/s
- คํานวณหาอัตราการไหลผานทอ
π×0.22
 พื้นที่หน(าตัดการไหลของทอเทากับ A= = 0.0314 m 2
4
 ดังนั้นอัตราการไหลในทอ Q = AV = 0.0314 × 2.51 = 0.0788 m3 /s

ตอบ อัตราการไหลภายในทอเทกับ 0.0788 m3/s หรือ 78.8 liters/s

จะเห็นได(วาเมื่อการสูญเสียพลังงานเพิ่มขึ้นอัตราการไหลก็จะลดลงเมื่อตัวแปรอื่น ๆ คงที่
185

การไหลในระบบท2อ (Flow in Pipe System)


การไหลผานทอภายใต(แรงดันสามารถแบงระบบการไหลภายในทอได(สองแบบการไหลของของ
ไหลผานทอแบบอนุกรม (Pipes in series) และทอแบบขนาน (Pipes in parallel) ซึ่งสามารถพบเห็นได(
ทั่วไปทั้งระบบการจายน้ําประปา หรือ ระบบทอในโรงงานอุตสาหกรรม โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
การต2อท2อแบบอนุกรม (Pipes in Series)
การตอทอแบบอนุกรมคือการตอทอแบบเรียงกันเปนแนวยาว ดังรูปที่ 5.9 โดยการตอทอขนาดตาง
ๆ ให(เปนทอเส(นเดียวกัน เชนไมวาจะตอจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ หรือตอทอจากขนาดใหญไปขนาด
เล็ก มีหลักการในการวิเคราะหการไหลดังนี้

รูปที่ 5.9 การตอทอแบบอนุกรม

 อัตราการไหลภายในแตละเส(นทอ (ทอยอยแตละเส(น) มีคาเทากันตามสมการการไหลตอเนื่อง


โดยมีความสัมพันธดังสมการ
Q1 = Q2 = Q3 = Q4 = Q (5.16)
 การสูญเสียพลังงานทั้งหมดในระบบทอมีคาเทากับผลรวมของการสูญเสียพลังงานหลักและการ
สูญเสียพลังงานรองของทุกเส(นทอในระบบ
4 4
H L = ∑ h f + ∑ hm (5.17)
i =1 i =1
186

การต2อท2อแบบขนาน (Pipes in Parallel)

การตอทอแบบขนานคือการตอทอออกจากจุดเดียวกันแล(วกลับมาพบกันที่จุดรวมอีกครั้งหนึ่งดังรูปที่

รูปที่ 5.10 การตอทอแบบขนาน

จากรูปที่ 5.10 การตอทอจากตําแหนง B ไปตําแหนง C เปนการตอทอแบบขนาน ซึ่งทําให(อัตราการ


ไหลจะถูกแบงจากตําแหนง B ไปสองเส(นทางคือผานเส(นทางที่ 1 (Line I) และผานเส(นทางที่ 2 (Line II)
และไปบรรจบที่ตําแหนง C เมื่อพิจารณาการไหลผานทอที่ตอแบบขนานพบวามีหลักการในการวิเคราะห
การไหลดังนี้
 อัตราการไหลรวม Q จะเทากับอัตราการไหลของแตละเส(นทอรวมกันโดยมีความสัมพันธดัง
สมการ
Q = Q1 + Q2 (5.18)
 การสูญเสียพลังงานทั้งหมดในระบบทอมีคาเทากันดังสมการ
H L1 = H L 2 (5.19)
187

ตัวอย2างที่ 5.5 น้ําไหลจากอางเก็บน้ํา (reservoir) ผานทอสงน้ํา 2 ขนาดซึ่งมีรายละเอียดดังรูป Ex5.5-1


จงหาอัตราการไหลของน้ําเมื่อระดับน้ําในอางเก็บน้ําไมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดการไหลและน้ํามีความ
หนืดจลนศาสตร เทากับ 8.04 x 10-5 m2/s (ไมคิดการสูญเสียพลังงานรอง)

รูปที่ Ex5.5-1

วิธีทํา พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด 1 กับ จุด 2

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L (Ex5.5-1)
γ 2g γ 2g

P2 − P1 V22 − V12
( Z1 − Z 2 ) = + + HL (Ex5.5-2)
γ 2g

จากรูป P1 = P2 = 0 (สําหรับความดันเกจ) และ V1 = V2 = 0 ถือวาความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 และ


2 มีการเคลื่อนที่น(อยมาก แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.5-2

80 = H L = ∑ h f + ∑ hm

เมื่อไมคิดการสูญเสียพลังงานรองดังนั้น จะได(

 L V2 
80 = ∑  f  (Ex5.5-3)
 D 2g 

 L V2   L V2 
80 =  f  + f  (Ex5.5-4)
 D 2 g  D =90  D 2 g  D =60
188

- คํานวณคาตาง ๆ เพื่อนําไปแทนคาในสมการที่ หาอัตราการไหลผานทอ


 พื้นที่หน(าตัดการไหลของทอ
π×0.9 2
 A 90 = = 0.636 m 2
4
π×0.6 2
 A 60 = = 0.283 m 2
4
 ความเร็วการไหล
A 90 0.636
 V60 = × V90 = × V90 = 2.25V90
A 60 0.283

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.5-4 จะได(


2
1, 000 V902 800 ( 2.25V90 )
80 = f 90 + f 60 (Ex5.5-5)
0.9 2 g 0.6 2g

 1, 000 V
2
800
80 =  f 90 + f 60 × 2.252  90
 0.9 0.6  2g

2 g × 80
V90 = (Ex5.5-6)
1,111.11 f 90 + 6, 750 f 60

จะเห็นได(วาสมการที่ Ex5.5-6 นั้นไมสามารถหาคําตอบได( เนื่องจากไมทราบคา f ซึ่งการจะหาคา f


ได(นั้นต(องทราบคาความเร็วกอน อยางไรก็ตามเนื่องจากไมทราบอัตราการไหลจึงทําให(ไมสามารถคํานวณ
ความเร็วการไหลได( สงผลให(ไมสามารถคํานวณคาตัวเลขเรยโนลดได(จึงไมสามารถหาคา f ได( ดังนั้นการ
หาคําตอบนี้ต(องใช(วิธีการ Trial and error โดยมีวิธีการดังนี้

- สมมติคา f60 และ f90 (ในที่นี้สมมติ f60=0.02 และ f90 = 0.015) และนําไปแทนคาในสมการที่
Ex5.5-6 จะได(คา V90 ออกมาดังนี้

2g×80
V90 = = 3.57 ms
1,111.11×0.02+6,750×0.015

และ

V60 = 2.25V90 = 2.25×3.57 = 8.03 ms


189

VD ε 
- คํานวณคา Re = และ  
υ D

8.03 × 0.6 3.37 × 0.6


Re 60 = −5
= 5.99 × 104 Re 60 = −5
= 2.51×10 4
8.05 × 10 8.05 × 10

ε  ε 
−3 −3
1.5 × 10 1.5 ×10
  = = 0.0025   = = 0.0021
 D  60 0.6  D 90 0.9

- เปKดกราฟ moody diagram จะได(คา f60= 0.027 และ f90= 0.029


- เนื่องจากคา f ที่ทําการสมมติไมเทากับคา f ที่คํานวณได(ต(องทําการสมมติ f ใหม (ในที่นี้สมมติ
f60=0.027 และ f90 = 0.029)

2g×80
V90 = = 2.64 ms
1,111.11×0.027+6,750×0.029

และ

V60 = 2.25V90 = 2.25×2.64 = 5.94 ms

VD ε 
- คํานวณคา Re = และ  
υ D

5.94 × 0.6 2.64 × 0.6


Re 60 = = 4.43 × 104 Re 60 = = 1.97 × 104
8.05 × 10−5 8.05 × 10−5

ε  ε 
−3 −3
1.5 × 10 1.5 ×10
  = = 0.0025   = = 0.0021
 D  60 0.6  D 90 0.9

- เปKดกราฟ moody diagram จะได(คา f60= 0.0275 และ f90= 0.0315


- เนื่องจากคา f ที่ทําการสมมติไมเทากับคา f ที่คํานวณได(ต(องทําการสมมติ f ใหม (ในที่นี้สมมติ
f60=0.0275 และ f90 = 0.0315)

2g×80
V90 = = 2.54 ms
1,111.11×0.0275+6,750×0.0315

และ
190

V60 = 2.25V90 = 2.25×2.54 = 5.72 ms

VD ε 
- คํานวณคา Re = และ  
υ D

5.72 × 0.6 2.54 × 0.6


Re 60 = −5
= 4.26 × 10 4 Re 60 = −5
= 1.89 ×104
8.05 × 10 8.05 × 10

ε  ε 
−3 −3
1.5 × 10 1.5 ×10
  = = 0.0025   = = 0.0021
 D  60 0.6  D 90 0.9

- เปKดกราฟ moody diagram จะได(คา f60= 0.0275 และ f90= 0.031


- เนื่องจากคา f ที่ทําการสมมติมีคาเทากับคา f ที่คํานวณได( ดังนั้นความเร็วในการไหลผานทอ
 V60 = 5.72 m s
 V90 = 2.54 m s
- คํานวณหาอัตราการไหลผานทอ

Q=A 90 V90 = 0.636 × 2.54 = 1.615 m3 s

ตอบ อัตราการไหลที่ไหลออกจากอางเก็บน้ําเทากับ 1.615 m3/s


191

ตัวอย2างที่ 5.6 น้ําไหลจากอางเก็บน้ํา I (Reservoir I) ไปยังอางเก็บน้ํา 2 (Reservoir II) ด(วยทอ 2 แนว


ดังรายละเอียดดังนี้
- ผลตางของระดับน้ําในอางเก็บน้ํา I กับอางเก็บน้ํา II เทากับ 40 m
- Line I เปนทอแนวเดิมสร(างไว(นานแล(วโดยใช(ทอเหล็กซึ่งปMจจุบันเปนสนิม (สัมประสิทธิ์ความ
เสียดทาน, f = 0.02) ขนาดเส(นผานศูนยกลาง 20 cm มีความยาวทอ 1,200 m มีบอลวาลว
ควบคุมอัตราการไหล (K= 0.05) และข(องอเปนแบบ Threaded long radius 90° (K= 0.7)
- Line II เปนทอแนวใหมสร(างขึ้นเพื่อเพิ่มอัตราการไหลจากจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา 2
โดยใช(ทอเหล็กชุบสังกะสี (สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน, f = 0.015) ขนาดเส(นผานศูนยกลาง 30
cm มีความยาวทอ 800 m มีเกจวาลวควบคุมอัตราการไหล (K= 0.39)
- คาสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานที่ทางเข(า (K) = 0.5 และ ทางเข(า (K) = 1.0

รูปที่ Ex5.5-1 แนวทอลําเลียงน้ําจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา 2

เมื่อเปKดวาลวน้ําเต็มที่ จงตอบคําถามตอไปนี้
- อัตราการไหลจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา II กอนสร(างทอแนวใหมเปนเทาไร
- อัตราการไหลทั้งหมดจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา II หลังสร(างทอแนวใหมเสร็จมีคาเทาไร
192

วิธีทํา หาอัตราการไหลจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา II กอนสร(างทอแนวใหมเมื่อผลตางระดับน้ําทั้ง


สองอางตางกัน 40 m
พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด 1 กับ จุด 2

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L (Ex5.6-1)
γ 2g γ 2g

P2 − P1 V22 − V12
( Z1 − Z 2 ) = + + HL (Ex5.6-2)
γ 2g

จากรูป P1 = P2 = 0 (สําหรับความดันเกจ) และ V1 = V2 = 0 ถือวาความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 และ


2 มีการเคลื่อนที่น(อยมาก แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.6-2

H L = H = ∑ h f + ∑ hm

หรือ

L V2 V2 
40 = f + ∑ K ×  (Ex5.6-3)
D 2g  2g 

 1, 200  V 2 V2
40 =  0.02 ×  + ( 0.5 + 0.05 + 0.7 + 0.7 + 1)
 0.2  2 g 2g

2g×40
V= = 2.53 m s (Ex5.6-4)
(120+2.95 )

คํานวณหาอัตราการไหลผานทอ

π×0.22
 พื้นที่หน(าตัดการไหลของทอเทากับ A= = 0.0314 m 2
4
 ดังนั้นอัตราการไหลในทอ Q = AV = 0.0314 × 2.53 = 0.0794 m3 /s

ตอบ อัตราการไหลจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา II กอนสร(างทอแนวใหมเทากับ 0.0794 m3/s หรือ


79.4 liters/s
193

หาอัตราการไหลในทอแนวสร(างใหม
พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด 1 กับ จุด 2

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 + H L (Ex5.6-5)
γ 2g γ 2g

P2 − P1 V22 − V12
( Z1 − Z 2 ) = + + HL (Ex5.6-6)
γ 2g

จากรูป P1 = P2 = 0 (สําหรับความดันเกจ) และ V1 = V2 = 0 ถือวาความเร็วที่ผิวน้ําที่ตําแหนงที่ 1 และ


2 มีการเคลื่อนที่น(อยมาก แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex5.6-6

H L = H = ∑ h f + ∑ hm

หรือ

L V2 V2 
40 = f + ∑ K ×  (Ex5.6-7)
D 2g  2g 

 800  V 2 V2
40 =  0.015 ×  + ( 0.5 + 0.39 + 1)
 0.2  2 g 2g

2g×40
V= = 3.56 m s (Ex5.6-8)
( 60+1.89 )

คํานวณหาอัตราการไหลผานทอ

π×0.32
 พื้นที่หน(าตัดการไหลของทอเทากับ A= = 0.071 m 2
4
 ดังนั้นอัตราการไหลในทอ Q = AV = 0.071× 3.56 = 0.253 m3 /s

ตอบ อัตราการไหลจากอางเก็บน้ํา I ไปยังอางเก็บน้ํา II หลังสร(างทอแนวใหมเทากับ 0.332


(0.0794+0.253) m3/s หรือ 332 liters/s
194

วัดอัตราการไหลในท2อ (Flow Measurement in Pipe)


การวัดอัตราการไหลในทอมีหลักการจากการลดพื้นที่หน(าตัดการไหลภายในทอ เปนสาเหตุให(มี
การสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นในรูปแบบของความดัน พลังงานความดันที่สูญเสียไปดังกลาวนี้มีความสัมพันธ
โดยตรงกับพลังงานความเร็ว

รูปที่ 5.11 การไหลในทอ

จากรูปที่ 5.11 หากพิจารณาให(ทออยูในแนวราบ (Horizontal Pipe) (ระดับ Z1 เทากับ Z2)


และไมคํานึงถึงการสูญเสียพลังงาน และจากทฤษฎีของเบอรนูลลี (Bernoulli’s Equation) ระหวาง
ตําแหนงที่ 1 กับ 2 จะได(สมการที่ 5.20 และจากสมการความตอเนื่องจะได(ความสัมพันธระหวางความเร็ว
ที่ตําแหนงที่ 1 (V1) กับ ความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 (V2) ดังสมการที่ 5.21

P1 V12 P2 V22
+ = + (5.20)
γ 2g γ 2g

2
D 
V1 =  2  V2 (5.21)
 D1 

เมื่อ D1 และ D2 คือขนาดเส(นผานศูนยกลางหน(าตัดที่ที่ตําแหนงที่ 1 และ 2 ตามลําดับ แทนคา V1 จาก


สมการ 5.21 ลงในสมการ 5.20 จะได(สมการ 5.22
195

2 ( P1 − P2 )
V2 = (5.22)
(
ρ 1 − ( D2 D1 )
4
)
หากกําหนดให( β = D2 D1 สามารถคํานวณหาอัตราการไหลทางทฤษฎีได(เทากับสมการ 5.23

2 ( P1 − P2 )
Qtheory = A2V2 = A2 (5.23)
ρ (1 − β 4 )

เมื่อ Qtheory คืออัตราการไหลทางทฤษฎี (m3/s) A2 คือ พื้นที่หน(าตัดการไหลของตําแหนงที่ 2


(m2) V2 คือ ความเร็วการไหลในทิศตั้งฉากกับพื้นที่หน(าตัด A2 (m/s) P1 และ P2 คือ ความดันที่หน(าตัด 1
และ หน(าตัดที่ 2 ตามลําดับ (N/m2) ρ คือ ความหนาแนนของของไหล (kg/m3) สมการที่ 5.23 เปน
สมการที่ไมคํานึงถึงการสูญเสียพลังงานตามสมมติฐานของเบอรนูลลี เนื่องจากการนําพลังงานที่สูญเสียไป
ระหวางตําแหนงที่ 1 และ 2 มาเปนตัวแปรในการวิเคราะหด(วยสมการทางคณิตศาสตรเปนเรื่องคอนข(าง
ซับซ(อนและยากตอการหาคําตอบ แตในการวัดอัตราการไหลจริงต(องการคําตอบที่ถูกต(องและมีความ
แมนยําสูง ดังนั้นเพื่อให(ได(คาอัตราการไหลที่แท(จริง จึงต(องปรับแก(คาอัตราการไหลทางทฤษฎีด(วยการคูณ
ด(วยคาคาคงที่ของอัตราการไหล (Discharge Coefficient, CD) ทําให(ได(คาอัตราการไหลที่แท(จริง ดังนั้น
อัตราการไหลที่แท(จริงสามารถหาได(จากสมการ 5.24

Qacrual = C D Qtheory (5.24)

เมื่อ Qactualคือ อัตราการไหลจริง (m3/s) CD คือ สัมประสิทธิ์ของอัตราการไหล (ไมมีหนวย)

อุ ป กรณ วั ด อั ต ราการไหลภายในท อมี ม ากมายหลายแบบด( ว ยกั น ในที่ บ ทนี้ จ ะยกตั ว อย า ง 5


รูปแบบที่นิยมสําหรับวัดอัตราการไหลในทอด(วยกันคือ มาตรวัดแบบแผนเจาะรู (Orifice Meter) มาตร
วัดแบบหัวฉีด (Nozzle Meter) มารตวัดแบบเวนจูรี (Venturi Meter) และมาตรวัดแบบทอปKโทด (Pitot
Tube) และมาตรวัดแบบโรตา (Rota)
196

มาตรวัดแบบแผ2นเจาะรู (Orifice Meter)


มาตรวัดชนิด แผนเจาะรู เปนอุปกรณที่มีลักษณะเปนแผนเจาะรู ซึ่งเรีย กวา Orifice Plate
โดยทั่วไปทําขึ้นโดยการนําแผนเจาะรูไปติดตั้งระหวางครีบของทอ (Flanges of a pipe) ดังแสดงในรูปที่
5.12 พื้นที่หน(าตัดของรูจะต(องติดตั้งให(ตั้งฉากกับการไหล

รูปที่ 5.12 มาตรวัดชนิดแผนเจาะรู

หากพิจารณาระหวางตําแหนงที่ 1 กับตําแหนงที่ 2 พบวาความดัน ณ. ตําแหนงที่ 2 มีคาน(อย


กวาตําแหนงที่ 1 เนื่องด(วยปรากฏการณสองลักษณะคือ ปรากฏการณแรกเกิดเนื่องจากปรากฏการณ
Vena contracta (ลักษณะลําของไหลที่ผานออกมา จะคอดตัวเรียวเล็กกวาขนาดของรูระบายเล็กน(อย
แล(วจึงคอยๆ ขยายตัวอีกเล็กน(อยเปนลําของไหล ซึ่งบริเวณคอคอดที่เล็กที่สุดเรียกวา Vena contracta)
ทําให(ขนาดของพื้นที่หน(าตัดการไหลตรงตําแหนงที่ 2 (A2) มีขนาดเล็กกวาพื้นที่หน(าตัดของแผนเจาะรู
(Ao) ขนาดของพื้ น ที่ ห น( า ตั ด A2 มี ขนาดเท า กั บ CcAo เมื่ อ Cc คื อ สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องการบี บ ตั ว
(Contraction coefficient) โดย 0 < Cc <1
เมื่อไมคิดการสูญเสียพลังงานระหวางตําแหนงที่ 1 กับ ตําแหนงที่ 2 สามารถเขียนสมการ
ความสัมพันธของพลังงานโดยอาศัยสมการของเบอรนูลี (Bernoulli’s equation) ระหวางตําแหนงทั้ง
สองได(ดังนี้
P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 (5.25)
γ 2g γ 2g

P1 P2 V 2 V 2 
− = (Z 2 − Z1 ) +  2 − 1  (5.26)
γ γ  2g 2g 

หากเราต(องการหาอัตราการไหลที่ผานแผนเจาะรูเราจะต(องทราบอัตราการไหลที่ตําแหนงที่ 1
(Q1) ซึ่งมีคาเทากับความเร็วที่ตําแหนงที่ 1 (V1) คูณด(วยพื้นที่หน(าตัดการไหลที่ตําแหนงที่ 1 (A1) หรือ
197

อัตราการไหลที่ตําแหนงที่ 2 (Q2) ซึ่งมีคาเทากับความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 (V2) คูณด(วยพื้นที่หน(าตัดการ


ไหลที่ตําแหนงที่ 2 (A2) เนื่องด(วยอัตราการไหลในทอมีขนาดเทากัน ซึ่งหมายความวา Q1 = Q2 = QO
[เมื่อ QO คืออัตราการไหลผานแผนเจาะรูซึ่งมีคาเทากับความเร็วที่ไหลผานแผนเจาะรู (VO) คูณด(วยพื้นที่
หน(าของแผนเจาะรู (AO) อยางไรก็ตามเราสามารถทราบคาพื้นที่หน(าตัดของแผนเจาะรูแตไมสามารถวัด
ความเร็วที่ไหลผานแผนเจาะรูได(ดังนั้นจึงอาศัยความสัมพันธของสมการความตอเนื่องจะได(

Q2 = QO (5.27)

A2V2 = AOVO

AO AO V
V2 = VO = VO = O
A2 CC AO CC

เมื่อ A2 = CCAO โดยที่ Cc คือ สัมประสิทธิ์ของการบีบตัว (Contraction coefficient) และจาก

Q1 = Q2

A1V1 = A2V2

A2
V1 = V2
A1

CC AO VO A
V1 = = O VO
A1 CC A1

โดยที่ A2 = CC AO และ V2 = VO นําคาตาง ๆ แทนคาลงในสมการ 5.26 จะได(


CC

P1 P2 1  V 2
  AO 
2

− = (Z 2 − Z1 ) +  O  −  VO   (5.28)
γ γ 2g  CC   A1  

หากทอถูกวางอยูในแนวระดับจะทําให( Z2 = Z1 สมการที่ 5.28 เขียนใหมได(เปน

V 2  1   AO  
2 2
P1 P2
− = O   −   
γ γ 2 g  CC   A1  

เนื่องจากเทอม P γ คือคาเฮดความดันซึ่งมีคาเทากับระดับน้ําในหลอดมานอมิเตอรดังนั้นสามารถ
198

คํานวณหา VO ได(ดังนี้

2 g∆H
VO = (5.29)
( 2
C )
1 C − ( AO A1 )
2

เมื่อ ∆H คือ ผลตางของระดับน้ําในหลอดมานอมิเตอร (m) คํานวณได(จาก H1-H2 โดยที่ H1 =


P 1 γ และ H2 = P 2 γ อยางไรก็ตามสมการที่ 5.29 ยังไมได(คํานึงถึงการสูญเสียพลังงานระหวาง
ตําแหนงที่ 1 กับ 2 เนื่องจากการหมุนวนของการไหล (Swirling Flow) และเกิดการไหลแบบปMîนปñวน
(Turbulent Flow) บริเวณใกล(กับแผนเจาะรู พลังงานที่สูญเสียดังกลาวนี้ไมสามารถคํานวณได(โดยใช(
ทฤษฏี ดังนั้นคาจึงต(องปรับ แก(ด(วยการหาสัมประสิทธิ์มาคูณคาความเร็ว VO ซึ่งได(แก สั มประสิทธิ์
ความเร็วของการไหลผานแผนเจาะรู (Orifice Velocity Coefficient, CV) และสมการ 5.30 จะกลายเปน

2 g∆H
CV VO = CV (5.30)
( 2
C )
1 C − ( AO A1 )
2

โดยที่ คา CVVO คือความเร็วการไหลที่แท(จริงของการไหลผานแผนเจาะรู (VT) และหาก


CV
กําหนดให(สัมประสิทธิ์การไหลผานรูระบาย CO = ดังนั้นจะได(สมการหาอัตราการ
(1 C ) − ( A
2
C O A1 )
2

ไหลผานแผนเจาะรูตามสมการ

Q = CO AO 2 g ∆H (5.31)

เมื่อ Q คืออัตราการไหลที่แท(จริงของการไหลผานแผนเจาะรู (m3/s) Ao คือพื้นที่หน(าตัดของแผน


เจาะรู (m2) ∆H คือผลตางของระดับน้ําในหลอดมานอมิเตอรหรือผลตางของเฮดความดัน (m) g คือ
ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (m/s2) CO คือ สัมประสิทธิ์ของการไหลผานแผนเจาะรู (ไมมี
หนวย) โดยที่สัมประสิทธิ์ของการไหลผานแผนเจาะรูขึ้นอยูกับชนิดของแผนเจาะรู ขนาดเส(นผาศูนยกลาง
ทอ และคาตัวเลขเรยโนลดซึ่งสามารถหาได(ดังรูปที่ 5.13
199

รูปที่ 5.13 สัมประสิทธิ์ของการไหลผานแผนเจาะรู


ที่มา: Munson et al. (1994)
200

มาตรวัดแบบท2อหัวฉีด (Nozzle Meter)


มาตรวัดแบบทอหัวฉีดเปนการใช(หลักการของมาตรวัดแบบแผนเจาะรูมาประยุกตใช( (รูปที่ 5.14)
โดยมีการออกแบบให(หัวฉีดมีผิวโค(งตามเส(นสายธารการไหล (Steam Line) เพื่อลดผลกระทบจาก
ปรากฏการณ Vena Contracta ทําให(มาตรวัดแบบทอหัวฉีดมีการสูญเสียพลังงานน(อยกวามาตรวัดแบบ
แผนเจาะรูเนื่องจากการไหลมีความราบเรียบกวา

a) Long radius nozzle

b) Long radius nozzle

c) Shot radius nozzle


201

รูปที่ 5.14 มาตรวัดแบบทอหัวฉีด


การหาอัตราการไหลผานมาตรวัดแบบทอหัวฉีดจะอาศัยหลักการเดียวกันกับมาตรวัดแบบแผน
เจาะรูโดยสามารถหาคาได(ดังสมการ 5.31

Q = C N AN 2 g ∆H (5.31)

เมื่อ Q คืออัตราการไหล (m3/s) AN คือพื้นที่หน(าตัดของทอหัวฉีด ∆H คือ ผลตางของระดับน้ํา


ในหลอดมานอมิเ ตอรหรื อผลตางของเฮดความดั น (m) g คื อ ความเร งเนื่ องจากแรงโน(มถวงของโลก
(m/s2) CN คือ สัมประสิทธิ์ของการไหลผานทอหัวฉีด (ไมมีหนวย) สัมประสิทธิ์ของอัตราการไหลผานทอ
หัวฉีดขึ้นอยูกับชนิดของหัวฉีดโดยทั่วไปคา CN จะมีคามากกวาคา CO เสมอ ซึ่งแสดงให(เห็นวาการไหลผาน
มาตรวัดอัตราการไหลแบบหัวฉีดมีการสูญเสียพลังงานการไหลน(อยกวาการไหลผานมาตรวัดอัตราการไหล
แบบแผนเจาะรู สําหรับสัมประสิทธิ์ของการไหลผานทอหัวฉีดโดยทั่วไปหาได(ดังรูปที่ 5.15

รูปที่ 5.15 สัมประสิทธิ์ของการไหลผานทอหัวฉีด


ที่มา: Munson et al. (1994)
202

มาตรวัดแบบท2อเวนจูรี่ (Venturi Meter)

มาตรวัดแบบทอเวนทูรี่ถูกออกแบบโดย จิโอวานนี เวนทูรี่ (Giovanni Venturi, 1746-1822) นัก


ฟKสิกสชาวอิตาเลียน โดยทอทางด(านเหนือน้ํามีลักษณะลูเข(าจนถึงคอคอด จากนั้นคอย ๆ ขยายออกจนมี
หน(าตัดเทาเดิม (รูปที่ 5.16) เพื่อทําให(การไหลมีความราบเรียบ ดังนั้นมาตราวัดอัตราการไหลแบบทอเวน
จูรี่จึงให(คาความเร็วการไหลที่คอนข(างแมนยํากวามาตรวัดแบบแผนเจาะรูและมาตรวัดแบบทอหัวฉีด

รูปที่ 5.16 มาตรวัดแบบทอเวนทูรี่

การหาความเร็วการไหลภายในทอนั้นจะอาศัยสมการของเบอรนูลี (Bernoulli’s Equation)


ระหวางตําแหนงที่ 1 กับ ตําแหนงที่ 2 สามารถเขียนสมการความสัมพันธของพลังงานโดยยังไมคํานึงถึง
การสูญเสียพลังงาน ระหวางตําแหนงทั้งสองได(ดังนี้

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 (5.22)
γ 2g γ 2g

P1 P2 V 2 V 2 
− = (Z 2 − Z1 ) +  2 − 1  (5.23)
γ γ  2g 2g 

โดยหลักการเดียวกัน หากเราต(องการหาอัตราการไหลที่ผานแผนเจาะรูเราจะต(องทราบอัตราการ
ไหลที่ตําแหนงที่ 1 (Q1) ซึ่งมีคาเทากับความเร็วที่ตําแหนงที่ 1 (V1) คูณด(วยพื้นที่หน(าตัดการไหลที่
ตําแหนงที่ 1 (A1) หรือ อัตราการไหลที่ตําแหนงที่ 2 (Q2) ซึ่งมีคาเทากับความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 (V2) คูณ
ด(วยพื้นที่หน(าตัดการไหลที่ตําแหนงที่ 2 (A2) เนื่องด(วยอัตราการไหลในทอมีขนาดเทากัน ซึ่งหมายความ
วา Q1 = Q2
Q1 = Q2
A1V1 = A2V2
A
V1 = 2 V2
A1
203

