You are on page 1of 26

A Brief Guide to

Basic On-Page SEO


รวมปัจจัยพื้ นฐานห้ามพลาด ปรับหน้าเว็บทําอันดับ SEO
About
Content Shifu

Content Shifu แหล่งคอนเทนต์ความรูด


้ ้าน Digital Marketing ที่
แนะนํา How-to กลยุทธ์ เทคนิค และเครื่องมือ เพื่อปั้ นให้คณ
ุ เป็น
นักการตลาดยุคใหม่ท่ีสง่ มอบ ‘คุณค่า’ ให้กับลูกค้าได้ดีกว่าเดิม หรือ
ช่วยพัฒนาทักษะดิจิทัลให้คณ
ุ ทํางานได้เก่งขึ้น ง่ายขึ้น

ติดตามพวกเราและเตรียมพบกับคอนเทนต์
ด้านดิจิทัลดีๆ ได้ท่ี

This eBook by Content Shifu (Magnetolabs Co., Ltd.) is licensed under a Creative
Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Introduction to
On-Page SEO
Brief Guide
จริงๆ แล้ว การทํา On-page SEO หมายถึงอะไร? และ E-book นีจ
้ ะพูด
ถึงอะไรบ้าง?

On-page SEO นั้น หมายถึง การทํา SEO บนหน้าเพจ ให้เหมาะสม เป็น


ประโยชน์ และง่ายต่อทั้งผูใ้ ช้งานเว็บไซต์และ Search Engine โดยมี
จุดประสงค์ว่า ผูใ้ ช้งานต้องพึงพอใจและ Search Engine สามารถ
เข้าใจหน้าเพจแต่ละหน้าได้เป็นอย่างดี ซึ่งก็มห
ี ลายองค์ประกอบให้
ต้องดูแล

ใน E-book เล่มนี้ ได้รวบรวมปัจจัย On-page จําเป็นที่สง่ ผลต่อการจัด


อันดับเอาไว้ โดยแบ่งออกเป็น 3 พาร์ทด้วยกัน ได้แก่

▲ Content Optimization
▲ CTR Optimization
▲ UX Optimization & Link

คุณสามารถใช้ E-book เล่มนี้ เป็นไกด์ไลน์ ปรับปรุงหน้าเว็บไซต์ หรือ


ใช้เป็น Checklist ตรวจความเรียบร้อยก่อนปล่อยหน้าเพจใหม่ได้

ยิง่ เก็บองค์ประกอบได้ครบมากเท่าไหร่ โอกาสที่เว็บไซต์ของคุณจะทํา


อันดับได้ก็มากขึ้นเท่านั้น
Part 1
Content Optimization
1. Keyword & Keyword Research
คียเ์ วิรด
์ (Keyword) หรือ คําหลัก เป็นองค์ประกอบสําคัญที่ Search Engine
ให้ดว
ู ่าหน้าเพจนั้นๆ เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร พูดถึงอะไรอยู่

เราจึงต้องมีการทํา Keyword Research เพื่อเลือกคียเ์ วิรด


์ ที่จะนํามาใช้ โดย
ในหนึ่งหน้าเพจควรมีคําหลัก (Focused Keyword) เพียงคําเดียวที่ตรงกับ
ประเด็นหลักของหน้าเพจ ส่วนเกณฑ์ในการคัดเลือกง่ายๆ ก็มีอยู่ 3 เกณฑ์
ด้วยกัน

1. เกี่ยวข้องกับคอนเทนต์ในหน้าเพจ (Relevant)
2. มีคนใช้ มีปริมาณการเสิรช
์ (Search Volume)
3. สามารถแข่งขันได้ (Keyword Difficulty) ค่าการแข่งขันไม่สงู จนเกิน
ไปเมื่อเทียบกับ Domain Authority หรือคะแนนความน่าเชื่อถือของ
เว็บไซต์

2. Related Keyword คําเกีย


่ วข้อง
นอกจาก Focused Keyword ที่เรามุง่ เน้นแล้ว การแทรก “Related Key-
word” หรือคําที่เกี่ยวข้องกับคําหลัก ไม่ว่าจะเป็นคําที่มค
ี วามหมายเหมือนกัน
หรือคําที่คนมักจะเสิรช
์ เกี่ยวกับประเด็นนั้นๆ ด้วย ก็จะช่วยเพิม
่ อัตราการ
ค้นหาเข้ามาจากหลากหลายคียเ์ วิรด
์ รวมทั้ง ช่วยให้ Search Engine เห็น
ความเกี่ยวข้องและเข้าใจคอนเทนต์ในหน้าเว็บได้ดีข้น
ึ ด้วย