นําคาตาง ๆ แทนคาลงในสมการ 5.23 จะได(


2
 A2 
 V2 
 V2   A1 
2
P1 P2
− = (Z 2 − Z1 ) +   −
γ γ  2g  2g

หากทอเวนจูรีถูกวางอยูในแนวระดับจะทําให( Z2 = Z1 สมการที่ 5.23 เขียนใหมได(เปน

P1   A 2  V 2
P2
− = 1 −  2   2
γ γ   A1   2 g
 

เนื่ อ งจากเทอม P γ คื อ ค า เฮดระดั บ ซึ่ ง มี ค า เท า กั บ ระดั บ น้ํ า ในหลอดมานอมิ เ ตอร ดั ง นั้ น สามารถ
คํานวณหา V2 ได(ดังนี้

2 g∆H
V2 = (5.24)
1 − ( A2 A1 )
2

เมื่อ ∆H คือ ผลตางของระดับน้ําในหลอดมานอมิเตอร คํานวณได(จาก H1-H2 โดยที่ H1 =


P 1 γ และ H2 = P 2 γ อยางไรก็ตามสมการที่ 5.24 ยังไมได(คํานึงถึงการสูญเสียพลังงานระหวาง
ตําแหนงที่ 1 กับ 2 เนื่องจากการหมุนวนของการไหล (Swirling flow) และเกิดการไหลแบบปMîนปñวน
(Turbulent flow) ภายในทอเวนจูรี พลังงานที่สูญเสียดังกลาวนี้ไมสามารถคํานวณได(โดยใช(ทฤษฏี ดังนั้น
คาจึงต(องปรับแก(ด(วยการหาสัมประสิทธิ์มาคูณคาความเร็ว V2 ซึ่งได(แก สัมประสิทธิ์ความเร็วของการไหล
ผานทอเวนจูรี (Venturi velocity coefficient, CV) และสมการ 5.24 จะกลายเปน

2 g∆H
CV V2 = CV (5.25)
1 − ( A2 A1 )
2

โดยที่ คา CVVO คือความเร็วการไหลที่แท(จริงของการไหลผานทอเวนจูรี (VT) และหากกําหนดให(


CV
สัมประสิทธิ์การไหลผานทอเวนจูรี CW = ดังนั้นจะได(สมการหาความเร็วการไหลผาน
1 − ( A2 A1 )
2

แผนเจาะรูตามสมการ

Q = CW AW 2 g ∆H (5.26)

เมื่อ Q คืออัตราการไหล (m3/s) AW คือพื้นที่หน(าตัดของทอเวนจูรี่ (m2) ∆H คือผลตางของ


ระดับน้ําในหลอดมานอมิเตอรหรือผลตางของเฮดความดัน (m) g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของ
204

โลก (m/s2) CW คือ สัมประสิทธิ์ของการไหลผานทอหัวฉีด (ไมมีหนวย) สัมประสิทธิ์ของอัตราการไหลผาน


ทอหัวฉีดขึ้นอยูกับชนิดของเวนจูรี่โดยทั่วไปคา CW จะมีคามากกวาคา CN และ CO เสมอ สําหรับ
สัมประสิทธิ์ของการไหลผานทอเวนจูรี่มีคาแปรผันอยูระหวาง 0.92 ถึง 0.98

มาตรวัดแบบโรตามิเตอร (Rotameter)
มาตรวัดแบบโรตามิเตอรได(อาศัยหลักการสมดุลของแรงสามแรงด(วยกันในการออกแบบสําหรับ
วัดอัตราการไหล ได(แก แรงลอยตัว (Buoyancy force) และ ทุนลอย (Float weight) ทอมีลักษณะใส
และถู ก ออกแบบให( มี ข นาดเส( น ผ า น
ศู น ย ก ลางขยายใหญ ขึ้ น คล( า ยกั บ ช ว ง
ขยายของท อ เวนทู รี ภายในมาตรวั ด
บรรจุ ทุ น ลอยไว( แ บบอิ ส ระและติ ด ตั้ ง
เสกลบอกระดั บ ไว( ด( า นข( า งท อ (รู ป ที่
5.17) หากมี การไหลผ า นเข( า มาตรวั ด
ทุนลอยจะถูกดันขึ้นไปที่ความสูงคาหนึ่ง
หลักจากทุนลอยหยุดนิ่งและเกิดสมดุล
ของแรงทั้ง ดังนั้น หากมีอัต ราการไหล
ห ล ายค า ก็ ส ามาร ถคว ามสั ม พั น ธ
ระหวางคาอัตราการไหลกับระดับความ
สู ง ข อ ง ทุ น ล อ ย ไ ด( ห รื อ ส า ม า ร ถ
คํานวณหาอัต ราการไหลทางทฤษฏีได(
ดังสมการ
รูปที่ 5.17 มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตา (Rota meter)

0.5
 2W 
Q = Cd Aa  net  (5.27)
 ρA 
 f 

เมื่อ Q คือ อัตราการไหล (m3/s) Wnet คือน้ําหนักสุทธิของลูกลอย (N) Aa คือพื้นที่หน(าตัดการ


ไหลสุทธิ=(Atu–Af) Atu คือพื้นที่หน(าตัดของทอโรตา ณ ตําแหนงที่ทุนลอยอยูในสถานะสมดุล (m2) Af คือ
พื้นที่หน(าตัดของทุนลอย m2) ρ คื ความหนาแนนของของไหล (kg/m3) Cd คือสัมประสิทธิ์ของอัตรา
การไหลผานมาตรวัดแบบโรตา (ไมมีหนวย)
205

มาตรวัดแบบท2อพิโทด (Pitot-static tube)


มาตรวัดแบบทอพิโทดได(อาศัยทฤษฎีของเบอรนูลี่ในการประยุกตหาความเร็วของของไหล หาก
พิจารณาสมการพลังงานของเบอรนูลี่บริเวณตําแหนงที่ 1 กับ 2 ในรูปที่ 5.18 ได(ดังสมการ

รูปที่ 5.18 การวัดความเร็วการไหลโดยใช(ทอพิโทด

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 (5.28)
γ 2g γ 2g

เมื่อ Z1 คือ ระดับอ(างอิงในตําแหนงที่ 1 Z2 คือ ระดับอ(างอิงในตําแหนงที่ 2 P1 คือ ความดันใน


ตําแหนงที่ 1 P2คือ ความดันในตําแหนงที่ 2 V1 คือ ความเร็วในตําแหนงที่ 1 V2 คือ ความเร็วในตําแหนงที่
2 γ คือ ความน้ําหนักจําเพาะของของไหล g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก จากรูปที่ 5.18
หากทออยูในแนวราบจะได( Z1=Z2 และ V2 = 0 การที่ความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 มีคาเทากับศูนยเนื่องจาก
ตําแหนงนี้การไหลจะอยูในสภาวะหยุดนิ่ง (stationary) หรืออาจเรียกตําแหนงที่ 2 ได(วาเปนตําแหนง
หยุดนิ่ง (stagnation point) สมการที่ 5.28 เขียนใหมได(เปนดังสมการ

ρV12
P2 = P1 + (5.29)
2

หากทอมีขนาดเส(นผานศูนยกลางเทากันความเร็วในการไหลภายในทอจะต(องเทากันด(วย หาก
กําหนดให(ความเร็วของการไหลในทอมีคาเทากับ V (V1=V) จากสมการที่ 5.29 สามารถหาความเร็วของ
การไหลในทอได(ดังสมการ

2(P2 − P1 )
V = V1 = (5.30)
ρ
206

ดังนั้นหากทราบผลตางความดันที่ตําแหนงที่ 1 กับ 2 และความหนาแนนของของไหลก็สามารถ


หาความเร็วของการไหลของของไหล จากหลักการดังกลาว H. de Pitot (1965-1771) ได(สร(างเครื่องมือ
สําหรับวัดผลตางของความดันดังกลาวที่ตําแหนงเดียวกันดังรูปที่ 5.19 เรียกวา Pitot-static tube

รูปที่ 5.19 หลอดพิโทด (Pitot Static Tube)

จากรูปที่ 5.19 หากไมพิจารณาพลังงานศักดิ์เนื่องจากผลตางของระดับแตละตําแหนง (ซึ่งมีคา


น(อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานที่เกิดเนื่องจากความเร็วและพลังงานเนื่องจากความดัน) พบวาที่
ตําแหนงที่ 1 มีพลังงานเนื่องจากความเร็ว (Velocity Head) รวมกับพลังงานเนื่องจากความดัน
(Pressure Head) และที่ตําแหนงที่ 2 พบวามีพลังงานเนื่องจากความดันเทานั้น นอกจากนี้หลอดพิโทด
ถูกออกแบบให(ตําแหนงที่ 1 กับตําแหนงที่ 3 มีพลังงานเทากันและพลังงานที่ตําแหนงที่ 2 กับตําแหนงที่
4 มีพลังงานเทากัน ดังนั้นหากสามารถหาผลตางความดันระหวางตําแหนงที่ 3 กับ 4 ได(ก็จะสามารถหา
ความเร็วของการไหลได(ดังสมการที่ 5.30
207

ตัวอย2างที่ 5.7 จากรูปคือมาตรวัดอัตราการไหลของน้ําแบบ Venturi วางตัวในแนวราบ ที่หน(าตัดที่ 1


และ 2 มีขนาดเส(นผาศูนยกลางเทากับ 10 cm และ 5 cm ตามลําดับ และมีผลตางของน้ําในหลอดมา
นอรมิเตอรมีคาเทากับ 12 cm จงหาอัตราการไหลของน้ําเมื่อสัมประสิทธิ์ของการไหลเทากับ 0.96

รูปที่ E5.7-1

วิธีทํา

จากสมการหาอัตราการไหลผานทอเวนจูรี่

Q = CW AW 2 g ∆H

π×0.052
พื้นที่หน(าตัดการไหลของทอเทากับ Aw = = 0.002 m 2
4

ตอบ ดังนั้นอัตราการไหล Q = 0.96×0.002× 2g×0.12 = 0.003 m3 s


208

แบบฝ_กหัดท.ายบท

1. ถ(าน้ํามันชนิดหนึ่งมีคาความหนืดเชิงจลนศาสตร(ν) เทากับ 4 x 10-5 m2/s และความถวงจําเพราะ


(SG) = 0.9 ไหลจากถังเก็บด(านบนลงสูถังเก็บด(านลาง ด(วยอัตรา อากาศ
3 P = 20 kPa
การไหล (Q) 0.028 m /s ในทอเรียบ (smooth pipe) มีเส(นผาน
ศูนยกลาง (D) 15 cm จงหาระดับผิวน้ํามันถังบนหาความเร็วที่
= 0.8 m
ปลายทอ โดยไมคิดการสูญเสียพลังงาน น1ํา

2. จงคํ า นวณหาอั ต ราการไหลในท อ ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง เวนจู รี่ มิเ ตอร ดั ง


แสดงในรูปข(างลาง โดยกําหนดให(ของไหลเปน ideal fluid และ
การไหลไมมีการสูญเสีย

3. น้ําไหลในทอแนวนอนตามรูปถ(าความเร็วที่หน(าตัด
1 เทากับ 1 m/s และที่หน(าตัด 2 เทากับ 4 m/s
และความดันที่หน(าตัด 1 เทากับ 20 kPa จงหา
ความดันที่หน(าตัด

4. ระดับน้ําของอางบนและอางลางตางกัน 5 เมตร และมีทอเชื่อมระหวางอานทั้งสองวางในแนวระดับ มี


ความยาว (L) 300 เมตร ถ(าอัตราการไหล (Q) ของน้ําในทอเทากับ 2 ลบ.ม./วินาที ให(คํานวณหา
ขนาดของทอ (D) ถ(าทอเปนทอเหล็กกล(า (steel pipe) และพิจารณาเปนกรณีที่เปKดวาลวแบบบาน
ประตู(gate valve)
209

5. ทอเหล็กหลอ (cast iron) 3 เส(นตอแบบอนุกรม เชื่อมตอกับอางน้ํา 2 อาง (อาง A และ B) ตามรูป


โดยขนาดของทอทั้ง 3 เส(นเทากับ 300 mm 200mm และ 250 mm ตามลําดับและมีความยาวของ
ทอเทากับ 300 m 150 m และ 250 m ตามลําดับ ให(คํานวณหาอัตราการไหลของน้ํา (Q) ในระบบ
ดังกลาว ถ(าความแตกตางของระดับน้ําของสองอาง (∆H) = 10.0 m

6. น้ํามันชนิดหนึ่งมีคา ρ = 900 kg/m3; คา ν = 0.00001 m2/s ไหลผานทอชนิด Cast-iron ขนาด


เส(นผาศูนยกลาง 200 มม. ความยาวทอ 500 มม. ด(วยอัตราการไหล 0.20 m3/s
a) คํานวณคาการสูญเสียเฮด (head loss)
b) คาความดันที่ลดลง (pressure drop)

7. ถ(าต(องการสงน้ําจากอางเก็บน้ํา A ไปยังอางเก็บน้ํา B ซึ่ง


มีคาระดับตางกัน ต(องการให( H คงที่ตลอดการไหล ผาน
ทอสงน้ํามีขนาดเส(นผานศูนยกลาง D และความยาวทอ L
สงน้ําด(วยอัตราการไหล Q ถ(าต(องการสงน้ําให(ได(อัตรา
การไหลมากกวาเดิม จะต(องทําอยางไร ถ(าให(ใช(ทอชนิด
เดิม และคาระดับตางกัน H คงที่เทาเดิม
คําตอบ 1: ลดขนาดทอลงน้ําจะได(ไหลเร็วขึ้น
คําตอบ 2: เอียงทอให(ลาดชันมากขึ้น
คําตอบ 3: เพิ่มขนาดทอให(มีขนาดใหญขึ้น
คําตอบ 4: ตอบไมได(เพราะข(อมูลไมเพียงพอโดยเฉพาะความดันในเส(นทอไมมี

8. จงหาอัตราการไหลของน้ําผานทอไซฟอน (L/s) ซึ่งมีขนาด


เส(นผาศูนยกลาง 20 cm ดังรูป
210

9. น้ําไหลในทอขนาด 0.4 m. ด(วยความเร็ว 2 m/s ความดัน


ระหวางจุด 1 และ 2 ตางกัน 20 กิโลนิวตันตอตารางเมตร
จงหา Head loss

10. จงออกแบบทอสงน้ําคอนกรีต สงน้ําจาก


A ไป B ด(วยอัตรา 50l/s เมื่อระดับน้ําที่ A และ B
เทากับ +25.0 m และ +5.0 m ตามลําดับ

11.จากรูป คา k ของข(องอ 90o และวาลว เทากับ


1.5 และ 2.5 ตามลําดับ ถ(าเส(นผาศูนยกลาง
ของทอเทากับ 5.0 ซมจงคํานวณคาความเร็ว .
คา )ของน้ํ าที่ พุงออกจากปลายหัว ฉีด ε ของ
ทอเทากับ 15 µm)

12.จากรูปจงหาอัตราการไหลผานทอ (ไมคิดการสูญเสียพลังงานรอง)
211

13. จากรูปจงหาระดับน้ําใน Tank A เมื่ออัตราการไหลจาก Tank A ไป Tank B เทากับ 350 L/s


(ระดับน้ําใน Tank A ไมมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา)
212

บทที่ 6
การไหลในทางน้ําเป5ด (Open Channel Flow)
การไหลในทางน้ําเปKดคือการไหลในชองทางลําเลียงน้ําภายใต(แรงโน(มถวงของโลกที่ผิวน้ําสัมผัส
กับอากาศ และเรียกผิวน้ําที่สัมผัสกับอากาศวาผิวอิสระ (Free Surface) สงผลให(ความดันที่ผิวน้ํามีคา
เท า กั บ ความดั น บรรยากาศ คุ ณสมบั ติ ข(อนี้ แ ตกต า งอย า งชั ด เจนที่ สุ ด กั บ กรณี ก ารไหลภายใต( แรงดั น
(รายละเอียดบทที่ 5) ดังนั้นสามารถกลาวได(วาตราบใดที่การไหลมีผิวอิสระ การไหลนั้นจะถือวาเปนการ
ไหลในทางน้ําเปKด โดยทั่ วไปแล(วการไหลในทางน้ํ าเปKดจะมีตัวแปรที่มีผลตอการไหลมากกวาการไหล
ภายใต(แรงดัน เนื่องจากความลึกและความเร็วการไหลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดชวงระยะทางการไหล
ดังนั้นการวิเคราะหพฤติกรรมการไหลในทางน้ําเปKดจะมีความซับซ(อนและยุงยากมากกวาการไหลภายใต(
แรงดัน ทางน้ําเปKดถูกแบงออกได(เปน 2 ประเภทใหญๆ ได(แก ทางน้ําเปKดตามธรรมชาติและทางน้ําเปKดที่
ถูกสร(างขึ้น

 ทางน้ําเปKดตามธรรมชาติ (Natural Channel) คือทางน้ําที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (รูปที่ 6.1)


เช น ลํ า ธาร ห( วย คลอง แม น้ํ า ปากแม น้ํ า ลักษณะทางกายภาพของทางน้ํ า (Geometric
Properties) และ คุณสมบัติทางด(านชลศาสตร เชน ความลาดเทท(องน้ํา หน(าตัดทางน้ําจะ
แปรเปลี่ยนไปตามสภาพพื้นที่
 ทางน้ําเปKดที่ถูกสร(างขึ้น (Artificial Channel) คือทางน้ําที่ถูกสร(างขึ้นโดยมนุษย (รูปที่ 6.2) เชน
คู คลองส งน้ํ า คลองระบายน้ํ า ทางน้ํ า เรื อสั ญ จร ท อน้ํ า หรื อ อุ โ มงค น้ํ า ที่ มีการไหลไม เ ต็ มท อ
ลักษณะทางกายภาพของทางน้ําและลักษณะทางด(านชลศาสตรจะมีรูปรางแนนอน
213

รูปที่ 6.1 ทางน้ําเปKดธรรมชาติ

รูปที่ 6.2 ทางน้ําที่ถูกสร(างขึ้น

นอกจากนี้ยังสามารถแบงลักษณะของทางน้ําเปKด ตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของ
ทางน้ํา ได(ดังนี้ กรณีที่หน(าตัดการไหลและความลาดเอียงไมมีการเปลี่ยนแปลงจะเรียกวาทางน้ําเปKดนั้นวา
ทางน้ําเปKดที่มีรูปรางแนนอน (Prismatic Channel) ดังรูปที่ 6.3 นอกเหนือจากนั้นจะถือวาเปน ทางน้ําที่
มีรูปรางไมแนนอน (Non-Prismatic Channel) ดังรูปที่ 6.4 โดยปกติแล(วทางน้ําที่มนุษยสร(างขึ้นจะเปน
ทางน้ําที่มีรูปรางแนนอนและทางน้ําตามธรรมชาติจะเปนทางน้ําที่มีรูปรางไมแนนอน
214

รูปที่ 6.3 ทางน้ําเปKดที่รูปรางแนนอน

รูปที่ 6.4 ทางน้ําเปKดที่มีรูปรางไมแนนอน


215

คุณสมบัติของทางน้ําเป5ด (Properties and Geometry of Channels)


การศึกษาทางด(านวิศวกรรมเกี่ยวกับการไหลในทางน้ําเปKดนั้น จะต(องทราบถึงคุณสมบัติหรือ
รูปรางของทางน้ําเปKด (รูปที่ 6.5 และตารางที่ 6.1) เชน หน(าตัดการไหล ความลาดชัน ความลึกการไหล
เปนต(น เพื่อใช(เปนข(อมูลในการคํานวณหาคาตาง ๆ ที่จําเปน ซึ่งคุณสมบัติที่สําคัญได(แก
 ความลาดชันท(องน้ํา (Bottom Slope, So) คือความลาดชันของท(องน้ําระหวางหน(าตัดการไหล
 ความลาดชันผิวน้ํา (Surface Slope, Sw) คือความลาดชันของผิวน้ําระหวางหน(าตัดการไหล
 ความลึกการไหล (Depth, h) คือคาความลึกในแนวดิ่งวัดจากผิวน้ําถึงท(องน้ําที่ต่ําที่สุด
 ความกว(างของผิวน้ํา (Top Width, T) คือความกว(างของพื้นที่หน(าตัดการไหลที่ผิวน้ํา
 พื้นที่หน(าตัดการไหล (Area, A) คือพื้นที่หน(าตัดของทางน้ําที่ตั้งฉากกับทิศทางการไหล ซึ่งจะ
แปรผันตามความลึกการไหลและความกว(างของผิวน้ํา
 เส(นขอบเปëยก (Wetted Perimeter, P) คือความยาวของเส(นรอบรูปของพื้นที่หน(าตัดการไหล
เฉพาะสวนที่สัมผัสกับผิวทางน้ํา
 ความลึกทางชลศาสตร (Hydraulic Depth, D) คืออัตราสวนของพื้นที่หน(าตัดการไหลตอความ
กว(างของผิวน้ํา D=AT

 รัศมีชลศาสตร (Hydraulic Radius, R) คืออัตราสวนของพื้นที่หน(าตัดการไหลตอเส(นขอบเปëยก


R=A P
 ความเร็วการไหล (Velocity, V) คือความเร็วของกระแสน้ําที่ไหลตั้งฉากกับพื้นที่หน(าตัดการไหล
V =Q A
 แฟคเตอรหน(าตัดการไหล (Section factor for critical Flow, Z) Z = AR 2/3

 แฟคเตอรหน(าตัดการไหลแบบวิกฤต (Section factor for critical Flow, Z) Z=A D

รูปที่ 6.5 คุณสมบัติของทางน้ําเปKด


216

ตารางที่ 6.1 คุณสมบัติที่สําคัญของทางน้ําเปKดของหน(าตัดการไหลแบบตาง ๆ

หน(าตัดทางน้ํา คุณสมบัติ
A = by T=b

P = b+2y D=y

by Z = by1.5
R=
b+2y

สี่เหลี่ยมผืนผ(า
A = ( b+zy ) y T = b+2zy

P = b+2y 1+z 2 D=
( b+zy ) y
b+2zy
1.5
( b+zy ) y ( b+zy ) y 
R= Z= 
b+2y 1+z 2 b+2zy
สี่เหลี่ยมคางหมู
A = zy 2 T = 2zy

P = 2y 1+z 2 y
D=
2
zy 2 2.5
R= Z= zy
2
2 1+z 2
สามเหลี่ยม
217

ตารางที่ 6.1 (ต2อ)


1  θ
A= ( θ-sinθ ) d 2 T =  sin  d or 2 y ( d-y )
8  2

1 1  θ-sinθ 
P= θd
2 D =  d
8  sin θ 2 

1  sinθ 
1- d
1.5
R= 2 ( θ-sinθ )
4 θ  Z = d 2.5
วงกลม  θ
32  sin 
 2
π  T = b+2r
A =  -2  r 2 + ( b+2r ) y
2 
( π 2 ) -2  r 2
P = ( π-2 ) r+b+2y D= y
b+2r
1.5
( ( π 2 ) -2 ) r 2 + ( b + 2r ) y 
R=
A Z=   y
P b+2r

สี่เหลี่ยมมุมโค(ง (y>r)
A=
T r2
- (1 − z cot −1 z ) T = 2  z ( y-r ) +r 1+z 2 
4z z  

A
P = 2y 1+z 2 D=
T

A A
R= Z=
P T
สามเหลี่ยมมุมโค(ง
218

ตารางที่ 6.1 (ต2อ)


2 3A
A= Ty T=
3 2 y
8 y2 2
P* = T+ D= y
3 T 3
R=
( 2 3) Ty Z=
2
6Ty1.5
P* 9
* การประมาณใช(ได(ในชวงของ 0 ≤ x ≤ 1 โดยที่
พาราโบลา 4y
x= และ x>1 โดยมีคาที่ถูกต(องคือ
T
T 1 
2 x
(
P =  1+x 2 + ln x+ 1+x 2  )

ประเภทการไหลในทางน้ําเป5ด (Type of Flow in Open Channel)


การไหลในทางน้ําเปKดสามารถจําแนกประเภทการไหลได( 2 ชนิดคือ จําแนกตามชนิดของการไหล
และ จําแนกตามสภาวะการไหล โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
จําแนกตามชนิดของการไหล (Type of Flow)
การแบงประเภทการไหลในทางน้ําตามชนิดของการไหลมีเกณฑในการพิจารณาได( 2 แบบคือ
การใช(เวลา (Time, t) เปนเกณฑ และการใช(ตําแหนงการไหล (Space, x) เปนเกณฑ
 การพิจารณาการเปลี่ยนแปลงการไหลโดยใช(เวลาเปนเกณฑ (พิจารณารูปที่ 6.6) สามารถแบง
ออกได( 2 ประเภทคือ การไหลแบบคงที่ (Steady Flow) และการไหลแบบไมคงที่ (Unsteady
Flow) หากพิจารณาการไหลในชวงหนึ่ง (ระหวาง 2 หน(าตัด) การไหลจะเปนแบบคงที่ก็ตอเมื่อ
ความเร็ว และความลึกการไหล ไมเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดและทิศทางตามเวลา สงผลให(อัตราการ
ไหลคงที่กลา วคือไมมีน้ําไหลเข(าและไหลออกในชวงเวลาการไหลที่กําลังพิ จารณา ในทํานอง
ตรงกันข(ามหากมีน้ําไหลเข(าหรือไหลออกในชวงการไหลที่กําลังพิจารณาจะทําให(ความเร็วเฉลี่ย
และความลึกของการไหลเปลี่ยนแปลงไปสงผลให(อัตราการไหลไมคงที่ซึ่งการไหลแบบนี้จะเปน
แบบไมคงที่ (หากอัตราการไหลเข(าและไหลออกมีคาเทากันการไหลจะเปนแบบคงที่)
219

d
( Q,V,y,...) =0
dt

d
( Q,V,y,...) ≠ 0
dt

รูปที่ 6.6 ลักษณะการไหลเปรียบเทียบกับเวลา


 การพิจารณาการไหลเปรียบเทียบกับตําแหนงการไหล (Space Variation) แบงออกได( 2
ประเภทคือ การไหลแบบสม่ําเสมอ (Uniform Flow) และการไหลแบบไมสม่ําเสมอ (Non-
Uniform Flow) ดังรูปที่ 6.7 การไหลแบบสม่ําเสมอคือการไหลที่มีความลึกการไหลคงที่ตลอด
ระยะทางในชวงทางน้ําที่กําลังพิจารณา ในทางตรงกันข(ามหากความลึกการไหลเปลี่ยนแปลงไป
ตามระยะทางการไหลก็จะเปนการไหลแบบไมสม่ําเสมอ สําหรับการไหลแบบไมสม่ําเสมอนั้น
สามารถแบงได( 2 ประเภท คือ การไหลแบบเปลี่ยนแปลงน(อย (Gradually Varies Flow,
grad.var.) และการไหลแบบเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว (Rapidly Varies Flow, rap.var.)

รูปที่ 6.7 ลักษณะการไหลเปรียบเทียบกับตําแหนง


220

ดังนั้นหากนําเกณฑทั้งเวลาและตําแหนงของการไหลมาพิจารณารวมกัน สามารถจําแนกประเภทของ
การไหลที่เกิดได(ดังนี้
 การไหลแบบสม่ําเสมอและไมแปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Uniform Flow) คือ ความลึก
ความเร็ ว อั ต ราการไหล พื้ น ที่ ห น( า ตั ด การไหล ตลอดช ว งความยาวไม มีการเปลี่ ย นแปลงใน
ชวงเวลาที่พิจารณา โดยรูปแบบการไหลแบบนี้เกือบทั้งหมดจะเกิดขึ้นในทางน้ําที่มนุษยสร(างขึ้น
เนื่องจากรูปตัดขวางของทางน้ํามักจะสร(างให(มีรูปรางคงที่ และในการใช(งานเราสามารถควบคุม
ความเร็ว และอัตราการไหลได(
 การไหลแปรเปลี่ยนแบบคอยเปนคอยไปแตไมแปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Gradually Varied
Flow)คือสภาพการไหลความลึก ความเร็ว และพื้นที่หน(าตัดการไหล มีการเปลี่ยนแปลงอยาง
ต อ เนื่ อ งแบบค อ ยเป น ค อ ยไปตลอดช ว งความยาวที่ พิ จ ารณา แต ค วามลึ ก ความเร็ ว และ
พื้นที่หน(าตัดการไหลที่จุดใดจุดหนึ่งนั้นจะคงที่ ไมแปรเปลี่ยนตามเวลา
 การไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแตไมแปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Rapidly Varied Flow)
คือสภาพการไหลความลึก ความเร็ว และพื้นที่หน(าตัดการไหล มีการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน
ในชวงความยาวที่พิจารณา แตความลึก ความเร็ว และพื้นที่หน(าตัดการไหลที่จุดใดจุดหนึ่งนั้นจะ
คงที่ ไมแปรเปลี่ยนตามเวลา
 การไหลแบบสม่ําเสมอแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Uniform Flow) คือสภาพการไหล
ความลึก ความเร็ว อัตราการไหล พื้นที่หน(าตัดการไหล เทากันตลอดชวงความยาวที่พิจารณา แต
จะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
 การไหลแปรเปลี่ย นแบบคอยเปนคอยไปและแปรเปลี่ย นตามเวลา (Unsteady Gradually
Varied Flow) คือสภาพการไหลความลึก ความเร็ว และพื้นที่หน(าตัดการไหล มีการเปลี่ยนแปลง
อยางตอเนื่องแบบคอยเปนคอยไปตลอดชวงความยาวที่พิจารณาและเปลี่ยนแปลงตามเวลาไป
พร(อมๆ กัน
 การไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันและแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Rapidly Varied Flow)
คือสภาพการไหลความลึก ความเร็ว และพื้นที่หน(าตัดการไหล มีการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน
ในชวงความยาวที่พิจารณาและเปลี่ยนแปลงตามเวลาไปพร(อมๆ กัน
221

จําแนกประเภทตามสภาวะของการไหล (State of Flow)


การจําแนกประเภทการไหลตามสภาวะของการไหลนั้นจะพิจารณาจากพฤติกรรมของการเคลื่อน
ตัวของของไหลในทางน้ํา รวมถึงผลกระทบของแรงที่มีอิทธิพลตอการไหล โดยสามารถแบงเกณฑตามคา
ของฟรุดนัมเบอร และคาของเรยโนลดนัมเบอรได(ดังนี้

 จําแนกโดยพิจารณาจากฟรุดนัมเบอร (Froude number : Fr)


ฟรุ ดนั มเบอร คือตั วเลขที่ วิเ คราะห โดยคํา นึงถึ งอิ ทธิ พลของแรงอัน เนื่ องมาจากความโน( มถ ว ง
(Gravity Force) และแรงอันเนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia Force) ดังสมการ
V
Fr = (6.1)
gD

เมื่อ Fr คือฟรุดนัมเบอร (ไมมีหนวย) V คือความเร็วการไหล (m/s) D คือความลึกชลศาสตร (m)


g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวง (m/s2) จากสมการที่ 6.1 เมื่อคํานวณคาการฟรุดนัมเบอรได(ก็
สามารถทราบสภาวะการไหลได(ดังนี้
- หากฟรุดนัมเบอรน(อยกวา 1 การไหลจะเปนการไหลต่ํากวาวิกฤต (Subcritical Flow)
- หากฟรุดนัมเบอรเทากับ 1 การไหลจะเปนการไหลวิกฤต (Critical Flow)
- หากฟรุดนัมเบอรมากกวา 1 การไหลจะเปนการไหลสูงกวาวิกฤต (Supercritical Flow)
 จําแนกโดยพิจารณาจาก เรยโนดนัมเบอร (Reynold number : Re)
เรยโ นดนั มเบอรคือตัว เลขที่ วิเ คราะหโ ดยคํ า นึงถึงอิ ทธิ พลของแรงอั น เนื่ องมาจากความหนื ด
(Viscous Force) และแรงอันเนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia Force) ดังสมการ

VR
Re= (6.2)
ν

เมื่อ Re คือ เรยโนลดนัมเบอร (ไมมีหนวย) R คือรัศมีชลศาสตร (m) V คือความเร็วการไหล


(m/s) ν คือ ความหนืดจลนศาสตรของไหล (Kinematic Viscosity, m2/s) สามารถแบงสภาวะการไหล
โดยใช(คาเรยโนลดนัมเบอรได(ดังนี้

- การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนตัวอยางเปน


ระเบียบ จะเกิดขึ้นกับการไหลที่มีความเร็วต่ํา หรือความหนืดของของไหลมีอิทธิพลตอ
การไหลมาก โดยเรยโนลดนัมเบอรจะมีคาต่ํากวา 500
222

- การไหลแบบปMîนปñวน (Turbulent Flow) อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนตัวอยางไมเปน


ระเบียบ จะเกิดขึ้นกับการไหลที่มีความเร็วสูง หรือความหนืดของไหลต่ํามีอิทธิพลตอ
การไหลน(อย โดยเรยโนลดนัมเบอรจะมีคามากกวา 2,000
- การไหลแบบชวงแปรเปลี่ยน (Transitional Flow) เปนสภาวะการไหลที่ไมสามารถระบุ
ได(วาเปนการไหลแบบปMîนปñวน หรือการไหลแบบราบเรียบ โดยเรยโนลดนัมเบอรจะมีคา
อยูระหวาง 500 ถึง 2,000
223

สมการควบคุมการไหล (Governing Equations)


สมการควบคุมการไหลสามารถแบงได( 3 สมการหลักคือ สมการความตอเนื่อง สมการโมเมนตัม
และสมการพลังงาน

สมการความต2อเนื่อง (Continuities Equation)


พิจารณารูปที่ 6.8 กําหนดให(น้ําไหลเข(าที่หน(าตั ด I และไหลออกไปหน(าตัด II ซึ่งมีความยาว
เทากับ ΔX โดยที่ Q, h, A และ B คืออัตราการไหล ความลึกการไหล พื้นที่หน(าตัดการไหล และความ
กว(างของผิวน้ําที่ระยะ ΔX 2 (หน(าตัด C) ตามลําดับ เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรในชวงเวลา
∆t จะได(

รูปที่ 6.8 การไหลผานหน(าตัดใด ๆ

 ∂Q ∆X   ∂Q ∆X  ∂Q
 Q − ∂X 2  −  Q + ∂X 2  ⋅ ∆t = − ∂X ⋅ ∆X ⋅ ∆t (6.3)
   

การเปลี่ยนแปลงปริมาตรสามารถหาได(จาก
∂∀ ∂( A∆X ) ∂ ( A)
⋅ ∆t = ⋅ ∆t = ⋅ ∆X ⋅ ∆t (6.4)
∂t ∂t ∂t

พิจารณาสมการที่ 6.3 และ 6.4 ซึ่งมีคาเทากันจะได(


∂A ∂Q
⋅ ∆X ⋅ ∆t = − ⋅ ∆X ⋅ ∆t (6.5)
∂t ∂X

หารสมการ 6.5 ด(วย ∆X ⋅ ∆t จะได(


224

∂Q ∂A
+ =0 (6.6)
∂X ∂t

จากรูปที่ 6.8 พบวา ∂A = T ∂h แทนคาลงใน 6.6 จะได(สมการ


∂Q ∂h
+T =0 (6.7)
∂X ∂t

สมการที่ 6.7 เปนสมการความตอเนื่องของการไหลแบบไมคงที่ (Unsteady Flow) กรณีที่ไมมี


การไหลเข(า หรื อไหลออกในช วง ∆X หรื อกล าวได( วาไมมีการไหลเข(า หรื อไหลออกทางด(า นข( า งในช ว ง
ระยะทางที่สนใจอยางไรก็ตามหากมีการไหลเข(าหรือไหลออกระหวางหน(าตัด I และหน(าตัด II จะต(อง
นําเอาอัตราการไหลเข(าหรือออกดังกลาวมาพิจารณาด(วย สมการที่ 6.7 จะเปลี่ยนเปน
∂Q ∂h
+T = ±q (6.8)
∂X ∂t

เมื่อ q คืออัตราการไหลเข(าหรือออกตอหนึ่งหนวยความกว(าง โดยเมื่อมีน้ําไหลเข(าให(ใช( +q และ


เมื่อมีการไหลออกให(ใช( − q อยางไรก็ตามหากการไหลเปนแบบคงที่ ซึ่งเปนการไหลที่ไมเปลี่ยนแปลงตาม
เวลาจะได( ∂h ∂t = 0 ดังนั้นสงผลให( ∂Q ∂X = 0 หรือกลาวได(วาไมมีการเปลี่ยนแปลงการไหลในชวง
หน(าตัดการไหลตัด I และหน(าตัด II หรืออัตราการไหลเข(าเทากับอัตราการไหลออก ทําให(สมการที่ 6.8
สามารถเขียนสมการได(ดังนี้

Q I = Q II (6.9)

สมการที่ 6.9 เปนสมการความตอเนื่องสําหรับการไหลแบบคงที่ เมื่อ Q= AV โดยที่ A คือหน(าตัดการไหล


และ V คือความเร็วการไหล จะได(สมการความตอเนื่องสําหับการไหลสองหน(าตัดดังนี้

A I VI = A II VII (6.10)
225

สมการโมเมนตตัม (Momentum Equation)

จากกฎการเคลื่อนที่ข(อที่ 2 ของนิวตัน (Newton’s Second Law of Motion) การ


เปลี่ยนแปลง โมเมนตตัม ของการไหลของก(อนน้ําในหนึ่งชวงเวลา มีคาเทากับ ผลลัพธของแรงภายนอกซึ่ง
กระทํ ากับ ก(อนน้ํ านั้น เมื่อพิจารณารู ปที่ 6.9 ของการไหลระหวา งหน(า ตัดที่ I และ II และสามารถหา
ความสัมพันธได(ดังสมการ

รูปที่ 6.9 การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

FI + W sin θ − F f − FII = ρQ(β IIVII − β IVI ) (6.11)

เมื่อ Q คืออัตราการไหล V1 และ V2 คือความเร็วเฉลี่ยของการไหล β1 และ β2 คือคา


สัมประสิทธิ์ของโมเมนตัม FI และ FII คือแรงกระทําเนื่องจากความดันของน้ํา θ คือความลาดชันของท(อง
น้ํา ρ คือความหนาแนนของน้ํา W คือน้ําหนักของก(อนน้ําในปริมาตรควบคุม Ff คือแรงเสียดทาน
ภายนอกที่กระทํากับผิวควบคุม (ตัวห(อยเลข I และ II อ(างถึงหน(าตัดการไหลที่ I และ II ตามลําดับ)
226

สมการพลังงาน (Energy Equation)


การไหลในทางน้ําเปKด เปนการไหลภายใต(แรงโน(มถวงของโลก เปนการไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา ทํา
ให(เกิดแรงเสียดทานระหวางของไหลกับผิวของทางน้ําเปKด สมการพลังงานสําหรับการไหลในทางน้ําเปKด
นั้นสามารถนําสมการของ Bernoulli มาประยุกตใช(เพื่ออธิบายพลังงานการไหลของน้ําในรูปของเฮดน้ํา
ซึ่งพลังงานการไหลทั้งหมดมีคาเทากับผลรวมของความสูงวัดจากระดับอ(างอิง ( Z) เฮดความดัน ( P γ )
และเฮดความเร็ว ( V 2 2g ) โดยที่พลังงานรวมที่หน(าตัดที่ 1 จะต(องเทากับผลรวมของพลังงานที่หน(าตัดที่
2 บวกกับการสูญเสียพลังงานระหวางหน(าตัดที่ 1 และ 2 (รูปที่ 6.10) และสมการที่ 6.12

รูปที่ 6.10 พลังงานของการไหลบนทางน้ําเปKด

P1V12 P2 V22
z1 + + = z2 + + + HL (6.12)
γ 2g γ 2g

สมการที่ 6.12 เปนสมการพลังงานสําหรับการไหลจากหน(าตัดที่ 1 ไปยังหน(าตัดที่ 2 เมื่อ z1 และ


z2 คือ ความสูงวัดจากระดับอ(างอิง P1 และ P2 คือความดัน V1 และV2 คือความเร็วเฉลี่ยของการไหล γ
คือน้ําหนักจําเพราะของน้ํา g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก HL คือ พลังงานที่สูญเสียระหวาง
การไหลจากหน( า ตั ด ที่ 1 ไปหน( า ตั ด ที่ 2 (ตั ว ห( อ ยเลข 1 และ 2 อ( า งถึ งหน( า ตั ด การไหลที่ 1 และ 2
ตามลําดับ) จากรูปที่ 6.9 เมื่อ y1 = P1 γ และ y2 = P2 γ ดังนั้นสมการที่ 6.12 จะเขียนได(เปน

V12 V2
z1 + y1 + = z2 + y2 + 2 + H L (6.13)
2g 2g
227

จากรูปที่ 6.10 มีเส(นลาดความชันอยูสามคาคือ ความลาดชันท(องน้ํา (Bottom Slop, So) ความ


ลาดชันชลศาสตร (Hydraulic Grade Line, H.G.L.) หรือความลาดชันผิวน้ํา (Water Surface Slope,
Sw) และความลาดชันของพลังงาน (Energy Grade Line, E.G.L.) หรือความลาดของแรงเสียดทาน
(Friction Slope, Sf) โดยจากสมการที่ 6.13 สามารถหาสมการความลาดชันตาง ๆ ได(ดังนี้
z1 − z2
 ความลาดชันท(องน้ํา SO = (6.14)
L

 ความลาดชันผิวน้ํา SW =
( z1 + y1 ) − ( z1 + y2 ) (6.15)
L

 ความลาดชันของพลังงาน Sf =
(z1 ) (
+ y1 + V12 2 g − z1 + y2 + + V22 2 g )=H L
(6.16)
L L

พลังงานจําเพาะและการไหลวิกฤต (Specific Energy and Critical Flow)


พลังงานการไหลในทางน้ําเปKดที่ตําแหนงหน(าตัดใดมีคาคงที่เทากับ ผลรวมของเฮดระดับ (z)
ความลึกการไหลหรือเฮดความดัน (y) และ เฮดความเร็ว ( v 2 2g ) หากกําหนดให(ระดับท(องน้ําเปนระดับ
อ(างอิงจะทําให(เฮดระดับมีคาเทากับศูนย (z=0) พลังงานการไหลจะมีเพียงความลึกการไหลบวกกับเฮด
ความเร็ว ซึ่งก็คือพลังงานจําเพาะนั่นเอง หรืออาจกลาวได(วาพลังงานจําเพาะคือพลังงานตอหนึ่งหนวย
น้ําหนักของน้ําที่หน(าตัดใด ๆ ในทางน้ําเปKด โดยสามารถเขียนอยูในรูปของสมการทั่วไปได(ดังนี้
v2
E=y+ (6.17)
2g
เมื่อ E คือพลังงานจําเพาะ (m) y คือความลึกการไหล (m) V คือความเร็วการไหล (m2/s) และ
g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (m2/s) จากสมการที่ 6.17 เมื่อนําความลึกการไหล (y) และ
พลังงานจําเพาะ (E) มาพล็อตกราฟหาความสัมพันธ ณ. อัตราการไหล Q จะโค(งพลังงานจําเพาะดังรูปที่
6.11
228

รูปที่ 6.11 โค(งพลังงานจําเพาะ

รูปที่ 6.11 แสดงโค(งพลังงานจําเพาะที่อัตราการไหล Q หากพิจารณาเส(นโค(งจะพบวาจะมีจุด


เปลี่ยนโค(งอยูทางซ(ายมือสุด จุดเปลี่ยนโค(งดังกลาวนี้คือตําแหนงที่การไหลมีพลังงานจําเพาะต่ําที่สุดและ
เรียกความลึกการไหลที่ตําแหนงนี้วาความลึกการไหลวิกฤต (Critical Depth, yc) สําหรับตําแหนงอื่นจะ
พบว า มี คา ความลึ กการไหลอยู 2 ค า ที่ ใ ห( คา พลั งงานจํ าเพาะเท า กัน เรี ย กความลึ กทั้ งสองว า ความลึ ก
ทดแทน (Alternated Depth) ได(แกความลึกการไหลที่มีคาน(อยกวาความลึกวิกฤต (y1) และความลึกการ
ไหลที่มีคามากกวาความลึกวิกฤต (y2)

รูปที่ 6.12 หน(าตัดการไหล


229

พิจารณารูปที่ 6.12 สามารถหาความลึกวิกฤตซึ่งเปนความลึกมีพลังงานจําเพาะต่ําที่สุด ได(จาก


การทําการอนุพันธพลังงานจําเพาะ (E) จากสมการที่ 6.17 เทียบกับคาความลึกการไหล (y) โดยสามารถ
วิเคราะหได(ดังนี้
พิจารณากรณีอัตราการไหลคงที่

dE d  v2 
เมื่อ =  y+  (6.18)
dy dy  2g 

dE d  Q2 
=  y+ 
dy dy  2gA 2 

เมื่อกําหนดให(อัตราการไหลคงที่จะได(

dE Q2 dA
= 1+ -2A -3 ( ) (6.19)
dy 2g dy

จากรูปที่ 6.12 dA = Tdy นําไปแทนคาในสมการที่ 6.19

dE Q2 Tdy
dy
= 1+
2g
-2A -3 (dy
)
dE Q2T
= 1- (6.20)
dy gA 3

dE
คาความลึกการไหลที่ทําให(พลังงานจําเพาะน(อยที่สุดเมื่อ = 0 จากสมการที่ 6.20 จะได(
dy
Q2T
0 = 1-
gA 3

Q 2T
หรือ =1 (6.21)
gA 3

V
จากสมการที่ 6.1 เมื่อ Fr =
gD

Q
หรือ Fr =
A gD
230

ทําการยกกําลังสองทั้งสองข(างจะได(

Q2
Fr 2 = (6.22)
A 2 gD

เมื่อความลึกชลศาสตร D = A T สามารถเขียนสมการที่ 6.22 ใหมได(เปน

2 Q2T
Fr = =1
gA 3

Q 2T
หรือ Fr = = 1=1 (6.23)
gA 3

จะเห็นได(วาสมการที่ 6.21 และ 6.23 มีคาเทากันดังนั้นสามารถสรุปได(วา ณ.ความลึกการไหล


วิกฤตพลังงานจําเพาะการไหลจะมีคาต่ําที่สุดและมีคาฟรุดนัมเบอรเทากับ 1

พิจารณากรณีอัตราการไหลเปลี่ยนแปลง
จากสมการที่ 6.17 ณ. อัตราการไหลหนึ่งคาสามารถพล็อตกราฟความสัมพันธระหวางพลังงาน
จําเพาะกับคาความลึกการไหลได( 1 เส(น (รูปที่ 6.10) อยางไรก็ตามถ(าใช(คาอัตราการไหลหลาย ๆ คาก็จะ
ได(โค(งความสัมพันธหลายเส(นดังรูปที่ 6.13

รูปที่ 6.13 โค(งพลังงานจําเพาะสําหรับอัตราการไหลตางกัน


231

รูปที่ 6.13 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางความลึกการไหล (y) และพลังงานจําเพาะ (E) ที่


อัตราการไหลตาง ๆ โดยอัตราการไหลหนึ่งคา จะให(โค(งความสัมพันธ 1 เส(นโดยแตละเส(นจะไมตัดกัน คา
อั ต ราการไหลที่ ม ากที่ สุ ด จะอยู ท างขวามื อ และน( อ ยสุ ด จะอยู ท างซ( า ยมื อ จากรู ป ที่ 6.12 พบว า
Q1 <Q 2 <Q 3 <Q 4 หากพิจารณาพลังงานจําเพาะคงที่คาหนึ่ ง (เส(นประ NN′ ) จะพบว ามีเ ส(นโค(งตั ด
เส(นประหลายจุด ซึ่งแสดงให(เห็นวามีอัตราการไหล ซึ่งไหลในทางน้ําเปKดนี้ได(หลายคาที่มีพลังงานจําเพาะ
(จากรูปที่ 6.12 พบวาจุด 1 และ 2 ของการไหล Q1 จุด a และ b ของการไหล Q2 และ จุด C3 ของการ
ไหล Q3 มีพลังงานจําเพาะเทากัน) โดยอัตราการไหลที่มากที่สุดเกิดขึ้น ณ. ตําแหนงจุด C3 บนเส(นประ
ของเส(นกราฟ Q3 การไหลที่ให(อัตราการไหลสูงสุดเมื่อพลังงานจําเพาะคงที่ เรียกกวาการไหลวิกฤต ดังนั้น
จุด C3 ต(องเปนจุดวิกฤตด(วย ซึ่งสามารถพิสูจนได(ดังนี้

พิจารณากรณีอัตราการไหลเปลี่ยนแปลงเมื่อพลังงานจําเพาะคงที่

Q2
E = y+
2gA 2
Q = A 2g ( E-y ) (6.24)

ทําการอนุพันธสมการที่ 6.24 เทียบกับ y โดยให( E คงที่


dQ dA gA
= 2g ( E-y ) - (6.25)
dy dy 2g ( E-y )

คาความลึกการไหลที่ทําให(อัตราการไหลมากที่สุดเมื่อ dQ = 0 จากสมการที่ 6.25 จะได(


dy
gA dA
= 2g ( E-y ) (6.26)
2g ( E-y ) dy

Q dA
เมื่อ = 2g ( E-y ) และ =T แทนคาลงในสมการที่ 6.26 จะได(
A dy
gA 2 Q
= T
Q A

Q 2T
หรือ =1 (6.27)
gA 3

จะเห็นได(วาสมการที่ 6.27 และ 6.23 มีคาเทากันดังนั้นสามารถสรุปได(วา ณ.ความลึกการไหล


วิกฤตพลังงานจําเพาะการไหลจะมีคาต่ําที่สุดและมีคาฟรุดนัมเบอรเทากับ 1 และหากลากเส(นผานจุด
232

วิกฤตสําหรับอัตราการไหลคาตาง ๆ และสามารถแบงโซนการไหลได(ดังนี้ การไหลที่มีความลึกมากกวา


ความลึกวิกฤตจะเปนการไหลต่ํากวาวิฤต และการไหลที่มีความลึกการไหลสูงกวาวิกฤตจะเปนการไหลใน
ยานสูงกวาวิกฤต (รูปที่ 6.13)

การไหลวิกฤตในทางน้ํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ.า
ดังรายละเลียดข(างต(นในสภาวะการไหลวิกฤตคาฟรุดนัมเบอรจะเทากับ 1 และมีความสัมพันธดังสมการ
vc
Fr = =1
gDc
vc
หรือ =1 (6.28)
g (A T)c

โดยทั่วไปแมน้ําจะมีขนาดความกว(างมากทําให(การวิเคราะหพื้นที่หน(าตัดการไหลมักจะสมมติให(มี
รูปรางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า ซึ่งพื้นที่หน(าตัดของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า (A) มีคาเทากับความกว(าง (b) คูณด(วย
ความลึกการไหล (y) และ ความกว(างผิวน้ํา (T) มีคาเทากับ ความกว(าง (b) ท(องน้ํา แทนคาตาง ๆ ลงใน
สมการที่ 6.28
vc vc
= =1
g ( Ty T ) c gy c (6.29)
v c2
หรือ v c = gy c นําไปแทนคาลงในสมการพลังงานจําเพาะ E c = yc + จะได(
2g
yc 3
E c = yc + = yc (6.30)
2 2

สมการที่ 6.30 แสดงให(เห็นวาพลังงานจําเพาะที่การไหลวิกฤตจะมีคาเทากับ 1.5 เทาของความ


ลึกวิกฤต และสามารถหาความลึกวิกฤต ( yc ) ได(ดังนี้ กําหนดให(อัตราการไหลตอหนึ่งหนวยความกว(าง
( q ) เทากับอัตราการไหลหารด(วยความกว(าง ( q = Q b ) และ Dc = ( A T )c = ( by b )c = y c แทน
คาลงในสมการที่ 6.27 จะได(

Q2T q 2b2T q2
= 2
= =1
gA 3 g ( by c ) A gy3c

หรือ yc = 3 q 2 g

(ตัวห(อยกํากับ c หมายถึงสภาวะการไหลแบบวิกฤต)
233

ตัวอย2างที่ 6.1 ทางน้ําเปKดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(ากว(าง 2.0 m มีพลังงานจําเพาะ 1.2 m เมื่ออัตราการไหล


เทากับ 6.0 m3/s จงหาความลึกทดแทน
V2 Q2 Q2
วิธีทํา E = y+ = y+ = y+
2g 2gA 2 2gb 2 y 2
62 0.459
1.2 = y+ 2 2
= y+ 2
2g2 y y
แก(สมการหาคา y จะได( y1 เทากับ 1.157 m และ 0.824 m
ตรวจสอบสภาวะการไหล
Q 6
 ถ(า y = 1.157 m จะได( V= =
A 2×1.157
= 2.59 m s

V 2.59
Fr = = = 0.77 เปนการไหลต่ํากวาวิกฤต
gy 1.157g
Q 6
 ถ(า y = 0.824 m จะได( V= =
A 2×0.824
= 3.64 m s

V 3.64
Fr = = = 1.28 เปนการไหลสูงกวาวิกฤต
gy 0.824 g

ตอบ ความลึกทดแทนคือ y1 เทากับ 1.157 เปนการไหลต่ํากวาวิกฤต และ y2 เทากับ 0.824 m เปนการ


ไหลสูงกวาวิกฤต

ตัวอย2างที่ 6.2 จงคํานวณหาความลึกการไหลวิกฤตและพลังงานจําเพาะเมื่ออัตราการไหลเทากับ 8.0


m3/s สําหรับการไหลในทางน้ําเปKดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(ากว(าง 4.0 m
วิธีทํา สําหรับทางน้ํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า
 ความลึกวิกฤต
yc = 3 q 2 g = 3
(8 4 )
2
g = 0.742 m ตอบ
 พลังงานจําเพาะ
3
Ec = y c = 1.5×0.742 = 1.113 m ตอบ
2
234

การเปลี่ยนแปลงสภาพการไหล (Change of Flow Condition)


จากการพิสูจนทางทฤษฎีดั งรายละเอียดที่ ได(กลาวมาแล(วพบวาหน( าตัดการไหลใดที่ ทราบค า
ความลึกการไหลวิกฤตจะสามารถคํานวณหาอัตราการไหลได( และเรียกหน(าตัดการไหลนั้นวาหน(าตัด
บังคับ โดยสามารถวิเคราะหเชิงคณิตศาสตรได(โดยการประยุกตสมการพลังงานของ Bernoulli ที่หน(าตัด
บังคับใด ๆ ซึ่งพลังงานการไหลทั้งหมดสามารถเขียนได(ดังสมการ

v2
H = z+y+
2g

หรือ H = z+E (6.31)

เมื่อ H คือพลังงานรวมทั้งหมด E คือพลังงานจําเพาะ และ z คือระยะจากระดับอ(างอิงถึงท(องน้ํา

กําหนดให( x เปนระยะทางวัดไปตามทิศทางการไหล ทําการหาอนุพันธ H จากสมการที่ 6.31 จะได(


dH dz dE
= + (6.32)
dx dx dx

หากไมมีการสูญเสียพลังงานจะทําให( dH dx = 0 จะได(
dz dE
0= +
dx dx

dz dE dy
หรือ 0= + × (6.33)
dx dy dx

dE Q2T Q2T
จากสมการที่ 6.20 และ 6.27 เมื่อ = 1- และ Fr 2 = แทนคาลงในสมการที่ 6.33
dy gA 3 gA 3

dz dy
จะได( 0= + (1-Fr 2 ) (6.34)
dx dx
235

สมการที่ 6.34 จะใช(เปนเครื่องมือในการตรวจสอบสภาวะการไหลในทางน้ําเปKดกรณีดังตอไปนี้

1) ถ(าท(องทางน้ํามีการยกระดับพื้นขึ้น
dz
จากสมการที่ 6.34 ถ(าท(องน้ํามีการยกระดับขึ้นจะทําให( เปนบวก ดังนั้น (1-Fr 2 ) dy ต(องเปน
dx dx
ลบเสมอ ซึ่งเปนได(สองกรณีดังนี้

 ถ(าการไหลทางด(านเหนือน้ําอยูในสภาวะต่ํากวาวิกฤต ( Fr < 1) จะทําให( 1-Fr 2 มีคาเปนบวก


dy
ดังนั้น ต(องเปนลบ นั่นหมายถึง ระดับผิวน้ําจะลดต่ําลงจากระดับเดิมดังรูปที่ 6.14a
dx
 ถ(าการไหลทางด(านเหนือน้ําอยูในสภาวะสูงกวาวิกฤต ( Fr > 1) จะทําให( 1-Fr 2 เปนลบดังนั้น
dy
ต(องเปนบวก นั่นหมายถึง ระดับผิวน้ําจะเพิ่มสูงขึ้นจากระดับเดิมดังรูปที่ 6.14b
dx
2) ถ(าท(องทางน้ําลดระดับลง
dz
ในทํ า นองเดี ย วกั น จากสมการที่ 6.34 ถ( า ท( องน้ํ า มี การลดระดั บ ลงจะทํ าให( เป น ลบ ดั งนั้ น
dx
dy
(1-Fr ) dx
2
ต(องเปนบวกเสมอ ซึ่งเปนได(สองกรณีดังนี้

 ถ(าการไหลทางด(านเหนือน้ําอยูในสภาวะต่ํากวาวิกฤต ( Fr < 1) จะทําให( 1-Fr 2 เปนบวกดังนั้น


dy
ต(องเปนบวก นั่นหมายถึง ระดับผิวน้ําจะเพิ่มขึ้นจากระดับเดิมดังรูปที่ 6.14c
dx
 ถ(าการไหลทางด(านเหนือน้ําอยูในสภาวะสูงกวาวิกฤต ( Fr > 1) จะทําให( 1-Fr 2 เปนลบดังนั้น
dy
ต(องเปนลบ นั่นหมายถึง ระดับผิวน้ําจะลดต่ําลงจากระดับเดิมดังรูปที่ 6.14d
dx
236

3) ถ(าท(องน้ําไมมีการเปลี่ยนแปลงระดับ
ถ(าท(องน้ําไมมีการเปลี่ยนแปลงจะทําให( dz
เปนศูนย ดังนั้น (1-Fr 2 ) dy ต(องเปนศูนยด(วยเสมอ
dx dx
ซึ่งจะเปนจริงได(ดังนี้
dy
 ต(องเปนศูนย หรือการไหลที่ผิวอิสระไมมีการเปลี่ยนแปลง เชนการไหลของน้ําผานทางน้ําที่
dx
ท(องน้ําคอย ๆ เปลี่ยนแปลง (Step Transition) ซึ่งจะทําให(ระดับน้ําเทากันตลอด ซึ่งไมคอยพบ
มากนัก
 Fr = 1 ซึ่งสามารถพบได(กรณีการไหลของน้ําไหลจากอา งเก็ บน้ํา เข(าสู ปากทางน้ําเปK ดที่มี ความ

ลาดชันท(องคลองมาก ๆ (Steep Slope) พิจารณารูปที่ 6.15 ณ.ตําแหนงสูงสุด (จุด A) ท(องน้ํา


 dz  dy
ไมมีการเปลี่ยนแปลง  = 0 และการไหลของน้ําผานจุดนี้จะเกิดความเรงดังนั้น จะ
 dx  dx
ไมเทากับศูนย ทําให(การไหล ณ.จุดนี้ต(องมีคา Fr=1 เทานั้นสมการที่ 6.34 จึงเปนจริงได( และ
สภาวะการไหลที่จุด A ต(องเปนการไหลแบบวิกฤต

a) b)

c) d)
รูปที่ 6.14 ลักษณะการไหลเมื่อระดับท(องน้ํามีการเปลี่ยนแปลง
237

รูปที่ 6.15 การไหลของน้ําจากอางเก็บน้ําเข(าสูทางน้ําที่มีความลาดชันสูง

ตัวอย2างที่ 6.3 ทางน้ําเปKดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(ากว(าง 2.4 m มีอัตราการไหล 5.4 m3/s และความลึกการไหล


1.8 m ทางด(านท(ายน้ํามีการยกระดับพื้นทางน้ําขึ้น 0.12 m จงหาระดับน้ําทางด(านท(ายน้ํา (ไมคิดการ
สูญเสียพลังงานระหวางการไหล)

วิธีทํา สภาวะการไหลทางด(านเหนือน้ํา (กอนพื้นถูกยกระดับ)


Q 5.4
 ความเร็ว, VU = = = 1.25 m s
A 2.4×1.8
V 1.25
 ฟรุดนัมเบอร FrU = = = 0.30 เปนการไหลต่ํากวาวิกฤต
gy 1.8g

ถ(าท(องน้ํามีการยกระดับขึ้นและการไหลทางด(านเหนือน้ําอยูในสภาวะต่ํากวาวิกฤตจะทําให(ระดับผิว
น้ําจะลดต่ําลง (ความลึกของน้ําลดลง) พิจารณาสมการพลังงาน (เลข 1 แทนหน(าตัดการไหลกอนเปลี่ยน
ระดับท(องน้ํา และ 2 แทนหน(าตัดการไหลหลังระดับท(องน้ําถูกยกขึ้น)

V12 V22
y1 + = y2 + + ∆z
2g 2g

2
1.252 ( 5.4 2.4 )
1.8 + = 0.12 + y2 +
2g 2 gy22

0.258
1.76 = y2 +
y22
238

แก(สมการจะได( y2 เทากับ 1.667 m และ 0.443 m

ตรวจสอบสภาวะการไหล
Q 5.4
 ถ(า y2 = 1.667 m จะได( V= =
A 2.4×1.667
= 1.35 m s

V 1.35
Fr = = = 0.33 เปนการไหลต่ํากวาวิกฤต
gy 1.667g
Q 5.4
 ถ(า y2 = 0.443 m จะได( V= =
A 2.4×0.443
= 5.08 m s

V 5.08
Fr = = = 2.44 เปนการไหลสูงกวาวิกฤต
gy 0.443g

เมื่อท(องน้ํามีการยกระดับขึ้นและการไหลทางด(านเหนือน้ําอยูในสภาวะต่ํากวาวิกฤตจะทําให(ความลึกของ
น้ําลดลง เมื่อพิจารณาคําตอบระดับน้ํา y2 ทั้งสองคําตอบ (1.667 m และ 0.443 m) มีคาน(อยกวาระดับ
น้ํากอนยกระดับพื้น (1.8 m) ทั้ง 2 คา ดังนั้นทําการตรวจสอบวาควรเลือกคาใดได(ดังนี้
 พิจารณาหาคาความลึกวิกฤต
2
yc = 3 q 2 g = 3
( 5.4 2.4 ) g = 0.802 m

 พลังงานจําเพาะ
3
Ec = y c = 1.5×0.802 = 1.203 m
2
เนื่องจากการไหลที่หน(าตัดกอนพื้นทางน้ํามีการเปลี่ยนแปลง (หน(าตัดที่ 1) เปนการไหลต่ํากวา
วิกฤต ดังนั้นการไหลที่หน(าตัดที่ทางน้ําถูกยกระดับพื้นขึ้น (หน(าตัดที่ 2) ต(องเปนการไหลต่ํากวาวิฤตด(วย
ดังนั้นระดับน้ําที่พื้นที่การยกระดับ เทากับ 1.667 m (เลือกระดับน้ําที่มีคามากกวา 0.802 m) ตอบ
239

ตัวอย2างที่ 6.4 ทางน้ําเปKดรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีความลาดเท


ด(านข(างในแนวดิ่งตอแนวราบเทากับ 1:2 และความกว(าง
ท(องน้ํา 4 m ดังรูป จงหาความลึกวิกฤตและความเร็ววิกฤต
เมื่ออัตราการไหลเทากับ 12 m3/s

วิธีทํา ณ. สภาวะการไหลวิกฤต

Q2 T
=1 (E6.4-1)
gA3

เมื่อ Q = 12 m3/s ความกว( างผิ วน้ํา T = 4 + 2 × 2 × yc พื้นที่ห น(าตั ดการไหล


A = ( 4 + 2 yc ) yc แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ E6.4-1 จะได(

122 × 4 (1 + yc )
3
=1
g ( 4 + 2 yc ) yc 

แก(สมการจะได( yc เทากับ 0.839 m

Q 12
Vc = = = 3.58 ms
ความเร็ววิกฤต Ac 4×0.839

ตอบ ความลึกการไหลวิฤตเทากับ 0.78 m และความเร็วการไหลวิกฤตเทากับ 3.58 m/s


240

การไหลแบบสม่ําเสมอ (Uniform flow)


การไหลในทางน้ําเปKดเกิดจากการกระทําด(วยแรงโน(มถวงของโลกและแรงต(านทานการไหลของ
น้ําเนื่องจากแรงเสียดทาน การไหลแบบสม่ําเสมอสามารถเกิดขึ้นได(ก็ตอเมื่อแรงต(านทานการไหลของน้ํา
อยูในสภาวะสมดุลกับแรงโน(มถวงของโลก โดยลักษณะการไหลจะมีลักษณะดังรูปที่ 6.16 ดังนี้
 การไหลลักษณะดังรูปที่ 6.16a ถ(าการไหลเกิดขึ้นบนทางน้ําที่มีความลาดชันท(องน้ํา (So) ต่ํากวา
ความลาดชันวิกฤต (Sc) ซึ่งน้ําจะไหลอยางช(าๆทางด(านเหนือน้ํา ซึ่งมีแรงต(านทานการไหลน(อย
กวาแรงโน(มถวงของโลกสงผลทําให(เกิดความเรงทางด(านเหนือน้ํา ดังนั้นการไหลชวงนี้จะเปนการ
ไหลแบบไมสม่ําเสมอ จนเมื่อแรงต(านทานการไหลคอยๆ เพิ่มขึ้นและมีคาเทากับแรงโน(มถวงของ
โลก การไหลของน้ําชวงนี้จะกลายเปนการไหลแบบสม่ําเสมอ เมื่อพิจารณาทางด(านท(ายน้ําแรง
ต(านทานการไหลมีมากกวาแรงโน(มถวงของโลกการไหลจะกลับมาเปนแบบไมสม่ําเสมออีกครั้ง
 การไหลลักษณะดังรูปที่ 6.16b ถ(าการไหลเกิดขึ้นบนทางน้ําที่มีความลาดชัน (So) เทากับความ
ลาดชันวิกฤต (Sc) ดังรูปที่พบวาการไหลของน้ํามีผิวน้ําเปนลอนคลื่นเล็ก ๆ ตลอดการไหล ลอน
คลื่นบริเวณเหนือน้ําจะมีขนาดใหญกวาชวงกลางน้ําและท(ายน้ํา โดยทั่วไปถือวาชวงต(นน้ําการ
ไหลจะเปนแบบไมสม่ําเสมอ และถัดไปจะกําหนดให(การไหลเปนแบบสม่ําเสมอ
 การไหลลักษณะดังรูปที่ 6.16b ถ(าการไหลเกิดขึ้นบนทางน้ําที่มีความลาดชัน (So) มากกวาความ
ลาดชันวิกฤต (Sc) พบวาความลึกการไหลจะต่ํากวาความลึกวิกฤต ลักษณะการไหลจะเหมือนการ
ไหลบนทางน้ํ า ที่มีความลาดชั น เท า กั บความลาดชั น วิกฤตแต จ ะไม มีลอนคลื่น ปรากฏที่ผิ ว น้ํ า
เชนเดียวกันถือวาชวงต(นน้ําการไหลจะเปนแบบไมสม่ําเสมอ และถัดไปจะกําหนดให(การไหลเปน
แบบสม่ําเสมอ
จากลักษณะดังกลาวสามารถกําหนดคุณสมบัติของการไหลแบบสม่ําเสมอได(ดังนี้
 ความลึก ความเร็ว พื้นที่หน(าตัด และปริมาณการไหลของน้ํา ทุกๆตําแหนง ตลอดชวงความยาว
ของ ทางน้ํามีคาคงที่
 ความลาดชันของเส(นพลังงาน ความลาดชันของผิวน้ํา และความลาดชันพื้นทางน้ํา มีคาเทากัน
หรือเส(นของความลาดชันทั้งสามขนานกัน
ในทางน้ําธรรมชาติการไหลแบบคงที่และสม่ําเสมอจะเกิดขึ้นได(ยากแตถึงกระนั้นในการคํานวณเรามัก
สมมติให(การไหลเปนแบบคงที่และสม่ําเสมออยูบอยๆและผลที่ได(รับก็มีความใกล(เคียงกับผลที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ
241

a)

b)

c)

รูปที่ 6.16 การเกิดการไหลแบบสม่ําเสมอในทางน้ําเปKด


242

การคํานวณหาความเร็วการไหลในทางน้ําเป5ด
สูตรที่ใช(คํานวณหาความเร็วของการไหลแบบสม่ําเสมอสามารถเขียนอยูในรูปสมการทั่วไปได(ดังนี้

V = CR x Sy (6.35)

เมื่อ V คือความเร็วเฉลี่ย R คือรัศมีชลศาสตร S คือความลาดชันของเส(นพลังงาน C คือ


สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานของการไหล x และ y คือเลขชี้กําลัง เราสามารถสมมติให(การไหลของน้ํา
ในทางน้ําเปKดธรรมชาติเปนแบบสม่ําเสมอได(เมื่อไมมีการไหลบาของน้ําหรือไมมีการเปลี่ยนแปลงการไหล
อยางมากเนื่องจากความไมสม่ําเสมอของทางน้ํา แตผลที่ได(เปนเพียงการประมาณอยางหยาบเทานั้น สูตร
ที่ใช(คํานวณหาความเร็วเฉลี่ยที่รู(จักกันและนิยมใช(กันอยางแพรหลายคือสูตรของเชซี (Chezy Formula)
และสูตรของแมนนิ่ง (Manning Formula) หากพิจารณาการไหลในทางน้ําเปKดที่หน(าตัดการไหลคงที่และ
การไหลเปนแบบสม่ําเสมอดังรูปที่ 6.17

รูปที่ 6.17 แรงกระทําของการไหลในทางน้ําเปKด

จากรูปที่ 6.17 พิจารณาแรงกระทํา กับปริมาตรควบคุม (เส(นประ) ในทิศทางการไหลของน้ํ า


พบวามีแรงกระทําอยู 4 แรงด(วยกันคือแรงดันน้ําที่หน(าตัดการไหลที่ 1 ( F1 ) แรงดันน้ําที่หน(าตัดการไหลที่
2 ( F2 ) น้ําหนักของน้ําในทิศทางการไหล ( Wsinθ ) และแรงเสียดทานของการไหลที่ผิวทางน้ํา ( Ff )
หากพิจารณาสมดุลของแรงจะได(
243

F1 +Wsinθ = F2 +Ff (6.36)

เนื่องจากเปนการไหลแบบสม่ําเสมอความลึกการไหลและพื้นที่หน(าตัดการไหลที่หน(าตัดที่ 1 และ
หน(าตัดที่ 2 มีคาเทากันทําให( F1 = F2 ดังนั้นสมการที่ 6.35 จะเปน

Wsinθ = Ff (6.37)

เมื่อ W คือน้ําหนักของมวลน้ํา และ θ คือมุมเอียงของทางน้ําวัดจากแนวระนาบ จากรูปสามารถหาแรง


เสียดทานได(ดังดังนี้

Ff = τ o PL (6.38)

เมื่อ τ o คือ ความเค(นเฉือนที่ผิวทางน้ํา P คือ เส(นขอบเปëยกของทางน้ํา และ L คือความยาวของ


ทางน้ํา ในปë ค.ศ. 1769 วิศวกรชาวฝรั่งเศสชื่อ Antoine Chezy พบวาความเค(นเฉือนที่ผิวทางน้ําเปKด
เปนปฏิภาคโดยตรงกับความเร็วการไหลยกกําลังสอง (V2) ดังสมการ

τo α v2

หรือ τ o = Kv 2 (6.39)

เมื่อ K คือคาคงที่แทนคาลงในสมการที่ 6.38 จะได(

(
Ff = Kv 2 PL ) (6.40)

แทนคาสมการ 6.40 ลงในสมการที่ 6.37 จะได(

(
Wsinθ = Kv 2 PL ) (6.41)

น้ําหนักของมวลน้ํา W = γ∀ = γ AL เมื่อ γ คือน้ําหนักจําเพาะของน้ํา A คือพื้นที่หน(าตัดการ


ไหล และ L คือความยาวของทางน้ํา สําหรับทางน้ําที่มีความลาดชันน(อย ๆ คา sinθ = tanθ และมีคา
เทากับความลาดชันท(องน้ํา แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ 6.40 จะได(

(
γALS = Kv 2 PL )
 γ  A 
v =    S (6.42)
 K  P 
244

โดยที่ รัศมีชลศาสตร R = A P และ Chezy กําหนดให( C= γ K สมการที่ 6.42 สามารถเขียนใหม


ได(เปน

v = C RS (6.43)

สมการที่ 6.43 เปนสมการหาความเร็วเฉลี่ยของ Chezy และ C คือคาสัมประสิทธิ์ของ Chezy


ซึ่งขึ้นอยูกับสภาพของทางน้ําเปKดและสภาวะการไหลในปë ค.ศ. 1869 วิศวกรชาวสวิสชื่อ Gunguillet
และ Kutter ได(เสนอสมการสําหรับหาคาสัมประสิทธิ์ของ Chezy ดังนี้
1 0.00155
23 + +
C= n S (6.44)
 0.00155  n
1 +  23 + 
 S  R

เมื่อ C คือคาสัมประสิทธิ์ของ Chezy n คือ สัมประสิทธิ์ของความขรุขระ S คือ ความลาดเทของ


เส(นพลังงาน และ R คือ รัศมีชลศาสตร ตอมา ปë ค.ศ. 1897 วิศวกรชาวฝรั่งเศสชื่อ H. Basin ได(เสนอสูตร
คํานวณหาสัมประสิทธิ์ของChezy ให(งายขึ้นดังสมการ
87
C= (6.45)
1+ m R

เมื่อ m คือสัมประสิทธิ์ความขรุขระของเบซิน สูต รของเบซิ นได( มาจากข(อมูลซึ่งมีการเก็ บ


รวบรวมจากรองน้ําขนาดเล็กเสียโดยมากในการใช(งานทั่วไปจึงไมคอยได(ผลดีเหมือนสูตรของ Gunguillet
และ Kutter ตอมาในปë ค.ศ. 1889 วิศวกรชาวไอริชชื่อนายโรเบิรต แมนนิ่ง (Robert Manning) ได(เสนอ
สูตรซึ่งใช(หาความเร็วการไหลแบบสม่ําเสมอในทางน้ําเปKดและสูตรนี้ได(ถูกปรับปรุงและแก(ไขตอมาจนถึง
รูปแบบซึ่งเปนที่รู(จักกันดีในสมการที่ 6.46
1 23 12
V= R S (6.46)
n

เมื่อ n คือสัมประสิทธิ์ของความขรุขระหรือสัมประสิทธิ์ของแมนนิ่ง S คือความลาดชันของเส(น


พลังงาน สูตรของแมนนิ่งมีผู(นิยมใช(สูตรนี้ในการคํานวณความเร็วเฉลี่ยการไหลในทางน้ําเปKดหรือคลองที่มี
การไหลแบบสม่ําเสมอกัน เพราะผลที่ให(ใกล(เคียงกับความจริงมากทั้งการคํานวณได(งายและรวดเร็วกวา
สูตรอื่น ตารางที่ 6.3 แสดงสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งของทางน้ําเปKดลักษณะผิวตางๆ ซึ่งจะ
สังเกตได(วา n จะมีคาสูงขึ้นเมื่อคาความขรุขระมากขึ้น จากสมการของแมนนิ่ง (สมการที่ 4.46) จะสงผล
ให(ความเร็วการไหล และอัตราการไหลมีคาลดลง สําหรับคา C ในสมการของ Chezy นั้นไมได(ขึ้นอยูกับ
245

ความขรุขระของผิวทางน้ําเปKดแตเพียงอยางเดียวเทานั้น แตยังสัมพันธกับความลึกการไหล และรัศมีชล


ศาสตร ด( ว ย ดั งนั้ น จึ งไม มีการทํ า ตารางสรุ ป ค า C เอาไว( เ พื่ อนํ าไปใช( แต อย า งไรก็ ต ามเมื่ อทํ า การ
เปรียบเทียบสมการ 6.43 และ 6.46 จะทําให(สามารถหาคา C จากคา n และ R ได(ดังนี้

R1/6
C= (6.47)
n

เมื่อ C คือสัมประสิทธิ์ของ Chezy n คือคือสัมประสิทธิ์ของความขรุขระหรือสัมประสิทธิ์ของ


แมนนิ่ง และ R คือ รัศมีชลศาสตร

ตารางที่6.3 สัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่ง

ชนิดของผิว Manning's n
ผิวคอนกรีตเรียบมาก และไม(แผนเรียบ 0.011
ผิวคอนกรีตเรียบ 0.012
ผิวคอนกรีตธรรมดา 0.013
ไม(ซึ่งมีผิวในสภาพดี 0.014
ดินเผา 0.015
คอนกรีตพนและรองน้ําดินซึ่งมีสภาพดีเยี่ยม 0.017
รองน้ําดินในแนวตรง และสภาพดี 0.020
แมน้ําและคลองในสภาพปานกลาง ซึ่งมีวัชพืชปกคลุมตลิ่งบางสวน 0.025
ลําน้ําธรรมชาติในสภาพไมดี คดเคี้ยว และมีวัชพืชปกคลุมมาก 0.035
ลําน้ําในหุบเขา ซึ่งมีผิวเปนหินขรุขระ 0.040-0.050
246

การที่จะเลือกใช(คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่ง (n) นั้นจะกําหนดคา n คาใดคาหนึ่งสําหรับ


ทางน้ําแบบใดแบบหนึ่งโดยเฉพาะเปนการไมถูกต(องนัก โดยเฉพาะทางน้ําธรรมชาติซึ่งสภาพของทางน้ํา
จะมีการเปลี่ยนแปลงจากจุดใดจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งซึ่งจะมีผลทําให(คาของ n มีการเปลี่ยนแปลงตลอด
ชวงของลําน้ํา ดังนั้นเราควรจะรู(ถึงสิ่งที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของคา n ซึ่งจะมีประโยชนมากตอ
การที่จะเลือกใช(คา n ได(ถูกต(องและเหมาะสมยิ่งขึ้น ซึ่งอิทธิพลตอคาสัมประสิทธิ์ของความขรุขระ
โดยทั่วไปมีดังนี้
 ความขรุขระของผิวทางน้ํา (Surface roughness) ถ(าพิจารณาถึงขนาดและรูปรางของเม็ดของ
วัสดุบนผิวของทางน้ําหรือเส(นรอบรูปเปëยก วัสดุดังกลาวอาจได(แก ดินเหนียว ดินรวน ดินทราย
หิน หรือกรวด หรือวัสดุเหลานี้ผสมกัน วัสดุจําพวกที่มีเม็ดละเอียดจะกอให(เกิดการต(านทานการ
ไหลของน้ําน(อยกวาพวกที่มีเม็ดหยาบ หรือคา n จะมีคาน(อยถ(าทางน้ําเกิดจากวัสดุที่มีเม็ด
ละเอียด และคา n จะมีคามากถ(าทางน้ํามีวัสดุที่มีเม็ดหยาบ
 พืชที่ขึ้นอยูในทางน้ํา (Vegetation) ต(นไม(หรือพวกวัชพืชที่ขึ้นอยูบนผิวของทางน้ําและตามตลิ่ง
จะทําให(อัตราการไหลลดน(อยลงเพราะพืชเหลานี้จะต(านทานการไหลของน้ํา นอกจากนี้วัชพืชที่
ลอยอยูในน้ําเชน สาหราย ผักตบชวา จอก แหน ก็เปนตัวการสําคัญที่ทําให(อัตราการไหลของน้ํา
ลดลงหรือทําให(คา n เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามอิทธิพลของพืชตอคา n จะขึ้นอยูกับชนิด ความสูง
ความหนาแนน และการแพรกระจายของพืชด(วย
 ความไมสม่ําเสมอของพื้นที่หน(าตัดตลอดทางน้ํา (Channel irregularity) การเปลี่ยนแปลงขนาด
ของรูปรางของหน(าตัด ตลอดลําน้ํา จะมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงคาของ n ตามปกติแล(วถ(า
เกิดการเปลี่ยนแปลงเปนไปอยางช(าๆและสม่ําเสมอจะไมมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงคาของ n
มากนักแตถ(าการเปลี่ยนแปลงเปนไปอยางรวดเร็วและจะมีผลทําให(คา n เพิ่มขึ้นมาก
 แนวของทางน้ํา (Channel alignment) ทางน้ําที่มีลักษณะคดเคี้ยวไปมามาก จะมีคา n สูงกวา
ทางน้ําที่มีลักษณะตรงหรือทางน้ําที่มีความคดเคี้ยวไปมาน(อย ความคดเคี้ยวของเราสามารถ
สังเกตได(จากรัศมีความโค(งถ(ารัศมีความโค(งมีมากแสดงวาทางน้ํามีความคดเคี้ยวน(อย
 การตกตะกอนและการกัดเซาะ (Silting and Scouring) การตกตะกอนจะทําให(พื้นที่หน(าตัด
ตลอดลําน้ําคอนข(างสม่ําเสมอ เมื่อเปรียบเทียบกับการกัดเซาะฉะนั้นจึงมีผลทําให( n ลดลงสวน
การกัดเซาะจะเปนกระบวนการที่กลับกัน แตอยางไรก็ตามการตกตะกอนและการกัดเซาะจะ
ขึ้นอยูกับชนิดของวัตถุในลําน้ําและความเร็วของการไหลของน้ํา
247

 สิ่งกีดขวางในลําน้ํา (Obstruction) เชน ตอมอของสะพาน จะทําให(คา n เพิ่มขึ้นอิทธิพลของสิ่ง


กีดขวางตอคา n จะขึ้นอยูกับขนาดรูปรางและจํานวนของสิ่งกีดขวาง
 ระดับน้ําและอัตราการไหล (Stage and discharge) โดยทั่วๆ ไปคา n จะลดลงเมื่อระดับน้ําและ
อัตราการไหลเพิ่มขึ้นเพราะในขณะที่ระดับน้ําในทางน้ําธรรมชาติลดลงมาก ๆ อิทธิพลของความ
ไมสม่ําเสมอของท(องน้ําจะเพิ่มขึ้น แตอยางไรก็ตาม คา n อาจจะเพิ่มขึ้นที่ระดับน้ําสูง ก็ได(ถ(า
หากตามตลิ่งของทางน้ํามีพืชขึ้นอยูอยางหนาแนนโดยเฉพาะหากการไหลเกิดขึ้นบนตลิ่งลําน้ํา
 วัสดุแขวนลอยและวัสดุท(องน้ํา (Suspended material and bed load) จะกอให(เกิดการ
สูญเสียพลังงานในขณะที่น้ําไหลและมีผลทําให(คา n เพิ่มขึ้น

จากที่ได( กลาวมาข(างต( นพอสรุ ปได(วา เงื่อนไขใดๆก็ต ามที่มีแนวโน(มทําให(การไหลของน้ํา เปนแบบ


ปMîนปñวนจะมีผลทําให(เกิดความต(านทานการไหลของน้ําเพิ่มขึ้นหรือจะทําให(คา n เพิ่มขึ้นในทางตรงกัน
ข(ามถ(าลดความปMîนปñวนของการไหลและความต(านทานของน้ําลงได(จะทําให(คา n ลดลง เพื่อให(ได(คา n
ถูกต(อง Woody L. Cower ได(เสนอแนะสมการประมาณคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งไว(ดัง
สมการ

n = ( no + n1 + n2 + n3 + n4 ) m5 (6.48)

เมื่อ n0 คือ คา n พื้นฐานสําหรับทางน้ําเปKดเรียบและมีแนวตรงสม่ําเสมอตามลักษณะของวัสดุ


ทางน้ําเปKด n1 คือ คาปรับแก(สําหรับผลของความผันแปรของผิวทางน้ําเปKด n2 คือคาปรับแก(สําหรับความ
ผันแปรของรูปรางและขนาดหน(าตัดของทางน้ําเปKด n3 คือคาปรับแก(สําหรับสิ่งกีดขวางการไหลในทางน้ํา
เปKด n4 คือคาปรับแก(สําหรับการมีพืชปกคลุม และ m5 คือคาปรับแก(สําหรับผลของความคดเคี้ยวของทาง
น้ําเปKด โดยคาตาง ๆ สามารถหาได(จากตารางที่ 6.4
248

ตารางที่ 6.4 คาปรับแก(ตาง ๆ สําหรับการคํานวณสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่ง


ลักษณะของทางน้ําเปKด คาปรับแก(
วัสดุทางน้ําเปKด (n0) ดิน 0.020
กรวดละเอียด 0.024
หินตัด 0.025
กรวดหยาบ 0.028
ผลจากความผันแปรของผิวทาง เรียบ 0.000
น้ําเปKด (n1) ไมเรียบเล็กน(อย 0.005
ไมเรียบเล็กปานกลาง 0.010
ไมเรียบมาก 0.020
ผลจากความผันแปรของรูปราง ไมเปลี่ยนแปลง หรือ คอย ๆ เปลี่ยนแปลง 0.000
และขนาดหน(าตัดของทางน้ําเปKด หน(าตัดเปลี่ยนแปลงน(อย 0.005
(n2) หน(าตัดเปลี่ยนแปลงมาก 0.010-0.015
ผลจากสิ่งกีดขวางการไหลในทาง ไมมี 0.000
น้ําเปKด (n3) มีเล็กน(อย 0.01-0.015
มีปานกลาง 0.020-0.030
มีมาก 0.040-0.060
ผลจากพืชปกคลุม (n4) มีน(อย 0.005-0.010
มีปานกลาง 0.010-0.025
มีมาก 0.025-0.050
มีมากที่สุด 0.050-0.100
ผลจากความคดเคี้ยวของทางน้ํา ไมมีหรือคดเคี้ยวเล็กน(อย 1.000
เปKด (m5) คดเคี้ยวปานกลาง 1.150
คดเคี้ยวมาก 1.300

ที่มา: Chow (1959)


249

อยางไรก็ตามสําหรับทางน้ําเปKดบางประเภทอาจมีคา n มากกวา 1 คาสําหรับหน(าตัดการไหลใด


ๆ การหาความเร็วในทางน้ําเปKดโดยใช(สูตรของแมนนิ่ง สําหรับทางน้ําที่มีคา n แตกตางกันตลอดเส(นรอบ
รูป เปë ยก จํ า เป น ที่ จ ะต( องหาค า สั มประสิ ทธิ์ของความขรุ ขระสมมูล ก อน (Equivalent Roughness
Coefficient) โดยการทําแบงหน(าตัดของทางน้ําออกเปนสวน ๆ แตละสวนมีคาเส(นรอบรูปเปรียบเทากับ
P1, P2, P3,…,PN และสัมประสิทธิ์ของความขรุขระเทากับ n1, n2, n3,…,nN Horton และ Einstein เสนอ
สมการหาคาสัมประสิทธิ์ของความขรุขระสมมูล โดยสมมุติวาแตละหน(าตัดมีความเร็วยอยเฉลี่ยเทากัน
และมีคาเทากับความเร็วเฉลี่ยของหน(าตัดการไหลทั้งหมด และเสนอสมการ
2/3
 N 3/ 2 
 ∑ Pn i i 
n =  i =1  (6.49)
 P 
 
 

เมื่อ P คือเส(นขอบเปëยกทั้งหมด = P1 + P2 + P3 +…+ PN

ฟลอสกิสและคณะ ได(เสนอสมการหาคาสัมประสิทธิ์ของความขรุขระสมมูลโดยตั้งสมมติฐานวา
แรงตานทานการไหลทั้งหมดตลอดพื้นที่หน(าตัดเทากับผลรวมของแรงตานทานการไหลที่เกิดขึ้นในแตละ
หน(าตัดการไหลยอยและเสนอสมการ
1/ 2
 N 2
 ∑ Pn i i 

n =  i =1 1/ 2  (6.50)
P

เมื่อ P คือเส(นขอบเปëยกทั้งหมด = P1 + P2 + P3 +…+ PN

ล็อตเตอรได(ใช(สูตรของแมนนิ่งในแตละหน(าตัดกันหลายยอยโดยตั้งข(อสมมติฐานวาอัตราการไหล
ทั้งหมดเทากับผลรวมของแตละการไหลในแตละหน(าตัดยอย โดยเสนอการหาคาสัมประสิทธิ์ของความ
ขรุขระสมมูลดังสมการ

PR 5/3
n= N (6.51)
 PR 5/3

∑i  n 
i i

 i 

เมื่อ R คือ รัศมีชลศาสตรของหน(าตัดการไหลทั้งหมด และ R1, R2, R3,…RN คือ รัศมีชลศาสตร


ของหน(าตัดการไหลยอย สําหรับทางน้ําเปKดที่หน(าตัดมีหลายสวน เชน ทางน้ําเปKดที่น้ําไหลล(นฝMîงในฤดูน้ํา
250

หลากดังแสดงในรูปที่ 6.18 คาของ n ในทางน้ํายอยด(านข(างจะไมเทากับคาของ n ในทางน้ําหลักและ


มักจะมีคามากกวา วิธีการวิเคราะหหาอัตราการไหลทั้งหมดสามารถทําได(โดยการหาผลรวมของอัตราการ
ไหลในแตละสวนของหน(าตัด ถ(าทางน้ําเปKดในรูป 6.18 มีความลาดเทของทางน้ําเทากันทั้ง 3 สวนจะได(วา

A A A 3 2/3  1/2
Q=  1 R12/3 + 2 R 2/3
2 + R3 S (6.52)
 n1 n2 n3 

เมื่อ Q คืออัตราการไหลทั้งหมด A คือพื้นที่หน(าตัดทางน้ํา R คือรัศมีชลศาสตร n คือสัมประสิทธิ์


ความขรุขระของแมนนิ่ง และ S คือความลาดชันของท(องน้ํา (หรือความลาดชันผิวน้ําหรือความลาดชัน
พลังงาน)

รูปที่ 6.18 ทางน้ําเปKดที่มีหน(าตัดหลายสวน


251

ตัวอย2างที่ 6.5 ทางน้ําเปKดรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีความลาดเทด(านข(างในแนวดิ่งตอแนวราบเทากับ 1:3 และ


ความกว(างท(องน้ํา 4 m ท(องน้ํามีความลาดเทเทากับ 0.002 เมื่ออัตราการไหลเทากับ 12 m3/s วัดความ
ลึกการไหลได(เทากับ 2 m จงหาคาคาสัมประสิทธิ์ของ Chezy และสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่ง
เมื่อการไหลเปนแบบสม่ําเสมอ
วิธีทํา คุณสมบัติทางน้ํา

 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A = ( b+my ) y = ( 4+3×2 ) × 2 = 20 m 2

 เส(นขอบเปëยก, P = b+2y 1 + z 2 = 4 + 2 × 2 1 + 32 = 16.65 m


Q 12
 ความเร็วการไหล, V= = = 0.6 m s
A 20
A 20
 รัศมีชลศาสตร, R= = = 1.2 m
P 16.65

จากสมการของ Chezy

v = C RS

v 0.6
C= = = 12.25
RS 1.2×0.002

จากสมการของแมนนิ่ง
1 23 12
v= R S
n

V 1.22/30.0021/2
n= = = 0.0842
R 2/3 S 1/ 2 0.6

ตรวจสอบ จากสมการ
1 1/6
C= R
n

1
C= 1.21/6 = 12.25 OK.
0.0842

สัมประสิทธิ์ของ Chezy เทากับ 12.25 และสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งเทากับ 0.0842 ตอบ


252

ตัวอย2างที่ 6.6 คลองคอนกรีตสงน้ําหน(าตัดรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีความกว(างก(นคลอง 4 m ความลาดเท


ด(านข(างแนวดิ่งตอแนวราบเทากับ 1:2 มีความลาดเทเทากับ 0.001 คลองคอนกรีตมีคาสัมประสิทธิ์ความ
ขรุขระของแมนนิ่งเทากับ 0.015 วัดความความลึกการไหลเทากับ 1.8 m จงหาอัตราการไหลที่ไหลผาน
คลองนี้เมื่อการไหลเปนแบบสม่ําเสมอ

วิธีทํา คุณสมบัติทางน้ํา

 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A = ( b+my ) y = ( 4+2×1.8) ×1.8 = 13.68 m2

 เส(นขอบเปëยก, P = b+2y 1 + z 2 = 4 + 2 × 1.8 1 + 22 = 12.05 m


A 13.68
 รัศมีชลศาสตร, R= = = 1.14 m
P 12.05

จากสมการของแมนนิ่ง
1 1
Q= AR 2 3S1 2 = ×13.68×1.142/3×0.0011/2 = 31.47 m3 s
n 0.015

อัตราการไหลเทากับ 31.47 m3/s ตอบ


253

ตัวอย2างที่ 6.7 รองน้ําดินในแนวตรงและสภาพดีหน(าตัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(ามีความกว(างก(นคลอง 12 m


เมื่ออัตราการไหลเทากับ 80 m3/s วัดความความลึกการไหลได(เทากับ 3.2 m และระดับของผิวน้ําด(าน
เหนือน้ําและท(ายน้ําสูง +108.00 MSL และ +99.00 MSL ตามลําดับ จงหาความยาวของทางน้ํา
ดังกลาวเมื่อการไหลเปนแบบสม่ําเสมอ

วิธีทํา คุณสมบัติทางน้ํา

 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A = by = 12 × 3.2 = 38.4 m2

 เส(นขอบเปëยก, P = b+2y = 12 + 2 × 3.2 = 18.4 m


A 38.4
 รัศมีชลศาสตร, R= = = 2.09 m
P 18.4
Q 30
 ความเร็วการไหล, V= = = 0.78 m s
A 38.4
 จากตารางที่ 6.3 เมื่อทางน้ําเปนรองน้ําดินในแนวตรงและสภาพดี, n = 0.02

จากสมการของแมนนิ่ง
1 23 12
V= R S
n
Vn 0.78 × 0.02
S1 2 = 23 = 2/3
= 9.543 ×10-3
R 2.09
S = 0.098

เมื่อ S คือความลาดชันของท(องน้ํา (So) ซึ่งถ(าเปนการไหลแบบสม่ําเสมอจะมีความลาดชันเทากับผิวน้ํา


(SW) ดังนั้น
y1 -y2 108 − 99
ความยาวของทางน้ํา, L= = = 91.84 m
SW 0.098

เมื่อ y1 และ y2 คือระดับของผิวน้ําด(านเหนือน้ําและท(ายน้ําตามลําดับ

ความยาวของทางน้ําเทากับ 91.84 m ตอบ


254

ตัวอย2างที่ 6.8 แมน้ําสายหนึ่งในระหวางการเกิดน้ําทวม มีรูปรางและพื้นที่หน(าตัดดังรูป Ex6.8-1 คา


สัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งเทากับ 0.02 ในทางน้ําหลัก และเทากับ 0.12 สําหรับทางน้ํายอยทั้ง
สองข(าง ความลาดชันของแมน้ําเทากับ 0.0002 จงหาอัตราการไหลของแมน้ําสายนี้

วิธีทํา คุณสมบัติแมน้ํา

 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A1 = 12 m 2 , A 2 = 80 m 2 , A3 = 15 m 2

 เส(นขอบเปëยก, P1 = 8 m, P2 = 14 m, P3 = 10 m
A 12 80 15
 รัศมีชลศาสตร, R= , R1 = = 1.5 m, R 2 = = 5.71 m, R 3 = = 1.5 m
P 8 14 10

จากสมการของแมนนิ่งสําหรับทางน้ําหลายสวนอัตราการไหลทั้งหมด

A A A 
Q =  1 R12/3 + 2 R22/3 + 3 R32/3  S 1/2
 n1 n2 n3 

 12 80 15 
Q=  1.52/3 + 5.712/3 + 1.52/3  0.00021/2 = 184.89 m3 s
 0.12 0.02 0.12 

ตอบ อัตราการไหลในแมน้ําทั้งหมดเทากับ 184.89 m3/s


255

ตัวอย2างที่ 6.9 ทางน้ําคอนกรีตหน(าตัดสี่เหลี่ยมคางหมูมีความลึกการไหลปกติ (Normal Depth) เทากับ


2.0 m ทางน้ํามีพื้นกว(าง (b) เทากับ 4.0 m ความลาดเทด(านข(างเทากับ 1:2 คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ
ของแมนนิ่งเทากับ 0.015 ความลาดเทของพื้นทางน้ําเทากับ 0.001 จงหาอัตราการไหลและความเร็วการ
ไหล

วิธีทํา คุณสมบัติทางน้ํา

 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A = ( b+my ) y = ( 4+2×2 ) × 2 = 16.00 m 2

 เส(นขอบเปëยก, P = b+2y 1 + z 2 = 4 + 2 × 2 1 + 22 = 12.94 m


A 16.00
 รัศมีชลศาสตร, R= = = 1.24 m
P 12.94

จากสมการของแมนนิ่ง
1 23 12 1
V= R S = ×1.242/3×0.0011/2 = 2.43 m s
n 0.015
Q = AV = 16 × 2.43 = 38.88 m3 s

ตอบ ความเร็วการไหลเทากับ 2.43 m/s และ อัตราการไหลเทากับ 38.88 m3/s


256

ตัวอย2างที่ 6.10 ถ(าปริมาณการไหลในตัวอยางที่ 6.9 เทากับ 29 m3/s จงหาความลึกการไหลปกติ

วิธีทํา คุณสมบัติทางน้ํา

 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A = ( b+my ) y = ( 4+2y ) y

 เส(นขอบเปëยก, P = b+2y 1 + z 2 = 4 + 2 y 1 + 2 2

 รัศมีชลศาสตร, R =
( 4+2y ) y
b+2y 5

จากสมการแมนนิ่ง
1 2/3
Q= ARh S 1/ 2
n

1 [(4 + 2 y ) y ]
5/ 3
29 = 0.0011/ 2
0.015 [4 + 4.47 y ]2/3

13.76 =
[(4 + 2 y )y ]
5/ 3

(Ex6.10-1)
[4 + 4.47 y]2 / 3
จากสมการที่ Ex6.10-1 เราสามารถหาคาของความลึก y โดยการใช(วิธี trial and error โดยการ
สมมติคา y แทนลงในด(านขวาของสมการที่ (1) ถ(าได(คาเทากับหรือใกล(เคียง 13.76 แสดงวาคา y ที่
สมมติถูกต(อง พิจารณาจากตัวอยางที่ 6.9 คา y ต(องน(อยกวา 2 m (เพราะอัตราการไหลน(อยกวา)

คา y ที่สมมติ ซ(ายมือของสมการ (1)

1.5 10.37

1.8 14.89

1.75 14.07

1.73 13.75 ใกล(เคียงกับ 13.76

ตอบ เมื่อทางน้ําเปKดมีอัตราการไหล Q = 29 m3/s จะมีความลึกการไหลปกติ y = 1.73 m


257

ตัวอย2างที่ 6.11 ทางน้ําคอนกรีตหน(าตัดสี่เหลี่ยมคางหมูเมื่อถูกน้ําทวมจะมีลักษณะดังรูป คาสัมประสิทธิ์


ความขรุขระของแมนนิ่งในทางน้ําหลักเทากับ 0.015 และบริเวณพื้นที่น้ําทวมทั้งสองฝMîงเทากับ 0.035
ความลาดเทของพื้นทางน้ําเทากับ 0.001 จงประมาณหาอัตราการไหลเมื่อความลึกของน้ําทวมเทากับ 4
m

วิธีทํา คุณสมบัติทางน้ําหน(าตัดทางน้ําหลัก
 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A m = ( 4+3×2.5 ) ×2.5+1.5× ( 4+15 ) = 57.25 m 2

 เส(นขอบเปëยก, P = 4+2 ( 7.91) = 19.82 m


57.25
 รัศมีชลศาสตร, R = = 2.89 m
19.82

คุณสมบัติทางน้ําหน(าตัดทางยอย (ทางน้ําที่ถูกน้ําทวม)
1
 พื้นที่หน(าตัดการไหล, Al = (10+13) ×1.5 = 17.25 m2
2
 เส(นขอบเปëยก, Pl = 10+3.35 = 13.35 m
17.25
 รัศมีชลศาสตร, R = = 1.29 m
13.35

จากสมการของแมนนิ่งสําหรับทางน้ําหลายสวน อัตราการไหลทั้งหมดเทากับ
A A 
Q =  m Rm2/3 + 2  l Rl2/3   S 1/ 2
 nm  nl  
 57.25  17.25 
Q=  2.892/3 + 2  1.292/3   0.0011/2 = 281.82 m3 s
 0.015  0.035 

ตอบ อัตราการไหลในแมน้ําทั้งหมดเทากับ 281.82 m3/s


258

ปรากฏการณน้ําโจน (Hydraulic jump)


ปรากฏการณน้ําโจนเปนปรากฏการณทางด(านชลศาสตรที่พบเห็นได(ในการไหลในทางน้ําเปKด
เมื่อน้ํามีการเปลี่ยนแปลงจากสภาวะการไหลเหนือวิกฤต (Supercritical Flow) เปนการไหลใต(วิกฤต
(Subcritical Flow) ซึ่งสามารถพบเห็นได(บอยบริเวณท(ายฝายน้ําล(น (Spillway) บอน้ํานิ่ง (Stilling
Basin) ในอาคารสลายพลังงาน (Energy Dissipater) หรือบริเวณท(ายประตูควบคุมน้ําในทางน้ําเปKด ดัง
แสดงในรูปที่ (6.19) เมื่อน้ําที่ไหลอยูทางเหนือน้ํา (Upstream) มีความเร็วการไหลสูงกวาวิกฤต (ความลึก
การไหลน(อย, y 2 ) มาบรรจบกับท(ายน้ํา (Downstream) ที่ไหลด(วยความเร็วต่ํากวาวิกฤต (ความลึกการ
ไหลมาก, y3 ) ทําให(ระดับน้ําเกิดการยกตัวขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลนเปนพลังงานศักยเพื่อ
รักษาสมดุล การเกิดปรากฏการณน้ําโจนนี้ ทําให(พลังงานการไหลบางสวนสูญเสียไปจากความปMîนปñวน
(Turbulence) ซึ่งน้ําจะแตกเปนฟองและดูดเอาฟองอากาศเข(ามาด(วย ในบริเวณที่เกิดน้ําโจนนั้น

a) Sluice gate b) Radial gate

รูปที่ 6.19 ปรากฏการณน้ําโจนหลังการผานประตูควบคุม

ประโยชนของน้ําโจนมีหลายอยางซึ่งพอที่จะสรุปได(ดังนี้
 ชวยทําลายพลังงานของน้ําที่ไหลลงมาจากเขื่อนฝายและอาคารลดระดับจึงชวยลดการกัดเซาะ
ทางด(านท(ายน้ําและลดคาใช(จายที่จะต(องเสียไปในการปhองกันการกัดเซาะ
 ชวยยกระดั บผิวน้ําทางด(านท(ายน้ํา ของรางน้ํา ทําให(เราสามารถวัดความลึกของน้ําได(แนนอน
ยิ่งขึ้นและชวยรักษาระดับน้ําในคลองชลประทานให(มีระดับสูง
 ชวยเพิ่มน้ํา หนักบนลานคอนกรี ตหรื ออ างท( ายอาคารและยังช วยลดแรงดั นของน้ํ าที่ ดันอยูใ ต(
อาคารชลศาสตรด(วย
259

 ชวยผสมสารเคมีเชนคลอรีนที่ใช(ในการทําให(น้ําบริสุทธิ์
 ชวยเพิ่มอัตราการไหลของน้ําลอดผานประตูบานตรงโดยการทําให(เกิดน้ําโจนแทนที่จะทําให(เกิด
การไหลแบบทวมท(ายน้ําด(านหลังประตู
 ชวยไลอากาศในทอสงน้ําเพื่อไมให(เกิดความดันติดลบ (Air locking)

การวิเคราะหเกี่ยวกับปรากฏการณน้ําโจนไมอาจใช(สมการพลังงาน (Energy Equation) เพียงอยาง


เดี ย ว เนื่ องจากมี การสู ญเสี ย พลั งงานไปจํ า นวนหนึ่งซึ่ งไม ทราบค า ดั งนั้ น จึงต( องนํ า สมการโมเมนตั ม
(Momentum Equation) มาใช(รวมในการวิเคราะหด(วย พิ จ ารณาจากปริ ม าตรควบคุ ม (Control
Volume) ที่มีขอบเขตครอบคลุมชวงที่เกิดน้ําโจนที่แสดงไว(ในรูปที่ 6.20

รูปที่ 6.20 ปริมาตรควบคุมสําหรับวิเคราะหปรากฏการณน้ําโจน

จากรูปที่ 6.20 สามารถเขียนสมการโมเมนตัมในแนวนอน (แกน x) สําหรับทางน้ําเปKดหน(าตัดรูป


สี่เหลี่ยมผืนผ(าที่มีความกว(างทางน้ําเทากับ b และอัตราการไหล Q ได(ดังนี้

∑F X = ρ Q (V2 − V1 ) (6.53)

F1 − F2 = ρ Q (V2 − V1 )

1 1
γ by12 − γ by22 = ρQ (V2 − V1 )
2 2

เอา b หารตลอดจะได(
260

1 2 1 2
γ y1 − γ y2 = ρq (V2 − V1 ) (6.54)
2 2

เมื่อ q คืออัตราการไหลตอหนึ่งหนวยความกว(าง q = (Q b)

จากสมการการไหลแบบตอเนื่อง

V1 y1 = V2 y2 = q

q q
หรือ V1 = และ V2 = แทนคาลงในสมการที่ 6.54 จะได(
y1 y2

1 2 1 2 q q
γ y1 − γ y2 = ρq ( − )
2 2 y2 y1

จัดรูปสมการใหมจะได(

y12 − y22 q 2 1 1
= ( − )
2 g y2 y1

y22 y1 y2 q 2
หรือ + − =0 (6.55)
2 2 gy1

จากสมการที่ 6.55 สามารถแก(สมการหาคําตอบได(ดังนี้

y1 y12 q2
y2 = − ± +2
2 4 gy1

เนื่องจากความลึกของน้ํา (y1 และ y2) ต(องเปนบวกเสมอ ดังนั้นจะได(

y1  8V 2 
y2 =  −1 + 1 + 1 
2  gy1 

y2 1 
หรือ = 1 + 8Fr12 − 1 (6.56)
y1 2  

และวิเคราะหในทํานองเดียวกันจะได(ความสัมพันธ
261

y1 1 
= 1 + 8Fr22 − 1 (6.57)
y2 2  

เมื่อ y2 คือความลึกของน้ําหลังจากเกิดน้ําโจน y1 คือความลึกของน้ํากอนเกิดน้ําโจนและ Fr1 คือ ฟรุดนัม


V1
เบอรที่หน(าตัดการไหลที่ 1 (กอนเกิดน้ําโจน) ซึ่ง Fr1 =
gy1

การสูญเสียพลังงานในการเกิดน้ําโจน
สามารถหาค า พลั ง งานการไหลที่ สู ญ เสี ย ไป (Energy Losses, ∆E ) เนื่ อ งจากการเกิ ด
ปรากฏการณน้ําโจนได(จากสมการพลังงานระหวางหน(าตัดการไหลที่ 1 กับหน(าตัดการไหลที่ 2 ได(ดังนี้
q2 q2
y1 + = y 2 + + ∆E (6.58)
2 gy12 2 gy22

g y1 y2 ( y22 − y12 )
จากสมการโมเมนตัมจะได( q = 2
นําไปแทนคาลงในสมการที่ 6.58 และจัด
2 ( y2 − y1 )
รูปสมการที่ 6.58 ใหมจะได(
3
(y − y )
∆E = 2 1 (6.59)
4 y1 y2

ประสิทธิภาพของปรากฏการณน้ําโจน
ประสิทธิภาพของปรากฏการณน้ําโจน คือ อัตราสวนของพลังงานจําเพาะหลังเกิดน้ําโจนตอ
พลังงานจําเพาะกอนเกิดน้ําโจนมีความสัมพันธดังสมการ
3/2
E2
=
( )
8Fr12 +1 - 4Fr12 +1
(6.60)
E1 8Fr12 2+Fr12 ( )
ประสิทธิภาพของน้ําโจนไมมีหนวยและขึ้นอยูกับ Fr1 เทานั้น

ความสูงของปรากฏการณน้ําโจน
ความสูงของปรากฏการณน้ําโจน(hj) คือความแตกตางของความลึกของน้ํากอนเกิด (y1) และความลึกของ
น้ําหลังเกิด (y2) น้ําโจน
h j = y2 − y1 (6.61)
262

ความยาวของปรากฏการณน้ําโจน

สําหรับความยาวของปรากฏการณน้ําโจน(Hydraulic Jump Length, L j ) นั้น เปนคาที่ไมสามารถ


วิเคราะหได(ทางทฤษฎี ต(องหาจากการทดลองเทานั้น โดยทั่วไปถือวาความยาวปรากฏการณน้ําโจนเปน
ระยะทางจากจุดเริ่มเกิดการกระโดดถึงจุดด(านท(ายน้ําที่เริ่มมีความลึกคงที่ และสามารถประมาณได(จาก
สมการตางๆ ดังนี้

 สมการของ Elevatorski L j = 6.9 ( y2 − y1 ) (6.62)


 สมการของ Jain L j = 6 y2 เมื่อ 4.5 < Fr 2 < 13 (6.63)
 สําหรับทางน้ําเปKดรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผ(า วางตัวในแนวราบ Silvester (1964) เสนอให(ประมาณคา
Lj จากสมการดังนี้
L j = 9.75 y1 ( Fr1 − 1)1.01 (6.64)

การแบ2งประเภทของน้ําโจน
สําหรับการไหลแบบเหนือวิกฤตในทางน้ําเปKดที่ไมมีความลาดเท พลังงานของการไหลจะถูกทําลาย
โดยแรงเสี ย ดทานตามพื้ น ทางน้ํ า เป น ผลให( ความเร็ ว ลดลงและความลึ กเพิ่ มขึ้ น ตามทิ ศ ทางการไหล
ปรากฏการณน้ําโจนจะเกิดขึ้นได(ถ(าจํานวนฟรุดนัมเบอร (Froude Number) และความลึกกอนเกิดน้ํา
โจน (ความลึกด(านเหนือน้ํา, y1) และความลึกหลังเกิดน้ําโจน (ความลึกด(านเหนือน้ํา, y2) มีความสัมพันธ
กันดังสมการที่ 6.56 หรือ 6.57 และสามารถแบงประเภทของปรากฏการณการเกิดน้ําโจนบนพื้นราบออก
ได(เปน 5 ประเภทดังรูปที่ 6.21 ได(แก โดยพิจารณาจากคาฟรุดนัมเบอรของการไหลทางด(านเหนือน้ําได(
ดังนี้

 ประเภทที่ 1 (รูปที่ 6.21a) น้ําโจนเปนลอน (Undular Jump) น้ําโจนประเภทนี้มีคาฟรุดนัม


เบอร ระหวาง 1.2 ถึง 1.7 จะมีระลอกของคลื่นวิ่งไปตามผิวน้ํา ผิวหน(าของคลื่นจะไมแตกตัว
การสูญเสียพลังงานจะมีน(อย พลังงานที่สูญเสียจะกระจายสงไปในรูปของความเร็วกลุม (Group
Velocity)
 ประเภทที่ 2 (รูปที่ 6.21b) น้ําโจนอยางออน (Weak Jump) เกิดขึ้นเมื่อการไหลมีจํานวนฟรุดนัม
เบอร ระหวาง 1.7 ถีง 2.5 มีการม(วนตัวตอเนื่องบนผิวน้ํา แตทางด(านท(ายน้ําผิวน้ํายังคง
ราบเรียบ การสูญเสียพลังงานมีมากกวาน้ําโจนประเภทที่ 1 แตถือวายังน(อยอยู
263

 ประเภทที่ 3 (รูปที่ 6.21c) น้ําโจนแบบกวัดแกวง (Oscillating Jump) มีคาของฟรุดนัมเบอรอยู


ระหวาง 2.5 ถึง 4.5 คลื่นจะมีการโยนตัวจากท(องคลองถึงผิวน้ํา เกิดคลื่นขนาดใหญความยาว
คลื่นไมแนนอนและคลื่นนี้เคลื่อนที่ไปได(ไกล เปนผลทําให(เกิดการกัดเซาะคันดิน และหินเรียงที่
อยูท(ายของอาคาร การสูญเสียพลังงานมีมากถึง 45 เปอรเซ็นตของพลังงานกอนเกิดน้ําโจน
 ประเภทที่ 4 (รูปที่ 6.21d) น้ําโจนแบบทรงตัวมั่น (Steady Jump) มีคาของฟรุดนัมเบอรอยู
ระหวาง 4.5 ถึง 9.0 เปนน้ําโจนที่รุนแรงแตมีรูปรางมั่นคง เกิดการม(วนตัวอยางเต็มที่ การสูญเสีย
พลังงานจะอยูระหวาง 45 ถึง 70 เปอรเซ็นต น้ําโจนแบบนี้เปนที่ต(องการในการออกแบบอาคาร
สลายพลังงานหรืออางพักน้ํา
 ประเภทที่ 5 (รูปที่ 6.21e) น้ําโจนแบบรุนแรงมีคาฟรุดนัมเบอรมากกวา 9.0 เนื่องจากกระแสน้ํา
มีความเร็วสูง จะกอให(เกิดการม(วนตัวที่ผิวน้ํา เกิดคลื่นทางด(านท(ายน้ําและผิวน้ําไมราบเรียบ
อยางมากมีการสูญเสียพลังงานสูงถึง 85 เปอรเซ็นต

a)

b)

รูปที่ 6.21 การเกิดปรากฏการณน้ําโจนประเภทตาง ๆ


264

c)

d)

e)

รูปที่ 6.21 (ตอ)


265

ตัวอย2างที่ 6.12 อาคารน้ําตกหน(าตัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(ากว(าง 8 m มีอัตราการไหล 84 m3/s หลังจากไหล


ผานอาคารลงมาในแนวราบจะเกิดน้ําโจนโดยสามารถวัดความลึกหลังเกิดน้ําโจนได(เทากับ 2.5 m จงหา
ความลึกการไหลและฟรุดนัมเบอรกอนเกิดน้ําโจนพลังงานที่สูญเสียไปหลังจากเกิดน้ําโจนและตรวจสอบ
วาน้ําโจนจัดอยูในประเภทใด
วิธีทํา คุณสมบัติของทางน้ํา
 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A 2 = 8 × 2.5 = 20 m 2
Q 84
 ความเร็วการไหล, V2 = = = 4.2 m/s
A2 20
 ความลึกชลศาสตร, D = 2.5 m สําหรับทางน้ํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ(าความลึกชลศาสตร (D) เทากับ
ความลึกการไหล (y)
V 4.2
 ฟรุดนัมเบอร, Fr2 = = = 0.85 เปนการไหลต่ํากวาวิกฤต
gD 2.5g
y1 1
จากสมการที่ 6.50 =
y2 2
( 1 + 8 Fr22 − 1 )
2.5
y1 =
2
( 1+8×0.852 -1 = 2 m )
ตอบ ความลึกการไหลกอนเกิดน้ําโจนเทากับ 2 m
ตรวจสอบการไหลที่หน(าตัดที่ 1 (กอนเกิดน้ําโจน)
 พื้นที่หน(าตัดการไหล, A 2 = 8 × 2.0 = 16 m 2
Q 84
 ความเร็วการไหล, V2 = = = 5.25 m/s
A2 16
 ความลึกชลศาสตร, D = 2.0 m
V 5.25
 ฟรุดนัมเบอร, Fr2 = = = 1.2 เปนการไหลสูงกวาวิกฤต
gD 2.0g
ตอบ น้ําโจนเปนแบบประเภทที่ 1 (รูปที่ 6.21a) ซึ่งมีลักษณะผิวน้ําโจนเปนลอน (Undular jump) และมี
ระลอกของคลื่นวิ่งไปตามผิวน้ํา ผิวหน(าของคลื่นจะไมแตกตัว
พลังงานที่สูญเสียไปหลังจากเกิดน้ําโจนหาได(จากสมการ
3

∆E =
( y2 − y1 )
4 y1 y2
3

ΔE =
( 2.5-2.0 ) = 6.25×10-3 m ตอบ
4×2.5×2.0
266

การวัดอัตราการไหลในทางน้ําเป5ด (Flow measurement in open channel)


การวั ดอั ต ราการไหลในทางน้ํา เปK ดมั กจะวั ด ความเร็ว ของกระแสน้ํ า ซึ่ งมั กจะใช(เ ครื่ องมื อวั ด
ความเร็วที่มีโดยทั่วไปเชน เครื่องมือวัดความเร็วกระแสน้ําแบบถ(วยหรือเครื่องมือวัดความเร็วกระแสน้ํา
ด( ว ยอิ ล็ กทรอนิ คก จากนั้ น นํ า ความเร็ ว เฉลี่ ย ที่ ได( แต ล ะหน( า ตั ด มาคู ณด( ว ยพื้ น ที่ ห น( า ตั ด ก็ จ ะสามารถ
คํานวณหาอัตราการไหลที่ผานหน(าตัดทางน้ํานั้น ๆ ได( หรืออีกวิธีหนึ่งคือการใช(โครงสร(างสร(างขวางทาง
น้ําเพื่อทําให(คุณสมบัติของการไหลเปลี่ยนไป และทําการวิเคราะหหาสมการหาอัตราการไหล อาคารที่
สร(างขวางทางน้ําและใช(ในการวัดอัตราการไหลที่นิยมคือฝาย
ฝาย (Weir) คือสิ่งกอสร(างขวางการไหลของน้ําในทางน้ําเปKด โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ
ยกระดับน้ําทางด(านเหนือน้ําให(สูงขึ้น และยอมให(น้ําสวนหนึ่งจะไหลล(นข(ามสันฝาย ฝายมีหลายประเภท
ด(วยกันทั้งนี้ขึ้นอยูกับรูปแบบและลักษณะการใช(งาน ในที่นี้จะกลาวถึงฝายสันคม (Sharp-Crested Weir)
คือฝายน้ําล(นที่มีความหนาไมมาก หรือมีอัตราสวนระหวางระดับพลังงานการไหลด(านเหนือน้ํา (E) ตอ
ความหนาของฝาย (t) มากกวา 15 เทา (E/t > 15, รูปที่ 6.22) ฝายถูกติดตั้งในแนวดิ่งตั้งฉากกับทิศ
ทางการไหลในทางน้ําเปKดเพื่อให(น้ําที่ล(นสันฝายไหลพุงเปนแผนน้ํา (Nappe) อยางชัดเจน โดยสามารถหา
อัตราการไหลได(เมื่อรู(ระดับน้ําเหนือสันฝาย (H)

รูปที่ 6.22 การไหลของน้ําผานฝายสันคม

โดยทั่วไปความหนาของสันฝาย (The crest thickness, ตําแหนงตรงยอดสุดของฝาย) มีคาน(อย


กวา 2 mm ดังนั้นฝายสันคมที่นิยมโดยทั่วไปมี 3 ลักษณะด(วยกันคือ ฝายรูปสามเหลี่ยม (Triangular
weir) ฝายรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า (Rectangular weir) และฝายรูปสี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal weir) ดัง
รูปที่ 6.23
267

รูปที่ 6.23 รูปแบบของฝายสันคม


การหาอัตราการไหลผ2านฝายสันคม
ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะการหาอัตราการไหลทางทฤษฎีผานฝายสันคมเฉพาะฝายสันคมที่มีรูปราง
สี่เหลี่ยมและรูปรางสามเหลี่ยม ซึ่งเปนรูปรางฝายสันคมที่นิยมใช(ในการวัดอัตราการไหลโดยทั่วไป
ฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม

รูปที่ 6.24 การไหลผานฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม

หากพิจารณาสมการพลังงานระหวางตําแหนงที่ 1 และ 2 ดังรูปที่ 6.24 โดยอาศัยสมการของ Bernoulli


ที่มีสมมติฐานวาไมมีการสูญเสียพลังงานการไหลระหวางตําแหนงที่ 1 และตําแหนงที่ 2 จะได(

P1 V12 P V2
Z1 + + = Z2 + 2 + 2 (6.65)
γ 2g γ 2g

เมื่อ Z1 คือระดับอ(างอิงในตําแหนงที่ 1 Z2 คือระดับอ(างอิงในตําแหนงที่ 2 P1 คือความดันในตําแหนงที่ 1


268

P2 คือ ความดันในตําแหนงที่ 2 V1 คือ ความเร็วในตําแหนงที่ 1 V2 คือ ความเร็วในตําแหนงที่ 2 γ คือ


ความน้ํ า หนั กจํ า เพาะของของไหล g คื อ ความเร งเนื่ องจากแรงโน( มถ วงของโลก จากสมการที่ 6.65
สามารถกําหนดเงื่อนไขในการคํานวณได(ดังนี้
 การไหลเปนแบบอิสระ (free Flow) ไมมีการรบกวนการไหลด(านท(ายน้ํา (Downstream)
 ความเร็วการไหลที่ตําแหนงที่ 1 หากนํามาเปรียบเทียบกับความเร็วที่ตําแหนงที่ 2 ถือวามีคาน(อย
มากดังนั้นจึงพิจารณาความเร็วการไหลที่ตําแหนงที่ 1 มีคาเทากับ 0
 ความลึกการไหลที่ตําแหนงที่ 2 มีคาน(อยจนทําให(ความดันที่ตําแหนงที่ 2 (P2) มีคาเข(าใกล(ความ
ดันบรรยากาศ ดังนั้นหากพิจารณาเปนความดันเกจ P2 มีคาเทากับ 0

สมการที่ 6.65 กลายเปน

P1 02 0 V22
Z1 + + = Z2 + +
γ 2g γ 2g

P1
หากพิจารณารูปที่ 6.22 พบวา Z1 + มีคาเทากับ P+h เพราะฉะนั้นจะได(
γ

V22
P + h = Z2 +
2g

V22
หรือ = P + h − Z2 = y โดยที่ y = P + h − Z2 (จากรูปที่ 6.24)
2g

จะได(

V2 = 2 gy (6.66)

เมื่อ V2 คือความเร็วการไหลที่สันฝาย (ตําแหนงที่ 2 ในรูป 6.24) g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(ม


ถวงของโลก y คือความลึกจากผิวน้ําที่วัดลงมาในแนวดิ่งมายังจุดที่ต(องการทราบคาความเร็วที่สันฝาย
(ข(อสังเกตความลึก y นี้ไมควรวัด ณ. ตําแหนงสันฝาย แตควรวัดที่หางออกไปทางด(านเหนือน้ําประมาณ
3-4 เทาของความลึกที่มากที่สุดที่ไหลข(ามสันฝาย หากพิจารณารูป 6.23 (b) พบวาอัตราการไหล (dQ) ที่
ไหลผานพื้นที่หน(าตัด dA มีคาเทากับ VdA ดังสมการ
269

dQ = V2 dA (6.67)

จากรูปที่ 6.23 (b) จะได( dA = bdy และจากสมการที่ 6.60 V2 = 2 gy แทนคาลงในสมการที่ 6.67


จะได(

dQ = 2 gy (bdy ) (6.68)

หากต(องการทราบคาอัตราการไหลที่ไหลผานหน(าตัดฝายทั้งหมดสามารถทําได(โดยการอินทิเกรต
สมการที่ 6.68 จากสันฝายถึงความลึกของน้ําที่มากที่สุด (h)
h
Q = ∫ 2 gy (bdy )
o
h
 y 3/ 2 
Q = b 2g  
 3 / 2 o

2
Q= 2 gybh3/ 2 (6.69)
3

เมื่อ Q คืออัตราการไหลทางทฤษฎีของการไหลผานฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม b คือความกว(างของ


ฝาย h คือความลึกของน้ําที่วัดจากสันฝายในแนวดิ่ง วัดตรงตําแหนงหางออกไปทางด(านเหนือน้ํา
ประมาณ 3-4 เทาของความลึก h g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก สมการที่ 6.69 สามารถ
ใช(ได(เฉพาะกรณีที่การไหลเปนแบบอิสระ และไมคิดการสูญเสียพลังงานระหวางการไหล อยางไรก็ตาม
หากคิดการสูญเสียพลังงานระหวางการไหล จําเปนต(องปรับแก(สมการโดยการคูณคาสัมประสิทธิ์เข(าไป
ซึ่งได(แกสัมประสิทธิ์การไหลผานฝาย (Discharge coefficient, CD) ดังสมการ
2
Q= C D 2 g bh 3 / 2 (6.70)
3
270

ฝายสันคมรูปสามเหลี่ยม (รูปตัววี)

รูปที่ 6.25 การไหลผานฝายสันคมรูปสามเหลี่ยม

จากหลักการเดียวกับการวิเคราะหการหาความเร็วการไหลผานฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยมจะได(

V2 = 2 gy (6.71)

เมื่อ V2 คือ ความเร็วการไหลที่สันฝาย (ตําแหนงที่ 2 ในภาพที่ 6.25) g คือ ความเรงเนื่องจาก


แรงโน(มถวงของโลก y คือความลึกจากผิวน้ําที่วัดลงมาในแนวดิ่งมายังจุดที่ต(องการทราบคาความเร็วที่สัน
ฝาย (ข(อสังเกตความลึก y นี้ไมควรวัด ณ. ตําแหนงสันฝาย แตควรวัดที่หางออกไปทางด(านเหนือน้ํา
ประมาณ 3-4 เทาของความลึกที่มากที่สุดที่ไหลข(ามสัน หากพิจารณารูปที่ 6.24 (b) พบวาอัตราการไหล
(dQ) ที่ไหลผานพื้นที่หน(าตัด dA มีคาเทากับ VdA ดังสมการ

dQ = V2 dA (6.72)

จากรูปที่ 6.25b จะได( dA = 2(h − y ) tan(θ 2)dy และจากสมการที่ 6.71 V2 = 2 gy แทนคาลงใน


สมการที่ 6.72 จะได(

dQ = 2(h − y ) tan(θ 2) 2 gy dy

h
Q = 2 tan (θ 2 ) 2 g ∫ (h − y ) ydy
0

h
θ   hy 3 / 2 y 5 / 2 
Q = 2 tan   2 g  − 
2  3 / 2 5 / 2 0
271

θ  4
Q = 2 tan   2 g h 5 / 2
2 15

8 θ 
Q= tan   2 g h 5 / 2 (6.73)
15  2 

เมื่อ Q คืออัตราการไหลทางทฤษฎีของการไหลผานฝายสันคมรูปสามเหลี่ยม θ คือมุมบากของ


ฝาย h คื อ ความลึ ก ของน้ํ า ที่ วั ด จากสั น ฝายในแนวดิ่ ง วั ด ตรงตํ า แหน ง ห า งออกไปทางด( า นเหนื อ น้ํ า
ประมาณ 3-4 เทาของความลึกที่มากที่สุดที่ไหลข(ามสันฝาย g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก
ในทํานองเดียวกันกับการไหลผานฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม สมการที่ 6.73 สามารถใช(ได(เฉพาะกรณีที่การ
ไหลเปนแบบอิสระ และไมคิดการสูญเสียพลังงานระหวางการหากคิดการสูญเสียพลังงานระหวางการไหล
จําเปนต(องปรับแก(สมการโดยการคูณคาสัมประสิทธิ์การไหล (CD) เข(าไป ดังสมการ
8 θ 
Q= C D tan   2 g h 5 / 2 (6.74)
15 2
ในทางปฏิบัติหากต(องการนําฝายไปใช(งานจําเปนต(องสอบเทียบหาคาสัมประสิทธิ์การไหลผาน
ฝายกอน โดยการวัดอัตราการไหลผานฝายที่ความลึกการไหลเหนือสันฝายคาตาง ๆ และนําคาดังกลาวมา
เปรียบเทียบกับอัตราการไหลทางทฤษฎี ก็จะได(คาสัมประสิทธิ์การไหล (CD) ได(ดังสมการ

กรณีฝายสันคมรูปสี่เหลี่ยม
Qmeasure
CD = (6.75)
2
2 g bh 3 / 2
3
เมื่อ CD คือสัมประสิทธิ์ของการไหลผานฝาย Qmeasure คืออัตราการไหลที่เกิดจากการวัด b คือ
ความกว(างของฝาย h คือความลึกของน้ําที่วัดจากสันฝายในแนวดิ่งวัดตรงตําแหนงหางออกไปทางด(าน
เหนือน้ําประมาณ 3-4 เทาของความลึก h g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก
กรณีฝานสันคมรูปสามเหลี่ยม
Qmeasure
CD = (6.76)
8 θ 
tan   2 g h 5 / 2
15 2
เมื่อ CD คือ สัมประสิทธิ์ของการไหลผานฝาย Qmeasure คือ อัตราการไหลที่เกิดจากการวัด θ
คือมุมบากของฝาย (degree) h คือความลึกของน้ําที่วัดจากสันฝายในแนวดิ่ง วัดตรงตําแหนง
หางออกไปทางด(านเหนือน้ําประมาณ 3-4 เทาของความลึก h g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของ
โลก
272

การไหลลอดผ2านประตูบานตรง (Flow through sluice gate)


ประตูควบคุมน้ําชนิดบานตรง (Sluice Gate) เปนประตูน้ําที่มีบานประตูเปนแผนเรียบ ใช(ติดตั้ง
ขวางทางเดินของน้ําดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 6.26 เพื่อประโยชนในการควบคุมระดับน้ํา (Flow Control)
และ/หรือ การวัดปริมาณน้ํา (Flow Measurement) ซึ่งปริมาณน้ําที่ไหลลอดประตูขึ้นอยูกับ ขนาดของ
ชองเปKดใต(บานประตูที่ยอมให(น้ําไหลผาน และชนิดของการไหล (Flow Regime) ที่ผานประตู และถูก
กํ า หนดโดยระดั บ น้ํ า ทางด( า นเหนื อ น้ํ า (Upstream) และท( า ยน้ํ า (Downstream) ของประตู ด( ว ย
โดยทั่วไปแล(ว ชนิดของการไหลผานประตูมีอยูด(วยกันสองประเภทด(วยกัน คือ การไหลแบบอิสระ (Free
Flow) และ การไหลแบบทวมหรือจม (Submerged Flow) โดยรายละเอียดทางทฤษฎีและสมการที่
เกี่ยวข(องกับการทดลองครั้งนี้ สามารถแสดงได(ดังตอนี้

รูปที่ 6.26 ประตูควบคุมน้ําชนิดบานตรง


273

การไหลแบบอิสระ (Free Flow Regime)


การไหลแบบอิสระ หมายถึง การไหลในลักษณะที่ลําน้ํา (Jet) ที่พุงลอดประตูออกมาไมมีสิ่งใดมา
กดทับมันอยู ผิวบนของลําน้ําสัมผัสกับอากาศ จึงมีความดันเทากับความดันบรรยากาศ ซึ่งโดยทั่วๆ ไป
แล(ว ในสภาพการไหลแบบอิสระ สภาวะการไหลของน้ําที่ตําแหนงเหนือประตูจะมีสภาวะการเปนแบบต่ํา
กวาวิกฤต (Subcritical Flow) โดยมีคาฟรุดนัมเบอรน(อยกวา 1 และที่ตําแหนงท(ายประตูจะเปนแบบสูง
กวาวิกฤต (Supercritical Flow) โดยมีคาฟรุดนัมเบอรมากกวา 1 สําหรับการไหลแบบอิสระเรามักจะ
สมมติวาพลังงานที่สูญเสียจากการไหลมีคาน(อยมาก เราจึงสามารถแปลงสมการ Bernoulli มาใช(ในการ
คํานวณหาลักษณะการไหลได( ดังนี้ จากรูปที่ 6.27 เมื่อพิจารณาระหวางหน(าตัดการไหลที่ 1 ซึ่งอยูหน(า
บานประตูน้ําเปนระยะพอสมควรและแนวหน(าตัดที่ 2 อยูหลังประตูน้ําตรงที่เรียกวา Vena Contracta
โดยถือวาในการที่น้ําไหลจากหน(าตัดที่ 1 ไปยังหน(าตัดที่ 2 ไมมีการสูญเสียพลังงาน ดังนั้นสามารถเขียน
สมการ Bernoulli ตามกฎอนุรักษพลังงานได(ดังนี้

V12 V2
z1 + y1 + = z 2 + y2 + 2 (6.77)
2g 2g

เมื่อระดับท(องน้ําไมเปลี่ยนแปลง ( z1 = z 2 ) และการไหลรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า V = q เมื่อ q คืออัตราการ


y
ไหลตอหนึ่งหนวยความกว(าง ดังนั้น

q2 q2
y1 + = y 2 + (6.78)
2 g y12 2 g y 22

2g 1
q = y1 y 2 = y2 2 g y1
y1 + y 2 y
1+ 2
y1

ถ(ากําหนดให( y 2 = Cc w โดยที่ Cc คือ คาสัมประสิทธิ์การบีบหดตัว (Contraction Coefficient) และ


w คือ ระยะยกของบานประตู สมการ 6.78 จะสามารถเขียนได(ดังนี้

1
q = Cc w 2 g y1 (6.79)
w
1 + Cc
y1

1
และถ( า สมมติ ใ ห( C d = Cc โดยที่ Cd คื อ ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ อั ต ราการไหล (Discharge
w
1 + Cc
y1
274

Coefficient) สมการที่ 6.79 จะสามารถเขียนใหมได(เปน

q == C d w 2 g y1 (6.80)

ดังนั้นสําหรับรูปตัดการไหลสี่เหลี่ยมผืนผ(า Q = qb ดังนั้นอัตราการไหลภายใต(สภาพการไหล
อิสระ (Free Flow Discharge, Q f ) ที่ไหลลอดใต(ประตูควบคุมน้ําบานตรงรูปตัดการไหลสี่เหลี่ยมผืนผ(า
จึงสามารถคํานวณได(จาก

Q f = C d wb 2 g y1 (6.81)

จากสมการที่ 6.81 จะเห็นวา คา Cd ขึ้นอยูกับชนิดของบานประตูจากคา Cc และระยะยกบาน


w
ประตูแและระดั
ละระดับน้ําเหนือประตูจาก
ากคา แตเนื่องจากคา Cc สําหรับประตูแตละบานไมเปลี่ยนแปลง
y1
w
มากนัก โดยทั่วๆ ไป ถ(าขอบลางบานประตูปาดเปนขอบคมคา Cc จะมีคาประมาณ 0.60 ดังนั้นคา
y1
จึงมีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงคาของ Cd มากกวา

รูปที่ 6.27 ลักษณะการไหลแบบอิสระ


275

การไหลแบบจม (Submerged Flow Regime)


ในการไหลแบบจม (Submerged Flow) นั้น ลําน้ําที่พุงลอดประตูออก y 2 มาจะปะทะและถูก
กดทับให(จมลงด(วยน้ําทางด(านท(ายบานประตูด(วยความลึกการไหล y 3 ดังแสดงในรูปที่ (6.28) มีผลทําให(
ความดันที่กดบนผิวด(านบนของลําน้ําที่ลอดผานประตูออกมาจะไมเทากับบรรยากาศ น้ําสวนที่กดทับอยูนี้
จะไหลวนเวียนขึ้นลงไปมาไมมีทิศทางที่แนนอน มักจะเรียกวา Vortex หรือ Eddy Current ซึ่งโดยทั่วๆ
ไปแล( ว สภาวะการไหลของน้ํ า ที่ตํ า แหน งเหนื อและท( า ยประตู จ ะมีส ภาวะแบบใต( วิกฤต (Subcritical
Flow) การไหลแบบจมนั้นมีการสูญเสียพลังงานการไหลมาก เนื่องจากความปMîนปñวนของกระแสน้ํา
ทางด(านท(ายน้ําที่เกิดขึ้น ในการวิเคราะหจึงไมสามารถพิจารณาแตเพียงสมการ Bernoulli แตเพียงอยาง
เดียว จําเปนต(องนําสมการ Momentum มารวมในการวิเคราะหด(วย สงผลให(การวิเคราะหสมการของ
การไหลแบบจมมีความยุงยากกวาการไหลแบบอิสระมาก
อยางไรก็ตามในทางปฏิบัติ ได(มีการนําสมการ (6.81) มาดัดแปลง เพื่อประยุกตใช(กับการไหล
แบบจม โดยใช(ความแตกตางของระดับน้ําทางด(านหน(าและด(านท(าย ( y1 − y3 ) ของประตูน้ําลงไปใน
สมการแทนคา y 1 และจะได(สมการสําหรับอัตราการไหลแบบจมของการไหลลอดผานประตูบานตรงได(
ดังนี้
Q s = C d wb 2 g ( y1 − y 3 ) (6.82)

y1
y2 y3

รูปที่ 6.28 ลักษณะการไหลแบบจม


w
สําหรับคา Cd ในกรณีการไหลแบบจม นอกจากจะขึ้นอยูกับ ดังเชนในกรณีการไหลแบบ
y1
y3
อิสระแล(ว ยังขึ้นอยูกับ อีกด(วย ซึ่ง Henry (1950) ได(แสดงคา Cd สําหรับประตูควบคุมน้ําชนิดตรง
w
ไว( ดังรูปที่ 6.29
276

รูปที่ 6.29 สัมประสิทธิ์อัตราการไหล

จะเห็นวาการประยุกตใช(สมการ (6.82) นั้นมีความยุงยากมากกวาสมการ (6.81) ดังนั้นจึงได(มี


การดัดแปลงสูตรที่ใช(ในการประมาณคาอัตราการไหลในกรณีการไหลแบบจม ดังแสดงในสมการที่ (6.82)
ซึ่งใช(สําหรับในกรณีไหลลอดประตูควบคุมรูปหน(าการไหลตัดสี่เหลี่ยมผืนผ(า

Q s = C s y 3b 2 g ( y1 − y 3 ) (6.83)
β
w
C s = α   (6.84)
 y3 

จากสมการที่ 6.84 คาพารามิเตอร α , β เปนคาเฉพาะที่ขึ้นอยูกับลักษณะการติดตั้งบานประตู


ซึ่งสามารถหาได(จากการทดลองและโดยทั่วๆ ไปแล(วคา β จะมีคาใกล(เคียงกับ 1 ซึ่งถ(า β = 1
277

แบบฝ_กหัดท.ายบท

1. คลองสี่เหลี่ยมคางหมูมีความกว(างก(นคลอง (b) เทากับ 2 m ความลาดเทตลิ่งแนวดิ่งตอแนวราบ


เทากับ 1 ตอ 1.5 ความลึกปกติเทากับ 2.5 m คาสัมประสิทธิ์ของแมนนิ่งเทากับ 0.015 และความ
ลาดเทท(องคลองเทากับ 1 ตอ 2,000 จงหาอัตราการไหลและตรวจสอบวาสภาวะการไหลในคลอง
เปนประเภทใด
2. ในทางน้ํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ(า ถ(าปริมาณการไหลทําให(เกิดความลึกทดแทน (Alternate Depth)
เทากับ 3 m และ 1 m ตามลําดับจงหาความลึกวิกฤตของการไหล
3. คลองรูปสี่เหลี่ยมผืนผ(ามีความกว(าง 2.5 m ถ(าที่หน(าตัดแหงหนึ่งมีพลังงานจําเพาะ (Specific
Energy) มีคาเทากับ 3 m จงหาอัตราการไหลสูงสุดที่สามารถไหลผานหน(าตัดแหงนี้ได(
4. ทางน้ําตัดวงกลม มีเส(นผานศูนยกลาง 2 m ถ(าหน(าตัดแหงหนึ่งเกิดการไหลแบบวิกฤต จะมีความลึก
เทากับ 1.2 m จงหาอัตราการไหลในทางน้ํานี้
5. คลองหน(าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ(าที่มีความกว(างมากๆ ถ(ามีความลึกของการไหลปกติเพิ่มขึ้นจากเดิม 30%
จงหาวาอัตราการไหลจะเพิ่มขึ้นกี่เปอรเซ็นตโดยประมาณ
6. ทางน้ําหน(าตัดวงกลมเส(นผานศูนยกลาง 3 m ความลาดเทท(องทอ 1 ตอ 2,000 และสัมประสิทธิ์
ของแมนนิ่งเทากับ 0.015 ทางน้ํานี้สามารถระบายน้ําได(สูงสุดเทาไร
7. ทางน้ํารูปตัววี มีความลาดเทด(านข(างทํามุม 30 องศากับแนวระนาบ อัตราการไหลในทางน้ํา 1,573
L/s จงหาความลึกวิกฤตในทางน้ําสายนี้
8. คลองรู ปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 3 m ณ. หน้ าตัดแห่งหนึง ได้ ติดตังประตู
! บานตรง เมืออัตราการไหล
8 m3/s ไหลลอดประตูทําให้ เกิดนํ !ากระโดด้ านท้ ายประตู ความลึกหลังเกิดน้ําโจนมีคา่ เท่ากับ 2 m
การไหลลอดใต้ ประตูไม่มีการสูญเสียพลังงาน จงหาค่าความลึกก่อนเกิดนํ !าโจน
9. ทางนํ !าหน้ าตัดวงกลมเส้ นผ่าศูนย์กลาง 3 m ถ้ าอัตราการไหลเท่ากับ 22 m3/s จงหาพลังงาน
จําเพาะทีมีคา่ น้ อยสุดทีทําให้ อตั ราการไหล 22 m3/s ไหลผ่านได้
10. ท่อระบายนํ !ามีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 3 m และมีนํ !าไหลครึงท่อ ถ้ านํ !าไหลด้ วยความเร็ ว 5 m/s
สภาวะการไหลในท่อประเภทใด
11. ท่อระบายนํ !ามีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2 m จงหาความเร็ ววิกฤต เมือความลึกวิกฤตเท่ากับ 1 m
278

12. ทางนํ !าเปิ ดหน้ าตัดสีเหลียมผืนผ้ ามีความกว้ าง 4 m สัมประสิทธิ9ความขรุขระของแมนนิง 0.018


ความลาดเทท้ องคลอง 0.0088 ถ้ าอัตราการไหล 28 m3/s จงหา
a. ความลึกวิกฤต
b. ความลึกปกติ
c. ความลาดเทท้ องคลองเป็ น Mild slope หรื อ Critical slope หรื อ Steep slope
d. จงหาค่าของ Critical slope ทีทําให้ อตั ราการไหลปกติในทางนํ !าเปิ ดเท่ากับ 28 ลบ.
ม./วินาที
13. ในคลองสีเหลียมผืนผ้ าทีมีความกว้ าง 3 m ถ้ าเกิดการไหลวิกฤตและความลึกวิกฤตเท่ากับ 1.5 m
จงหาอัตราการไหลในคลองสายนี !
14. คลองสีเหลียมผืนผ้ ามีความกว้ าง 2.5 m และอัตราการไหล 5 m3/s จงหาพลังงานจําเพาะทีมีคา่
น้ อยทีสดุ ทียงั คงทําให้ อตั ราการไหลเท่ากับ 5 m3/s ไหลผ่านหน้ าตัดคลองนี !ได้
15. นํ !าไหลจากทะเลสาบเข้ าสู่คลองหน้ าตัดสีเหลียมผืนผ้ า กว้ าง 3 m คลองมีความลาดเท 0.0016
และค่าสัมประสิทธิ9แมนนิงเท่ากับ 0.018 ปากคลองไม่มีประตูระบายควบคุม และระดับนํ !าใน
ทะเลสาบอยูส่ งู กว่าพื !นตรงปากคลองอยู่ 2.85 m จงหาอัตราการไหลจากทะเลสาบเข้ าสูค่ ลอง
16. ในรูปเป็ นคลองสายหนึง ทีมีนํ !าล้ นตลิงอยู่ 1.5 m ถ้ าค่าสัมประสิทธิ9ความขรุขระของคลองหลัก
เท่ากับ 0.02 และค่าสัมประสิทธิ9ความขรุขระของพื !นทีริมตลิงทีถกู นํ !าท่วม เท่ากับ 0.04 และความ
ลาดเทของท้ องคลองและพื !นทีริมตลิงมีคา่ เท่า 0.001 จงประมาณหาค่าอัตราการไหลทังหมด
!
17. ในรูปเป็ นคลองสายหนึง ทีมีนํ !าล้ นตลิงอยู่ 1.5 m ถ้ าสัมประสิทธิ9ความขรุขระของคลองเท่ากับ
0.03 และค่าสัมประสิทธิ9ความขรุขระของพื !นทีริมตลิงทีถกู นํ !าท่วมเท่ากับ 0.04 ความลาดเทของ
ท้ องคลองและพื !นทีริมตลิง มีคา่ เท่ากับ 0.0002 จงประมาณหาค่าอัตราการไหลทังหมด
! และค่า
สัมประสิทธิ9ความขรุขระสัมพัทธ์ (Equivalent Roughness Coefficient, ตอบทศนิยม 4
ตําแหน่ง)
18. ชุมชมแห่งหนึง มีพื !นที 60 km2 ความหนาแน่นของประชากร 6,500 person per km2 ปริ มาณนํ !า
ทีใช้ ประจําวันทีแต่ละคนต้ องใช้ 240 L จากการศึกษาพฤติกรรมการใช้ นํ !าพบว่าการใช้ นํ !าพบว่า
การใช้ นํ !าจะเกิดขันสู
! งสุดในช่วงเช้ า เวลา 06.00-07.00 น. และคิดเป็ นปริ มาณนํ !าเท่ากับ 20%
279

ของปริ มาณนํ !าใช้ ทงวั


ั ! น จงออกแบบคลองคอนกรี ต (n=0.015) เพือนํานํ !าจากแหล่งนํ !ามาสูโ่ รงทํา
นํ !าประปาของชุมชน โดยขนาดคลองต้ องมีปริ มาณนํ !าเพียงพอกับการใช้ นํ !าในช่วงเวลาทีมีการใช้
นํ !าสูงสุด
19. ออกแบบคลองหน้ าตัดสีเหลียมคางหมูทีมีคณ
ุ สมบัตดิ ีทีสดุ ทางชลศาสตร์ (Best Hydraulic
Section) โดย n=0.016 และ S=0.0008
20. ออกแบบคลองหน้ าตัดสีเหลียมผืนผ้ าทีมีคณ
ุ สมบัติทีดีทีสดุ ทางชลศาสตร์ โดย n=0.016 และ
So=0.0008
21. นํ !าไหลจากทะเลสาบเข้ าสู่คลองรูปสามเหลียม ซึง มีความลาดเทด้ านข้ าง (Side Slope) เท่ากับ
1:2 ความลาดเทท้ องคอลง 0.015 และค่า n=0.02 ถ้ าระดับนํ !าในทะเลสาบอยูส่ งู เหนือก้ นคลอง
ตรงปากทางอยูเ่ ท่ากับ 3.2 m จงหา
a. ปริ มาณนํ !าทีไหลเข้ าคลองสายนี !
b. ความลาดเทวิกฤตของคลองสายนี ! ควรจะมีคา่ เท่ากันเท่าไร เมือปริ มาณการไหล
เท่ากับค่าในข้ อ a
22. ทางนํ !ารูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 4 m มีอตั ราการไหล 25 m3/s พื !นมีการลดระกับทีหน้ าตัดที 1 และ
ทําให้ เกิดนํ !าโจนขึ !นด้ านท้ ายนํ !า (ทีหน้ าตัดที 2 และความลึกหลังเกิดนํ !าโจน(ทีหน้ าตัดที 3 ) มีคา่
เท่ากับ 2.06 m การลดระดับพื !นทําให้ มีการสูญเสียพลังงานระหว่างหน้ าตัดที 1 และ 2 เท่ากับ
V22
0.1 จงหาความสูงของพื !นทีลดระดับลง ∆Z
2g
23. ทางนํ !ารูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 4 m เมือการไหลทําให้ เกิดความลึกสลับ เท่ากับ 3.86 และ 1 m
ตามลําดับ จงหาอัตราการไหล
24. ทางนํ !ารูปสามเหลียมหน้ าจัว มีลาดตลิงทํามุม 45 องศา กับแนวราบ เมือเกิดการไหลแบบวิกฤต
ทําให้ เกิดความลึกเท่ากับ 1.2 m จงหาอัตราการไหลผ่านทางนํ !าสายนี !
25. ทางนํ !ารูปสีเหลียมผืนผ้ า เมือเกิดการไหลแบบสูงกว่าวิกฤต (Supercritical Flow) ทําให้ ฟรุดนัม
เบอร์ เท่ากับ 2 และความลึกเท่ากับ 0.63 m จงหาความลึกวิกฤตในทางนํ !าสายนี !
280

26. ทางนํ !าหน้ าตัดวงกลม มีเส้ นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 1.8 m เมือเกิดการไหลวิกฤตจะมีอตั ราการไหล


เท่ากับ 4.2 m3/s จงหาค่าความลึกวิกฤต
27. ทางนํ !าหน้ าตัดวงกลม มีเส้ นผ่าศูนย์กลาง 2 m ความลาดเทท้ องท่อ 1 ต่อ 1,000 และสัมประสิทธิ9
ความขรุขระ เท่ากับ 0.016 เมือเกิดการไหลปกติ ทางนํ !าสายนี !สามารถระบายนํ !าได้ สงู สุดเท่าไร
และมีความลึกเท่าไหร่
28. ทางนํ !ารูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 0 m มีอตั ราการไหล 3.0 m3/s สัมประสิทธิ9ความขรุ ขระของแมน
นิง 0.016 จงหาความลาดชันวิกฤต (Critical Slope) ของทางนํ !าสายนี !
29. ทางระบายนํ !าวงกลมทําด้ วยคอนกรี ต มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.5 m สัมประสิทธิ9ความขรุขระของ
แมนนิง 0.014 และความลาดเทตามยาวของท้ องท่อ 1 ต่อ 200 ถ้ าความลึกการไหลเท่ากับ 1.5
m จงหาอัตราการไหลปกติ
30. ในทางนํ !าหน้ าตัดสีเหลียมผืนผ้ า ถ้ าความลึกการไหลเท่ากับ 1.5 m และ ฟรุ ดนัมเบอร์ เท่ากับ
0.73 ค่าพลังงานจําเพาะมีคา่ เท่ากับเท่าไร
31. ในการออกแบบท่อระบายนํ !า ต้ องการระบายนํ !าได้ สงู สุด 8 m3/s ความลาดเทตามยาวของท้ อง
ท่อ 1 ต่อ 200 สัมประสิทธิ9ความขรุขระ 0.016 จงหาขนาดท่อทีเหมาะสม
32. ท่อระบายนํ !าทีมีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 2 m เมือเกิดการไหลวิกฤตจะมีอตั ราการไหลในท่อ
เท่ากับ 20 m3/s จงหาค่าความลึกวิกฤตในท่อระบายนํ !า
33. ทางนํ !ารูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 4 m อัตราการไหล 17 m3/s สัมประสิทธิ9ความขรุขระ 0.015 ความ
ลาดเทท้ องคลอง 1 ต่อ 1000 จงหา
a. ความลึกปกติของการไหลมีคา่ เท่าไร
b. ความลาดเทของคลองสายนี !เป็ นประเภท Mild slope , Critical slope หรื อ Steep
slope
34. จงออกแบบคลองรู ปสีเหลียมคางหมูทีมีอตั ราการไหล 12 m3/s สัมประสิทธิ9ความขรุ ขระของแมน
นิงเท่ากับ 0.015 และความลาดเทท้ องคลอง 0.002 จงหา
a. หน้ าตัดการไหลทีดีทีสดุ ทางชลศาสตร์
b. ออกแบบขนาดคลองโดยใช้ เงือนไข b/y = 3/1
281

35. คลองสีเหลียมผืนผ้ า ก้ นคลองกว้ าง 4 m มีอตั ราการไหล 12 m3/s มีการยกพื !น ∆Z คลองขึ !น 0.9


m ทําให้ ความเร็ วการไหลก่อนยกพื !นมีคา่ เท่ากับ 1.2 m/s จงหาผลต่างของความลึก ∆Y ก่อน
และหลังยกพื !นคลองและหาระยะยกวิกฤต (∆ZC)
36. คลองหน้ าตัดรูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 5 m สัมประสิทธิ9ความขรุขระมีคา่ เท่ากับ 0.016 ความลาด
เทท้ องคลอง 0.0016 และมีอตั ราการไหล 30 m3/s ณ ตําแหน่งหนึง นํ !าไหลตกจากอาคารลด
ระดับพื !นเอง (Steep Slope) ดังแสดงในรู ป จงวิเคราะห์เพือหาข้ อมูลมายืนยันว่าเกิด Hydraulic
Jump ขึ !นทางด้ านท้ ายนํ !าหรื อไม่ โดยสมมุตวิ ่านํ !าไหลตกลงมาไม่เกิดการสูญเสียพลังงาน
37. นํ !าไหลจากทะเลสาบเข้ าสูท่ างนํ !าเปิ ดหน้ าตัดสามเหลียมซึง มีลาดตลิงทํามุมกับระนาบแนวนอน
32 องศา ความลาดเทท้ องทางนํ !า 0.0005 ระดับนํ !าในทะเลสาบอยูส่ งู กว่าพื !นทางนํ !า 3 m ถ้ า
การไหลเข้ าทางนํ !าเปิ ดไม่มีการสูญเสียพลังงานตรงทางเข้ า จงหาอัตราการไหลจากทะเลสาบเข้ า
สูท่ างนํ !าเปิ ด สมมติคา่ สัมประสิทธิ9ความขรุขระของทางนํ !าเท่ากับ 0.015
38. คลองหน้ าตัดรูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 3 m สัมประสิทธิ9ความขรุขระมีคา่ เท่ากับ 0.018 ความลาด
เทท้ องคลอง 0.0016 และมีอตั ราการไหล 12.5 ลบ.mต่อวินาที ณ ตําแหน่งหนึง นํ !าไหลตกจาก
อาคารลดระดับพื !นเอียง Steep Slope ดังแสดงในรูป ถ้ าเกิด Hydraulic Jump ทีตีนอาคารลด
ระดับพอดี จงหาค่า ∆Z โดยสมมติวา่ นํ !าไหลตกมาไม่เกิดการสูญเสียพลังงาน
39. ทางนํ !ารูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ าง 4 m อัตราการไหล 12 m3/s และความลึกมีคา่ เท่ากับ 2.5 m ณ
ตําแหน่งมีการบีบทางนํ !าโดยการยกพื !นก้ นคลอง จงหาว่าจะต้ องยกพื !นด้ วยความสูงเท่าไร เพือมิ
ให้ ความลึกการไหลเปลียนไปจาก 2.5 m
282

บทที่ 7
เครื่องจักรกลในงานชลศาสตร (Hydraulic Machinery)
เครื่องจักรกลคือเครื่องจักรที่ถายเทพลังงานระหวางตัวหมุน (Rotor) กับของเหลว (Fluid) ซึ่ง
แบงเปน 2 ประเภทคื อประเภทที่ ถายโอนพลั งงานจากตั วหมุนไปยังของเหลวได(แกเครื่องสูบน้ํา และ
ประเภทที่ถายโอนพลังงานจากของเหลวมายังตัวหมุนได(แกกังหันน้ํา
เครื่องสูบน้ํา (Pump)

เครื่องสูบน้ําถูกนํามาใช(ในงานสูบน้ําเพื่อการชลประทาน การประปา งานระบายน้ํา และงาน


บําบัดน้ําเสีย เครื่องสูบน้ําทุกแบบทํางานโดยการถายเทพลังงานจากต(นกําลังไปสูของเหลวโดยการหมุน
ของใบพัด (Impeller) โดยมีห(องสูบ (Casing) ทําหน(าที่รวบรวมของเหลวที่ถูกเหวี่ยงหรือผลักดันออกไป
จากใบพัดไปสูทางด(านจาย ในขณะที่ของเหลวไหลออกมานั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลนบางสวน
มาเปนความดัน เครื่องสูบน้ําที่ดีควรปรับให(สามารถเข(ากับต(นกําลังที่มีความเร็วสูง เชน มอเตอรไฟฟhา
เครื่องยนตได(งา ย มีขอบเขตการใช(งานกว(างขวางทั้งในแงของอัต ราการสู บด(วยความดันที่ต( องการ มี
ประสิทธิภาพสูงและอัตราการไหลสม่ําเสมอ มีขนาดเล็กและราคาไมแพง ใช(งานและบํารุงรักษาได(งาย
ชนิดของเครื่องสูบน้ํา (Types of Pumps)

เครื่องสูบน้ํามีมากมายหลายประเภท โดยสามารถจําแนกได(เปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ตาม


ลักษณะการขับดันของเหลว และ ตามลักษณะการเพิ่มกําลังงานให(แกของเหลว

1. แบงตามลักษณะการขับดันของเหลว สามารถจําแนกได(เปน 2 ประเภทใหญๆ คือ


1.1. เครื่องสูบน้ําแบบให(การไหลเคลื่อนที่ตอเนื่อง (Dynamic Pump) มีลักษณะการทํางานโดย
เครื่องสูบเพิ่มความเร็วให(ของเหลว โดยของเหลว ไหลผานใบพัดที่กําลังหมุนจนเกิดแรงเหวี่ยง
หนีศูนยกลาง เนื่องจากมีชิ้นสวนสําคัญคือใบพัดทําให(เครื่องสูบประเภทนี้มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่ง
วา เครื่องจักรใบพัด (Turbo Machine) เครื่องสูบแบบให(การไหลเคลื่อนที่ตอเนื่องสามารถแบง
ตามทิศทางของการไหลภายในห(องสูบ ได(เปน 3 ประเภท คือ
1.1.1. ประเภทไหลในแนวรัศมีใบพัด (Radial Flow Pump) จะอาศัยแรงเหวี่ยงหนี
ศูนยกลางที่เกิดขึ้นในห(องสูบ (Casing) ของเหลวจะไหลออกจากใบพัดในทิศทางตั้ง
ฉากกับเพลาซึ่งใบพัดชนิดนี้จะให( เฮดมากกวาประเภทไหลแบบผสมและประเภท
283

ไหลตามแนวแกนของใบพัดแตให(อัตราการสูบน(อยกวาเครื่องสูบน้ําอีกสองชนิดจาย
เครื่องสูบน้ําที่เกษตรกรมักใช(เพื่อการเกษตรจะเปนแบบไหลตามแนวรัศมีใบพัดซึ่งมัก
ถูกเรียกวาเครื่องสูบน้ําแบบหอยโขงตามลักษณะของห(องสูบหรือบางครั้งเรียกว า
แบบเซนตริฟุกอล (Centrifugal Pump) ดังรูปที่ 7.1a
1.1.2. ประเภทไหลแบบผสม (Mixed Flow Pump) ทิศทางการไหลออกจากใบพัด
ทํามุมเอียง 45 องศา ถึง 80 องศา กับแกนเพลาของใบพัดดังรูปที่ 7.1b เครื่องสูบ
ประเภทนี้จะให(เฮดมากกวา ประเภทไหลตามแนวแกนของใบพัดแตน(อยกวาประเภท
ไหลในแนวรัศมีใบพัด
1.1.3. ประเภทไหลตามแนวแกนของใบพัด (Axial Flow Pump) ทิศทางการไหลจะ
ขนานกับเพลาใบพัด (Axis) ดังรูปที่ 7.1c เครื่องสูบประเภทนี้จะให(เฮดน(อยกวา
ประเภทไหลในแนวรัศมีใบพัดประเภทไหลแบบผสมแตให(อัตราการสูบมากกวาเครื่อง
สูบน้ําอีกสองชนิด

a) Radial Flow Pump b) Mixed Flow Pump

c) Axial Flow Pump


รูปที่ 7.1 เครื่องสูบน้ําแบบแรงเหวี่ยง
284

2. เครื่องสูบแบบของเหลวแทนที่ (Positive Displacement Pump) มีลักษณะการทํางานโดยจะใช(


ชิ้นสวนของเครื่องจักรทําการอัดและดันของเหลว เพื่อให(เกิดการแทนที่และเคลื่อนที่ของของเหลว ใน
ห(องสูบอยางตอเนื่อง ชนิดของเครื่องสูบประเภทไหลแทนที่ ที่รู(จักกันทั่วไป ได(แก
2.1. เครื่องสูบน้ําแบบโรตารี่ปM¶มโรตารี่ (Rotary Pump) ดังรูปที่ 7.2a เปนเครื่องสูบน้ํา ที่เพิ่ม
พลังงานของเหลวโดยอาศัยการหมุนของฟMนเฟüองรอบแกนกลาง มีชิ้นสวนภายในที่หมุนได( เพื่อ
ตักหรือตวงของเหลว ของเหลวถูกดูดเข(าไปและอัดปลอยออก โดยการหมุนรอบจุดศูนยกลาง
ของเครื่องมือกล ซึ่งมีชองวางให(ของเหลวไหลเข(าทางด(านดูดและเก็บอยูระหวางผนังของห(องสูบ
กับชิ้นสวนที่หมุนหรือโรเตอรจนกวาจะถึงด(านจาย การหมุนของโรเตอรทําให(เกิดการแทนที่
เปนการเพิ่มปริมาตรของของเหลว (Positive Pisplacement) ให(ทางด(านจาย
2.2. แบบลูกสู บชั ก ดังรู ปที่ 7.2b เปน ปM¶มประเภทแทนที่ โดยการสร( างโพรงขยายขณะดูด และ
ของเหลวจะไหลเข( า ไปในปM¶ ม เพื่ อ แทนที่ โ พรงขยายทั้ ง หมด และถู ก ทํ า ให( เ คลื่ อ นที่ อ อกมา
เนื่องจากปริมาตรโพรงถูกลดลง ซึ่งปริมาณการไหลจะเทากันในแตละวงจรของการสูบชัก

a) Rotary Pump b)
รูปที่ 7.2 เครื่องสูบน้ําแบบแรงเหวี่ยง
285

หลักการทํางานของเครื่องสูบน้ํา
เครื่ องสู บน้ํ า เครื่ องจั กรกลทางชลศาสตร ที่ทํา หน(า ที่ ถา ยโอนพลังงานกลที่ ได( รับ มาจากแหล ง
พลังงานให(กลายเปนพลังงานของของเหลว ในรูปของแรงดันดังนั้น เมื่อของเหลว หรือระบบไหลผาน
เครื่องสูบ เฮดพลังงานรวมของระบบจะเพิ่มสูงขึ้น เปนการเพิ่มกําลังงานให(แกของเหลวจากจุดหนึ่งไปยัง
อีกจุดหนึ่ง ดังรูปที่ 7.3 โดยทั่วไปเครื่องสูบน้ําจะถูกเรียกทับศัพทวาวาเครื่องสูบน้ําน้ํา เครื่องสูบน้ํามีทั้ง
แบบที่ใช(มอเตอรไฟฟhา และแบบที่ใช(เครื่องยนต

รูปที่ 7.3 หลักการทํางานของเครื่องสูบน้ํา

พิจารณารูปที่ 7.3 จากสมการพลลังงานสามารถเขียนสมการแสดงความสัมพันธระหวางการไหล


ที่ตําแหนงที่ 1 ไปตําแหนงที่ 2 ได(ดังนี้

P1 V12 P V2
z1 + + + H P = z2 + 2 + 2 + ∑ H L (7.1)
γ 2g γ 2g

เมื่อ z1 และ z2 คือ ความสูงวัดจากระดับอ(างอิง (m) P1 และ P2 คือความดัน (N/m2) V1 และV2


คือความเร็วเฉลี่ยของการไหล (m/s) HP คือเฮดของเครื่องสูบน้ํา (m) γ คือน้ําหนักจําเพราะของน้ํา
(N/m3) g คือความเรงเนื่องจากแรงโน(มถวงของโลก (m2/s) และ HL คือพลังงานที่สูญเสียระหวางการไหล
จากตําแหนงที่ 1 ไปยังตําแหนงที่ 2 (ตัวห(อยเลข 1 และ 2 อ(างถึงตําแหนงการไหลที่ 1 และ 2 ตามลําดับ)
จากสมการที่ 7.1 สามารถหาเฮดของระบบ (กําลังงานของน้ําในรูปความสูงของแทงน้ําที่ต(องการเพื่อสงไป
ยังท(ายน้ําได() เมื่อทราบคาเฮดของระบบก็จะสามารถนําไปคํานวณหากําลังงานที่ของเหลว ได(รับ (Pw) ได(
และกําลังงานของเครื่องสูบ (PP) น้ําตอไป
286

PW = γQHP (7.2)

เมื่อ Pw คือกําลังงานที่ของเหลว ได(รับ ( N ⋅ m หรือ Watt, W) γ คือน้ําหนักจําเพราะของน้ํา


s
3 3
(N/m ) Q คืออัตราการไหล (m /s) และ HP คือเฮดของเครื่องสูบน้ํา (m) อยางไรก็ตามขณะที่เครื่องสูบ
น้ํ า ทํ า งานจะมี การสู ญ เสี ย พลั งงานจากการไหลเวี ย นของของเหลว ในเรื อนของเครื่ องสู บ น้ํ า ทํ า ให(
ประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องสูบน้ําลดลง ดังนั้นในการเลือกใช(เครื่องสูบน้ําต(องนําประสิทธิภาพของ
เครื่องสูบน้ํามาพิจารณาด(วย โดยกําลังงานของเครื่องสูบน้ําที่ต(องการหาได(จาก
Pw γQH P
PP = = (7.3)
ηP ηP

เมื่อ PP คือกําลังงานที่ของเหลว ได(รับ (W) ηP คือประสิทธิภาพของเครื่องสูบ (ไมมีหนวย)

ตัวอย2างที่ 7.1 ระบบสูบน้ําถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป ต(องการสูบน้ําจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 ด(วย


อัตรา 58 liters/s ขนาดทอดูดและทอจายเทากับ 12.5 cm และ 10.0 cm ตามลําดับ ถ(าการสูญเสีย
พลังงานทั้งหมดมีคาเทากับ 1.2 เทาของเฮดความเร็วทางด(านจาย เครื่องสูบน้ํามีประสิทธิภาพ 72 % จง
หากําลังของเครื่องสูบน้ําที่ต(องใช(
287

วิธีทํา พิจารณาสมการพลังงานระหวางตําแหนงที่ A และตําแหนงที่ I

PA VA2 P V2
zA + + + H P = zI + I + I + ∑ H LA→I (EX7.1-1)
γ 2g γ 2g

หลักในการพิจารณา

- ความดันที่ผิวน้ําเทากับความดันบรรยากาศ = 0 (พิจารณาในระบบความดันเกจ)
- ความเร็วที่ผิวน้ํามีคาเข(าใกล(ศูนย เนื่องจากตลอดการสูบน้ําระดับน้ําที่ A และ I ไมมีการ
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากพิจารณาวาแหลงน้ํามีขนาดใหญ ดังนั้นในการแก(ปMญหานี้จะพิจารณาให(
ความเร็วที่ผิวน้ํา = 0

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ EX7.1-1 จะได(

125 + 0 + 0 + H P = 145 + 0 + 0 + ∑ H LA→I

H P = 20 + ∑ H LA→I (EX7.1-2)
2
VEH
เมื่อ ∑ H LA→I = 1.2 2g
(EX7.1-3)

Q 0.058
ความเร็วของการไหลในทอ EH V= = π 2 = 7.38 m s
A EH 4 0.1

แทนคาลงในสมการที่ EX7.1-3 จะได(

7.382
∑ HLA®I = 1.2× 2g
= 3.33 m

แทนคาลงในสมการที่ ที่ EX7.1-2 จะได(


H P = 20+3.33 = 23.33 m
หากําลังงานของเครื่องสูบน้ํา
γQH P 9810×0.058×23.33
PP = = = 18.44 kW
ηP 0.72

18.44kW
หรือ PP = = 24.71 Hourse Power ตอบ
746
288

ตัวอย2างที่ 7.2 ต(องการสูบน้ําจากบอน้ําขึ้นถังสูงผานระบบทอด(วยอัตราการสูบ 20 l/s ลักษณะดังรูป


โดยระดับน้ําที่บอเทากับ –1.5 m และระดับน้ําที่ถังสูงมีคาเทากับ +25.0 m ถ(าเครื่องสูบมีประสิทธิภาพ
65 % จงหากําลังงานที่ใช(ในการสูบน้ํา จงหาความดันในทอที่จุด I (ความยาวทอชวง BI เทากับ 9 m)

Pipe (mm) (mm) L (m) +25.0 m


A
BD 75 0.15 33
EG 100 0.15 7.5 B
Discharge = 20 l/s
+15.5 m
Pump I
Gate valve = 65 %
Q +0.75 m
+0.5 m C
V D
F E
- 1.5 m
H
Treaded elbow 90o : k = 1.5
G Gate valve : k = 2.5
foot valve Foot valve : k = 2.0

วิธีทํา พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด H กับ A


2 2
P V P V
z H + H + H + HP = z A + A + A + ∑ h f + ∑ hm
γ W 2g γ W 2g

HP = (z H − z A ) + ∑ h f + ∑ hm (E7.2-1)

การสูญเสียพลังงานหลัก จะเกิดขึ้นเมื่อของเหลว เดินทางผานทอจากจุด G ถึงจุด B ผานทอสอง


เส(นคือ GE และ DB ดังนั้นการสูญเสียพลังงานหลักจึงหาได(จาก

∑ hf = h fG→E + h fD→B

2 2
( 7.5 ) VGE ( 33.0 ) VDB
= fGE + fDB
( 0.1) 2g ( 0.075 ) 2 g
2 2
VGE VDB
∑ hf = ( 75 ) fGE + ( 440 ) fDB (E7.2-2)
2g 2g
289

การสูญเสียพลังงานรอง จะเกิดขึ้นที่ทางเข(า (foot valve : kG = 2.0) ประตูน้ํา (Gate valve :


kvalve = 2.5) ข(องอ 90O ทั้งสองตัว (F และ C : kF = kC = 1.5) และบริเวณทางออก (B : kB = 1) ดังนั้น
การสูญเสียพลังงานรองทั้งหมดจึงมีคาเทากับ (คา k ของอุปกรณตางๆ โจทยระบุมาให()
2 2
VGE VDB
∑ hm = (k G + k F + k valve ) + (k C + k B )
2g 2g
2 2
VGE VDB
= ( 2.0 + 1.5 + 2.5 ) + (1.5 + 1.0 )
2g 2g
2 2
V V
∑ hm = ( 6 ) GE + ( 2.5 ) DB (E7.2-3)
2g 2g

นําสมการที่ (E7.2-2) และ (E7.2-3) ไปแทนคาใน (E7.2-1)


2 2 2 2
VGE VDB VGE VDB
HP = (( + 25.0 ) − ( − 1.5 ) ) + ( 75 )fGE + ( 440 )fDB + ( 6 ) + ( 2.5 )
2g 2g 2g 2g
2
VGE V2
HP = 26.5 + ( 81)fGE + ( 442.5 ) fDB DB (E7.2-4)
2g 2g

จาก Q = VA ∴
Q 0.02
VGE = = π 2
A GE 4 ( 0.10 )

VGE = 2.546 m/s


Q 0.02
VDB = = π 2
A DB 4 ( 0.075 )

VDB = 4.527 m/s

แทนคาความเร็วในสมการที่ (E7.2-4)

( 2.456) 2 ( 4.527) 2
HP = 26.5 + ( 81)fGE + ( 442.5 ) fDB (E7.2-5)
2g 2g
290

หาคาเรยโนดนัมเบอร ทอ GE
( 2.456)( 0.1)
R e GE =
(1×10−6 )
R e GE = 2.456X105

ε = 0.15 mm (จากโจทย)
ε 0.15
∴ = = 0.0015
D 100
จากราฟ Moody diagram fGE = 0.0225

หาคาเรยโนดนัมเบอร ทอ GE
( 4.527)( 0.075)
R e DB =
(1×10−6 )
R e DB = 3.395X105

ε = 0.15 mm (จากโจทย)
ε 0.15
∴ = = 0.002
D 75
จากราฟ Moody diagram fDB = 0.024

แทนคา f ในสมการที่ (5)

( 2.456 ) 2 ( 4.527 ) 2
HP = 26.5 + ( 81)( 0.0225) + ( 442.5 )( 0.024 )
2g 2g

= 38.153 m
291

กําลังงานที่น้ําได(รับ

PW = γQH P = ( 9810 )( 0.02 )( 38.153 )

= 7485.62 W

กําลังงานที่กําลังของเครื่องสูบ

PW ( 7485.62)
PP = =
ηP ( 0.65)

= 11516.64 W

PP = 11.516 kW ตอบ

พิจารณาสมการพลังงานระหวางจุด H กับ I
2 2
P V P V
z H + H + H + HP = z I + I + I + ∑ h f + ∑ hm
γ W 2g γ W 2g

PI ( 4.527) 2
( − 1.5 ) + 0 + 0 + ( 38.153 ) = ( + 15.5 ) + + + ∑ h f + ∑ hm
γW 2g

PI
= 20.108 − ∑ h f − ∑ hm (E7.2-6)
γW

การสูญเสียพลังงานหลัก จะเกิดขึ้นเมื่อของเหลว เดินทางผานทอจากจุด G ถึงจุด I ผานทอสอง


เส(นคือ GE และ DI (33 - 9 = 24 m) ดังนั้นการสูญเสียพลังงานหลักจึงหาได(จาก

∑ hf = h fG → E + h fD →I

2 2
( 7.5 ) VGE ( 24.0 ) VDB
= fGE + fDB
( 0.1) 2g ( 0.075) 2g

( 7.5 ) ( 2.456 ) 2 ( 24 ) ( 4.527 ) 2


= ( 0.0225 ) + ( 0.024 )
( 0.1) 2 g ( 0.075 ) 2g
= 8.541 m
292

การสูญเสียพลังงานรอง จะเกิดขึ้นที่ทางเข(า (foot valve : kG = 2.0) ประตูน้ํา (Gate valve :


kvalve = 2.5) และข(องอ 90O ทั้งสองตัว (F และ C : kF = kC = 1.5) ดังนั้นการสูญเสียพลังงานรองทั้งหมด
จึงมีคาเทากับ (คา k ของอุปกรณตางๆ โจทยระบุมาให()
2 2
VGE VDB
∑ hm = (k G + k F + k valve ) + (k C + k B )
2g 2g

( 2.456 ) 2 ( 4.527) 2
= ( 2.0 + 1.5 + 2.5 ) + (1.5 )
2g 2g

∑ hm = 3.411 m

แทนคาผลรวมของการสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสียพลังงานรองในสมการที่ (6)


PI
= 20.108 − ( 8.541) − ( 3.411)
γW

= 8.156 m

PI = 8.156 ⋅ γ W = 80.01 kPa ตอบ


293

กังหันน้ํา (Water Turbine)

กังหันน้ําคือเครื่องจักรกลทางชลศาสตรชนิดหนึ่งที่ทําหน(าที่เปลี่ยนพลังงานชลศาสตรไปเปน
พลังงานกลและจากพลังงานกล เมื่อนํากังหันน้ําไปวางกั้นทิศทางการไหลของน้ํา พลังงานของน้ําจะถูก
ถายทอดจากน้ําไปหมุนใบพัดของกังหัน ซึ่งนั้นมีหน(าที่เปลี่ยนพลังงานจลนที่ได(รับจากน้ําให(เปนพลลังงาน
กล โดยการพลังงานจลน และพลังงานจลนนี้ ก็จะถายทอดจากน้ําไปหมุนใบกังหัน ทําให(เกิดเปนพลังงาน
กล ซึ่งอาจจะเอาไปขับเครื่องกําเนิดไฟฟhาให(เปนพลังงานไฟฟhาอีกทีหนึ่ง
ชนิดของกังหันน้ํา (Type of Turbine)
ชนิดของกังหันน้ําที่ใช(ผลิตกระแสไฟฟhาโดยทั่วไปแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ แบบ
กระแทกและแบบปฏิกิริยา
กังหันน้ําแบบกระแทก (Impulse)
กังหันแบบกระแทก ทํางานโดยเปลี่ยนนความดันของน้ําให(เปนความเร็วทั้งหมดด(วยหัวฉีด ซึ่ง
ความดันรอบๆ กระแสน้ํานี้จะเทากับบรรยากาศ กระแสน้ํานี้จะพุงเข(าชนกระแทกกับกะเปาะ (Bucket)
ของใบกังหัน (Runner) ทําให(เกิดโมเมนตัมโดยหลักการของกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันข(อที่ 2 ซึ่งถ(าการ
ออกแบบที่ ดี น้ํ า ที่ ก ระแทกใบกั ง หั น แล( ว จะมี ค วามเร็ ว เป น ศู น ย แ ละตกลงไปข( า งล า ง กั ง หั น แบบนี้ ที่
แพรหลายมากได(แก แบบเพลตัน (Pelton) ซึ่งถูกคิดค(นโดย Lester Allan Pelton ในปë ค.ศ. 1870 จึง
มักถูกเรียกวากังหันแบบเพลตัน ดังรูปที่ 7.4
294

รูปที่ 7.4 กังหันน้ําแบบ Pelton


295

การวิเคราะหหลักการทํางานของกังหัน
จากรูปที่ 7.4 แสดงลักษณะการทํางานของกังหันแรงกระแทกซึ่งจะรับน้ําที่พุงมาจากหัวฉีดเข(า
กระแทกกะเปาะของกังหัน พิจารณารูปที่ 7.5 เมื่อลําน้ําจากหัวฉีด (Nozzle) มีความเร็วพุงเข(า V1
กระแทกกะเปาะ (Bucket) ของกังหันน้ําจะทําให(กะเปาะของกังหันเคลื่อนที่ด(วยความเร็วตามเส(นรอบวง
ของล(อ (Wheel) เทากับ u จากนั้นกระแสลําน้ําจะกระจายออกและเกิดความเร็วสัมพัทธที่จุดเข(า
กระแทกกะเปาะ (VR ) VR = V jet − u และมีความเร็วกระแสน้ําที่ไหลจากกะเปาะเปน V2 ทํามุม θ กับ
แนวเดิม ดังนั้นความเร็วย(อนกลับในแนวนอนมีคาเทากับ VR cos θ เมื่อกะเปาะถูกกระแทกจากลําน้ําจะ
ทําให(วงล(อหมุนด(วยความเร็วเชิงมุม (ω ) และเมื่อให( r คือรัศมีของวงล(อ ดังนั้นความเร็วเส(นรอบวงของ
ล(อ (u) จึงมีคาเทากับ u = ω × r

รูปที่ 7.5 การพุงของเจ็ทน้ําขณะชนกับกระเปาะของกังหัน

เมื่อลําน้ําพุงชนกะเปาะจะเกิดแรงกระแทกของน้ําและสามารถสามารถเขียนสมการโมเมนตัม
ตามทิศทางการไหลโดยใช(หลักการไหลคงที่ในปริมาตรควบคุม (เส(นประ) ได(ดังนี้

∑ F = ∑ ( ρQV )
x out
−∑ ( ρ QV )in (7.3)

− F = ρ Q (V2 cos θ − VR ) (7.4)

หากไมมีการสูญเสียพลังงานความเร็วที่พุงออกจากกะเปาะ (V2) จะมีคาเทากับความเร็วขณะที่พุง


296

กระทบกะเปาะ (VR) แตเนื่องจากจะเกิดแรงเสียดทานในขณะที่น้ําผานกะเปาะทําให(ความเร็วที่พุงออก


จากกะเปาะลดลง โดยมีความสัมพันธดังนี้ V2 = kVR เมื่อ k คือคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่กะเปาะ
(Bucket Friction Coefficient) ซึ่งจะมีคา น(อยกวาหรือเทากับ 1 เสมอ เมื่อแทนคา V2 ลงในสมการที่
7.4 จะได(

− F = ρ QVR ( k cos θ − 1)

หรือ F = ρ QVR (1- k cos θ ) (7.5)

เนื่องจาก VR = V jet − u นําไปแทนคาลงในสมการที่ 7.5 จะได(

F = ρ Q (V jet − u ) (1- k cos θ ) (7.6)

และสามารถหากําลัง (P) ที่ถายทอดจากลําน้ําไปยังล(อหมุนได(ดังนี้

P = Fu = ρ Q (V jet − u ) (1- k cos θ ) u (7.7)

เมื่อ P คือกําลังของกังหันได(รับ (W) F คือแรงกระแทกของน้ํา (N) u คือความเร็วของกังหัน


(m/s) Q คืออัตราการไหลของไหล (m3/s) ρ คือความหนาแนนของของไหล (kg/m3) Vjet คือความเร็ว
ของลําน้ํา (m/s) k คือคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่กะเปาะ θ คือมุมที่ลําน้ําพุงออกจากกะเปาะกับแนว
เดิม จากสมการที่ 7.7 พบวาเมื่อกังหันไมทํางานความเร็วของกังหันเทากับศูนย (u=0) กําลังของกังหันมี
คาเทากับศูนย (P=0) ด(วย และหากกังหันมีความเร็วมากที่สุดซึ่งจะเทากับความเร็วของลําน้ํา (Vjet) ก็จะ
ทํ า ให( กํา ลั ง ของกั ง หั น มี ค า เท า กั บ ศู น ย (P=0) ด( ว ย ดั งนั้ น จึ งสรุ ป ได( ว า กํ า ลั ง ของกั ง หั น จะเพิ่ มขึ้ น เมื่ อ
ความเร็วของลําน้ําเพิ่มขึ้น จนถึงความเร็วของลําน้ําคาหนึ่งจะทําให(กังหันมีกําลังสูงสุด จากนั้นหากเพิ่ม
ความเร็ วของน้ํา จะทําให( กํา ลังของกั งหั นลดลงจนมีคาเทา กับ ศูน ยเ มื่อความเร็ วของกังหัน มีคาเทา กั บ
ความเร็วของลําน้ํา และสามารถหากําลังสูงสุดของกังหันโดยการหาอนุพันธสมการที่ 7.7
dP
= ρ Q (1- k cos θ ) (V jet − 2u ) = 0 (7.8)
du

สมการที่ 7.8 จะเปนจริงก็ตอเมื่อคา ρ หรือ Q หรือ (1- k cosθ ) หรือ (V jet − 2u ) เทากับศูนย
อย า งไรก็ ต ามค า ρ หรื อ หรื อ (1- k cosθ ) ไม มีโ อกาสเท า กั บ ศู น ย ดั งนั้ น พจน (V jet − 2u ) ต( อ ง
Q

เท ากั บ ศูน ย ดั งนั้ น สามารถสรุ ปได( วา กํ า ลังของกั งหั นจะมีคา มากที่ สุ ดเมื่ อความเร็ ว ของกั งหัน เทา กั บ
297

ครึ่งหนึ่งของความเร็วลําน้ํา ดังนั้นเมื่อนําคา u = V jet 2 ไปแทนในสมการที่ 7.7 จะได(กําลังสูงสุดของ


กังหันทางทฤษฎีดังนี้

ρ QV jet2 (1 − k cos θ )
Pmax = (7.9)
4

สมการที่ 7.9 กําลังของกังหันจะมีมากที่สุดเมื่อ k=1 และ θ เทากับ 180 องศา เมื่อแทนคา k=1 และ θ
เทากับ 180 องศา ลงในสมการที่ 7.9 จะได(ดังสมการที่ที่ 7.10 และนําไปพล็อตกราฟความสัมพันธ
ระหวาง P กับ u จะได(ลักษณะดังรูปที่ 7.6

ρ QV jet2
Pmax = (7.10)
2

รูปที่ 7.6 ความสัมพันธระหวางกําลังของกับความเร็วของกังหัน

โดยปกติแล(วคาคงที่ k จะน(อยกวาหนึ่งเสมอและมุมสะท(อนของกระแสน้ํา (Deflection angle)


ของกระแสน้ํา (θ) มักจะใช(มุมเทากับ 165 องศาเปนมาตรฐานในการออกแบบ สําหรับสัมประสิทธิ์ภาพ
เชิงชลศาสตรของกังหันน้ําสามารถหาได(จากอัตราสวนกําลังระหวางกําลังจากสมการที่ 7.7 ตอกําลังสูงสุด
จากสมการที่ 7.9 โดยทั่วไปแล(วผู(ออกแบบมักจะพยายามออกแบบให(กะเปาะของกังหันน้ํามีขนาดเล็ก
ที่สุดเทาที่จะทําได( เพื่อลดผลของแรงฉุดจากอากาศหรือแรงลมซึ่งปกติจะกําหนดความกว(างของกะเปาะ
เปน 3 ถึง 4 เทาของเส(นผาศูนยกลางของลําน้ําที่พุงเข(ากระทบกะเปาะและเนื่องจากแรงฉุดจากอากาศทํา
ให(เกิดแรงเสียดทานในขณะที่แรงลมจะเพิ่มตามความเร็วยกกําลังสองจึงมีผลทําให(ประสิทธิภาพของกังหัน
น้ําลดลง กลาวคือความเร็วกะเปาะของกังหันน้ําที่ดีที่สุดจะลดต่ํากวา 50 เปอรเซ็นตของความเร็วลําน้ําซึ่ง
298

ปกติจะลดมาอยูที่ 43 ถึงไป 48 เปอรเซ็นตของความเร็วลําน้ํา โดยที่อัตราสวนของความเร็วกะเปาะหรือ


ล(อหมุนตอความเร็วนําน้ําเรียกวาความเร็วสัมพัทธ (Relative Speed) อัตราสวนระหวางเส(นผาศูนยกลาง
ของหัวฉีดตอเส(นผาศูนยกลางของกังหันน้ํามักจะมีคาอยูในชวง 1/14ถึง 1/16 ซึ่งในกรณีของกังหันเพล
ตันจะให(ประสิทธิภาพมากถึง 85 เปอรเซ็นตถึง 90 เปอรเซ็นต
โดยปกติแล(วในการทํ างานของกังหั นน้ําจะควบคุ มให(กระแสไฟฟhามีความถี่คงที่โดยการหมุ น
เครื่องกําเนิดไฟฟhา (Generator) ให(มีความเร็วคงที่ที่เรียกวาความเร็วไซโครนัส (Synchronous Speed)
ซึ่งขึ้นอยูกับจํานวนขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟhาและความถี่ของกระแสไฟฟhาดังสมการ
120 f
N= (7.11)
nP

เมื่อ N คือ ความเร็วความเร็วไซโครนัสมีหนวยเปน รอบตอนาที่ (rpm) f คือ ความถี่มีหนวยเปน


เฮิรท (Hz) ซึ่งในประเทศไทยใช( f = 50 Hz และในประเทศสหรัฐอเมริกาใช( f = 60 Hz และ nP คือ
จํานวนขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟhามีคาเปนเลขคูจํานวนเต็ม
299

ตัวอย2างที่ 7.4 กังหันเพลตันถูกติดตั้งในลักษณะดังรูป น้ําถูกสงผานด(วยทอเหล็ก (Penstock) ความ


ขรุขระของผิวทอเทากับ 0.06 mm ขนาดส(นผานศูนยกลาง 60 cm ยาว 2,500 m มีระดับน้ําในอางถึง
ปลายหัวฉีดเทากับ 200 m ถ(าอัตราการไหลถูกปลอยผานทอเหล็กมาเทากับ 1 m3/s กําหนดให( การ
สูญเสียรอง (hm) ทั้งหมดเทากับ 10 เปอรเซ็นตของการสูญเสียหลัก (hf) คาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่กะ
เปาะ (k) เทากับ 0.98 มุมของกระเปาะเทากับ 165 องศา ประสิทธิภาพของเพลาและเครื่องกําเนิดไฟฟhา
เทากับ 90 เปอรเซ็นต อัตราสวนระหวางเส(นผาศูนยกลางของหัวฉีดตอเส(นผาศูนยกลางของกังหันน้ํามักมี
คาอยูเทากับ 1 ตอ 14 ความหนืดจลศาสตรของน้ําเทากับ 8.97x10-7 m2/s และประสิทธิภาพสูงสุดของ
กังหันน้ําเกิดขึ้นเมื่อกังหันหมุนด(วยความเร็ว 48 เปอรเซ็นตของความเร็วของกระแสน้ํา จงหา
- ขนาดของหัวฉีดและความเร็วที่พุงออกจากหัวฉีด
- เส(นผานศูนยกลางความเร็วการหมุนของกังหันเมื่อกังหันนี้ตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟhา 50 Hz
- กําลังไฟฟhาที่ได(รับ
- ประสิทธิภาพรวมของกังหันน้ําและเครื่องปMîนไฟ
- ประสิทธิภาพรวมของระบบทั้งหมด

วิ ธี ทํ า พิ จ ารณาสมการพลั ง งานที่ ตํ า แหน ง ผิ ว น้ํ า ในอ า งเก็ บ น้ํ า (ตํ า แหน ง ที่ 1 ) กั บ ที่ ป ลายท อ หั ว ฉี ด
(ตําแหนงที่2) จะได(

V12
P1 P2 V22
z1 + + = z2 + + + ∑ H L1→2 (Ex7.4-1)
γ 2g γ 2g
300

หลักในการพิจารณา

- ความดันที่ผิวน้ําเทากับความดันบรรยากาศ = 0 (พิจารณาในระบบความดันเกจ)
- ความเร็วที่ผิวน้ํามีคาเข(าใกล(ศูนย เนื่องจากตลอดการปลอยน้ําระดับน้ําในอางเก็บน้ําไมมีการ
เปลี่ยนแปลง ดังนั้นในการแก(ปMญหานี้จะพิจารณาให(ความเร็วที่ผิวน้ํา = 0

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ EX7.4-2 จะได(

V jet2
200 + 0 + 0 = 0 + 0 + + ∑ h f + ∑ hm (Ex7.4-2)
2g

V jet2 2
L Vp
2
L Vp
200 = +f + 0.1 f (Ex7.4-3)
2g D 2g D 2g

Q 1
 ความเร็วของน้ําในทอสง =Vp =
π
= 3.54 m s
A ×0.6 2

 ตัวเลขเรยโนลด Re = VD = 3.54 × 0.6-7 = 2.37 ×106


υ 8.97×10

 ความขรุขระสัมพัทธ ε = 0.06 = 1.0 ×10-4


D 600
 เมื่อตัวเลขเรยโนลดเทากับ 2.37x106 และ ความขรุขระสัมพัทธเทากับ 1.0x10-4 จะได(
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน f = 0.0128

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการที่ Ex7.4-3

V jet2  2,500 3.542 


200 = + 1.1 0.0128 × ×  (Ex7.4-3)
2g  0.6 2g 

Vjet = 2g ( 200-37.47 ) = 56.47 ms (Ex7.4-3)

ขนาดของหัวฉีดหาได(จากสมการความตอเนื่อง Q = AV
πd2
0.6 = × 56.47
4
d = 0.1163 m หรือ เทากับ 11.63 cm
301

เนื่องจากประสิทธิภาพสูงสุดของกังหันน้ําเกิดขึ้นเมื่อกังหันหมุนด(วยความเร็ว 48 เปอรเซ็นต ของ


ความเร็วของกระแสน้ํา (Vjet) ดังนั้นความเร็วของกังหัน (u) ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดคือ

u = 0.48Vjet = 0.46×56.47 = 25.98 ms

เนื่องจากอัตราสวนระหวางเส(นผาศูนยกลางของหัวฉีดตอเส(นผาศูนยกลางของกังหันน้ํามักมีคาอยูเทากับ
1 ตอ 14 ดังนั้น

 ขนาดเส(นผานศูนยกลางของกังหันเทากับ D wheel = 14×0.1163 = 1.628 m


2u 2×25.98
 ความเร็วเชิงมุม ω = = = 31.916 rad s
D wheel 1.628
60ω 60×31.916
 จํานวนรอบ N= = = 305 rpm
2π 2 ×π

 จํานวนขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟhาที่ต(องการ nP = 120 f = 120×50 = 19.67


N 305

จํานวนขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟhาที่เลือกใช(ต(องเปนเลขคูจํานวนเต็ม ดังนั้นเลือกจํานวนขั้วของเครื่อง
กําเนิดไฟฟhาเทากับ 20 ดังนั้นต(องทําการคํานวณหาคาตาง ๆ ใหมดังนี้
120 f 120×50
 จํานวนรอบ N= = = 300 rpm
nP 20

 ความเร็วเชิงมุม ω = 2π N 2×π × 300


= = 31.416 rad s
60 60

 ขนาดเส(นผานศูนยกลางของกังหันเทากับ D wheel = 2u = 2 × 25.98 = 1.654 m


ω 31.416

กําลังของกังหันสามาหาได(จาก

P = ρ Q (V jet − u ) (1- k cos θ ) u

P= 1,000×0.6 ( 56.47-25.98) × (1-0.98×cos165) ×25.98 = 925.18 kW

925,179.86
หรือเทากับ P= = 1,240.19 Hourse Power
746
302

เนื่องจากประสิทธิภาพของเพลาและเครื่องกําเนิดไฟฟhาเทากับ 90 เปอรเซ็นตดังนั้น

 กําลังของเครื่องกําเนิดไฟฟhา (PG) เทากับ

PG = 0.9 × 925.18 = 832.66 kW

 กําลังสูงสุดเนื่องจากลําน้ํา (Pmax) เทากับ

ρ QV jet2 1000 × 0.6 × 56.47 2


Pmax = = = 956.66 kW
2 2

 ประสิทธิภาพของกังหัน (ηW ) เทากับ

P 925.18
ηW = = = 0.9671 = 96.71 %
Pmax 956.66

 ประสิทธิภาพรวมของกังหันและเครื่องกําเนิดไฟฟhา (η ) เทากับ

η= 0.9ηW = 0.9 × 0.8704 = 0.7834 = 78.34 %


303

กังหันน้ําแบบแรงสะท.อน (Reaction)
กังหันแบบแรงสะท(อนเปนกังหันที่หมุนโดยใช(แรงดันของน้ําที่เกิดจากความตางระดับของน้ํา
ด(านหน(าและด(านท(ายของกังหันกระทําตอใบพัด ระดับด(านท(ายน้ําจะอยูสูงกวาระดับบนของปลายทอ
ปลอยน้ําออกเสมอ กังหันชนิดนี้เหมาะกับอางเก็บน้ําที่มีความสูงปานกลางและต่ํา กังหันแรงสะท(อน แบง
ได(เปน 2 แบบคือ
1. แบบสะท(อนชนิด Francis แบบนี้ความดันของน้ําบางสวนจะเปลี่ยนเปนความเร็ว และ ความดัน
ที่เหลือดันใบกังหัน และ เรงให(น้ําไหลผานใบบังคับไหล (Guide Vane) ซึ่งอยูรอบนอกของใบ
กังหัน เข(าแกนกลางและไหลออกที่แกนกลางของใบกังหัน และ มีความดันเทากับบรรยากาศ
เนื้อที่ทางเข(าของน้ําจะมากกวาเนื้อที่ทางออก ตัวใบกังหันมีลักษณะคล(ายใบพัดของเครื่องสูบน้ํา
แบบปKด (Closed Impeller) ดังรูปที่ 7.5 และการทํางานก็กลับกันกับการทํางานของเครื่องสูบ
น้ําน้ํา

รูปที่ 7.5 กังหันน้ําแบบ Francis


304

2. แบบแรงสะท(อนชนิด Propeller ซึ่งอาจเปนแบบมุมใบคงที่หรือปรับได( กังหันแบบนี้มีใบบังคับ


การไหล เชนเดียวกับแบบปฏิกิริยาแตตัวใบกังหันมีลักษณะคล(ายใบพัด น้ําจะไหลเข(าทางผานใบ
บังคับการไหล และไหลออกตามแนวแกนผานใบกังหัน กังหันแบบนี้ที่แพรหลายมากได(แกแบบ
Kaplan ดังรูปที่ 7.6

รูปที่ 7.6 กังหันน้ําแบบ Kaplan


305

แบบฝ_กหัด

1. เครื่องสูบน้ําซึ่งมีมอเตอรขนาด 15 kW สามารถสูบน้ําได(ในอัตรา 50 l/s เข(าสูถังน้ําซึ่งมีความดัน


200 kPa จงหาประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ํา

2. จงหากําลังของเครื่องสูบน้ําที่ต(องการในการ
สูบน้ําจากถัง A ไปถัง B ดังรูป ด(วยอัตรา
100 l/s กํ า หนดให( เ ครื่ อ งสู บ น้ํ า มี
ประสิทธิภาพ 75%

3. ในรูปเปนการสูบน้ําจากแทงค A ขึ้นไปยัง
แทงค B โดยต( องการอั ตราการไหล 0.5
m3/s ทอมีขนาดเส(นผาศูนยกลาง 0.3 m
การสูญเสียเฮดในระบบทั้งหมดเมื่อเครื่องสูบ
น้ําทํางาน เทากับ 3.0 m จงหากําลังงานที่
เครื่ อ งสู บ น้ํ า ต( อ งให( กั บ ระบบในหน ว ย
กิโลวัตต (kW)

4. ในการสูบน้ําจากถัง A ไปถัง B ดังรูป ถ(า


ใช(เครื่องสูบน้ําขนาด 10 kW จงหาอัตรา
การสู บ น้ํ า กํ า หนดให( เ ครื่ องสู บ น้ํ า มี
ประสิทธิภาพ 75%
306

5. ระบบสู บ น้ํา มี การติ ดตั้ งในลั กษณะดั งรู ป ขนาด


และคุณสมบัติของทอแสดงดังตาราง จงหากําลัง
งานของเครื่องสูบน้ําที่ใช(ในการสูบน้ําด(วยอัตรา
60 l/s ถ(าประสิทธิภาพของเครื่องสูบน้ําเทากับ
75 %

6. ต(องการสูบน้ําออกจากถังเก็บน้ํา ด(วยอัตรา 7.5 l/s ขนาดของทอ และการสูญเสียพลังงานระบุไว(


ดังรูป เครื่องสูบน้ํามีประสิทธิภาพ 70 เปอรเซ็นตจงหากําลังงานที่ใช(ในการสูบและความดันที่จุด C

7. กังหันเพลตันรับสงน้ําผานด(วยทอเหล็ก (Penstock) ความขรุขระของผิวทอเทากับ 0.065 mm


ขนาดเส(นผานศูนยกลาง 40 cm ยาว 1,200 m มีระดับน้ําในอางถึงปลายหัวฉีดเทากับ 150 m ถ(า
อัตราการไหลถูกปลอยผานทอเหล็กมาเทากับ 0.6 m3/s และกําหนดให(ตัวแปรตาง ๆ มีคาดังนี้
c) สัมประสิทธการสูญเสียพลังงานที่ทางเข(าทอตําแหนงที่เชื่อตอกับอางเก็บน้ําเทากับ 0.58
d) สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่กะเปาะเทากับ 0.99
e) มุมของกระเปาะเทากับ 160 องศา
f) ประสิทธิภาพของเพลาและเครื่องกําเนิดไฟฟhาเทากับ 94 เปอรเซ็นต
g) อัตราสวนระหวางเส(นผาศูนยกลางของหัวฉีดตอเส(นผาศูนยกลางของกังหันน้ํามีคาอยูเทากับ
1 ตอ 15
h) ความหนืดจลศาสตรของน้ําเทากับ 8.9x10-7 m2/s
307

i) ประสิทธิภาพสูงสุดของกังหันน้ําเกิดขึ้นเมื่อกังหันหมุนด(วยความเร็ว 48 เปอรเซ็นตของ
ความเร็วของกระแสน้ํา

จงหา
- ขนาดของหัวฉีดและความเร็วที่พุงออกจากหัวฉีด
- เส(นผานศูนยกลางความเร็วการหมุนของกังหันเมื่อกังหันนี้ตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟhา 50 Hz
- กําลังไฟฟhาที่ได(รับ
- ประสิทธิภาพรวมของกังหันน้ําและเครื่องปMîนไฟ

8. จากข(อมูลในข(อ 7. หากจํานวนขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟhาถูกกําหนดไว( 30 ขั้ว จงหาขนาดของหัวฉีดที่


เหมาะสมเพื่อยังคงให(ประสิทธิภาพกําลังไฟฟhาที่ได(รับเทาเดิม
308

บรรณานุกรม

1. กีรติ ลีวัจนกุล. (2538). ชลศาสตร. ซีเอ็ดยูเคชั่น. กรุงเทพฯ.


2. ชัยยุทธ ชินณะราศี (2556). กลศาสตรของไหล. บริษัท แอปเปKลเอ็กเปอรตคอรเปอเรชั่น จํากัด.
กรุงเทพฯ.
3. ชัยสวัสดิ์ เทียนวิบูลย. กลศาสตรของของไหล. โรงพิมพ ก.วิธรรธน. กรุงเทพฯ.
4. โชติไกร ไชยวิจารย. (2546). วิศวกรรมชลศาสตร. สํานักพิมพ ส.ส.ท. กรุงเทพฯ.
5. ธงชัย พรรณสวัสดิ์. (2538). คูมือการออกแบบระบบระบายน้ําเสียและน้ําฝน. วิศวกรรมสถาน
แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ. กรุงเทพฯ.
6. นิตยา หวังวงศวิโรจน. (2547). โจทย 2500 ข(อ กลศาสตรของไห., ท(อป. กรุงเทพฯ.
7. บริษัทแอสซอมจํากัด. คูมือการใช(และทดลองหารหาความสูงเมตราเซนตริกและเสถียรภาพของ
เรือ. กรุงเทพฯ.
8. สันติ ทองพํานัก (2534). ตําราประกอบการสอนวิชาการไหลในทางน้ําเปKด. ภาควิชาวิศวกรรม
ชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
9. สายสุนีย พุทธาคุณเจริญ (2546). ชลศาสตร. ไลบรารี่ นายกรุงเทพฯ.
10. วิบูลย บุญยธโรกุล. (2529). ปM¶มและเครื่องสูบน้ํา. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะ
วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
11. วราวุธ วุฒวิ ณิชย. (2534). การออกแบบอาคารบังคับน้ํา. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะ
วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
309

บรรณานุกรม (ต2อ)
12. Andrew L. Simon., (1981), Basic Hydraulics, John Wiley & Sons, Newyouk.
13. Bos, M. G., (1989), Discharge Measurement Structures, International Institute for
Land Reclamation and Improvement/ILRI, The Netherlands.
14. Chinnarasri, C., Donjadee, S., and Israngkura, U., (2008), Hydraulic characteristics of
gabion-stepped weirs, Journal of Hydraulic Engineering ASCE, Vol. 134(8), pp.1147-
1152.
15. French, R. H., (1994), Open-Channel Hydraulics, McGraw-Hill, Inc, Singapore.
16. Giles, R. V., (1995), Fluid Mechanics and Hydraulics, Blackwell Science.
17. Graf, W. H., (1998), Fluvial Hydraulics: Flow and Transport Processes in Channels
of Simple Geometry, John Wiley & Son, Inc, England.
18. Herzog, M.A.M., (1999), Practice Dam Analysis. 1 ed. Thomas Telford, London.
Mays, L. W., (2001), Water Resources Engineering, John Wiley & Sons, USA.
19. Hikmet Toprak. (2000), Waste water engineering. Retrived May 29, 2013, from
http://web.deu.edu.tr/atiksu/ana58/friction.html
20. Logan, E., (1995), Handbook of Turbomachinery. 1995. Marcel Deckker.
21. Mehrotra, V.K., (2004), Roller Compacted Concrete Dams. 1 ed. Standard
Publishers Distributors, Delhi.
310

บรรณานุกรม (ต2อ)
22. Munson, B. R., Young, D. F., and Okiishi, T. H., (1994), Fundamentals of fluid
mechanics, John Wiley & Sons, Canada.
23. Nestor, J., and Mendez, V., (1998), Sediment Transport in Irrigation Canals,
A.A.Balkema, Netherlands.
24. Potter, M. C., and Wiggert, D. C., (1997), Mechanics of Fluid, Prentice Hall.
25. Roberson, J. A., and Crowe, C. T., (1985), Engineering Fluid Mechanics, John Wiley
& Sons, USA.
26. Robert et al., (1994), Introduction to Fluid Mechanics, John Wiley & Sons, School
of Mechanical Engineering, Purdue University.
27. Schnitter, Nicholas A. J., (1994), History of Dams, the Useful Pyramids. A.A.
Balkema: Rotterdam, Netherlands.
28. Ven Te Chow. (1959), Open Channel Hydraulics, Mc Graw-Hill, Singapore.
29. White, F. M., (1999), Fluid Mechanics, McGraw-Hill.
311

ภาคผนวก
คํานําหน.าหน2วย (Prefixes)
คํานําหน(าหนวย คือ คํานําหน(าที่นํามาใสไว(ด(านหน(าของหนวย เพื่อหลีกเลี่ยงความไมสะดวกใน
การใช(งานตัวเลขที่มีขนาดใหญมากๆ เชน 8 กิโลm (km) เทากับ 8×103 หรือ 8,000 m (m) ซึ่ง กิโลใช(
สัญลักษณ k มีคาเทากับ 103 ในกรณีที่ปริมาณมีคาน(อย ๆ เชน 2 มิลลิm (mm) เทากับ 2×10-3 หรือ
0.002 m (m) ซึ่ง มิลลิ ใช(สัญลักษณ m (ตัวหน(า) มีคาเทากับ 10-3 สําหรับคํานําหน(าอื่น ๆ แสดงดัง
ตาราง

ตารางที่ ภ1 คํานําหน(าหนวย
prefixes Symbol Factor
yotta Y 1 000 000 000 000 000 000 000 000 1024
zetta Z 1 000 000 000 000 000 000 000 1021
exa E 1 000 000 000 000 000 000 1018
peta P 1 000 000 000 000 000 1015
tera T 1 000 000 000 000 1012
giga G 1 000 000 000 109
mega M 1 000 000 106
kilo k 1 000 103
hecto h 100 102
deca da 10 101
- - 1 100
deci d 0.1 10-1
centi c 0.01 10-2
milli m 0.001 10-3
micro µ 0.000 001 10-6
nano n 0.000 000 001 10-9
pico p 0.000 000 000 001 10-12
femto f 0.000 000 000 000 001 10-15
atto a 0.000 000 000 000 000 001 10-18
zepto z 0.000 000 000 000 000 000 001 10-21
yocto y 0.000 000 000 000 000 000 000 001 10-24
312

ตารางที่ ภ2 คุณสมบัติของน้ําที่อุณหภูมิตางๆ

Specific Specific Dynamic Kinematic Surface Vapor Bulk Modulus


Temp. Density
Weight Gravity Viscosity Viscosity tension presure of Elasticity

Reference x10- 3 x10- 6 x102 x10- 7


( °C ) ( kg/m3 ) ( N/m3 ) (m)
2 2
With 4°C (N s/m ) (m /s) (N/m) (N/m2)

0 (liquid) 999.9 9805 0.999 1.792 1.792 7.62 0.06 204


10 999.7 9803 0.999 1.308 1.308 7.48 0.12 211
20 998.2 9789 0.998 1.005 1.007 7.36 0.25 220
25 997.1 9779 0.997 0.894 0.897 7.26 0.33 222
30 995.7 9767 0.996 0.801 0.804 7.18 0.44 223
40 992.2 9737 0.993 0.656 0.661 7.01 0.76 227
50 988.1 9697 0.988 0.549 0.556 6.82 1.26 230
60 983.2 9658 0.985 0.469 0.477 6.68 2.03 228
70 977.8 9600 0.979 0.406 0.415 6.50 3.20 225
80 971.8 9557 0.974 0.357 0.367 6.30 4.86 221
90 965.3 9499 0.968 0.317 0.328 6.12 7.18 216
100 958.4 9438 0.962 0.284 0.296 5.94 10.33 207
313

You might also like