1
3. Keyword Density ความหนาแน่นของคียเ์ วิรด

โดยทั่วไปแล้ว เราจะกระจายคียเ์ วิรด
์ ให้อยูต
่ ลอดบทความหรือคอนเทนต์ใน
จุดต่างๆ ของหน้าเพจ ซึ่งปริมาณคียเ์ วิรด
์ ที่แนะนําจะอยูท
่ ่ี 2% - 4% ถ้าน้อย
กว่านี้ Search Engine อาจเข้าใจผิดว่าเรากําลังพูดถึงเรื่องอื่น (ซึ่งอาจมี
ปริมาณคําที่ใช้มากกว่า Focused Keyword ที่เราตั้งใจ) แต่ถ้ามากกว่านี้จะดู
ว่าเราจงใจ Optimize ให้เพื่อการทําอันดับ ไม่ใช่เพื่อผู้ใช้งานจริงๆ

4. ประโยชน์และคุณภาพของคอนเทนต์
Google ให้ความสําคัญกับคุณภาพของคอนเทนต์และประโยชน์ท่ีผู้ใช้งาน
จะได้รบ
ั ซึ่ง Google จะรูไ้ ด้ด้วยการจับ User Signal ดูพฤติกรรมการใช้งาน
ของคนที่เสพคอนเทนต์ อีกทั้ง ยังพัฒนาอัลกอริธม
ึ เพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ของเนื้อหาอีกด้วย

ดังนั้น หน้าเพจแต่ละหน้าของเราต้องให้ประโยชน์กับผู้ใช้งาน นํามาสู่ 3


ปัจจัยหลักๆ ที่เรียกว่า “EAT”

5. E-A-T ลักษณะของเว็บเพจคุณภาพที่ Google รัก


Google ให้ความสําคัญกับเรื่อง EAT สามตัวอักษรจําง่ายที่ไม่ได้หมายความ
ว่า “กิน” แต่ Google กําลังหมายถึง 3 ลักษณะของเว็บเพจคุณภาพที่จะได้รบ

การจัดอันดับดีๆ

2
E - Expertise หมายถึง ความเชี่ยวชาญของเว็บไซต์หรือของผู้เขียน
ซึ่งมาจากคอนเทนต์หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น เว็บไซต์หนึ่ง
เขียนถึงเฉพาะด้าน SEO ตลอด สะท้อนความเชี่ยวชาญได้

A - Authoritativeness หมายถึง อํานาจที่สง่ อิทธิพลต่อผู้อ่ ืน กล่าว


คือ เว็บเพจหรือผู้เขียนมีคนเชื่อถือ มักจะได้รบ
ั การอ้างอิงหรือ
เข้ามาหาความรูอ
้ ยูเ่ สมอ

T - Trustworthiness หมายถึง ความน่าเชื่อถือ เช่น มีการอ้างอิง


แหล่งที่มาน่าเชื่อถือ และมีคนเข้ามาหาข้อมูลซ�า (ยกตัวอย่างเช่น
wikipedia.com คือ เว็บไซต์ท่ีสร้าง Trustworthiness ได้ดี)

6. ความยาวของคอนเทนต์
คอนเทนต์ท่ีมีคณ
ุ ภาพ ให้ประโยชน์ มักจะเป็นคอนเทนต์ท่ีค่อนข้างยาว และ
อาจเป็นเพราะว่าสามารถดึงให้คนอยูบ
่ นหน้าเพจได้นานกว่า คอนเทนต์ท่ีมี
ความยาวมากกว่าจึงมีแนวโน้มที่จะทําอันดับได้ดีกว่า โดยความยาวที่เรา
แนะนําจะอยูท
่ ่ี 700 - 1000 คําขึ้นไป

แต่ท้ังนี้ ก็ข้น
ึ อยูก
่ ับปัจจัยอื่นๆ ด้วย

3
7. Heading 1, 2, 3 หัวข้อของคอนเทนต์
Heading หรือ Heading tag บนหน้าเว็บไซต์ นอกจากมีหน้าที่ท่ีเป็นหัวข้อ
ให้กับบทความแล้ว Heading ยังช่วยเป็นตัวกําหนดโครงสร้างคอนเทนต์ของ
เว็บเพจ ให้ Crawler ของ Search Engine เข้ามาทําความเข้าใจเว็บเพจได้

▲ H1 มักจะเป็นส่วนของชื่อเว็บเพจ
▲ H2 และ H3 ก็มีความสําคัญลดหลั่นลงมา

นอกจากนี้ การแทรก Keyword ไว้ใน Heading ก็จะช่วยให้ Bot เข้าใจว่า


เว็บเพจกําลังพูดถึงเรื่องอะไรอยู่

ตัวอย่างการเลือกใส่ Heading ให้ตัวหนังสือใน WordPress

4
5
10. เพิ่ มคุณค่าให้คอนเทนต์ดว
้ ยสื่ อหลากประเภท
(Multimedia)
คอนเทนต์ท่ีเป็นตัวหนังสืออย่างเดียว อาจไม่สามารถดึงผู้ใช้งานให้อยูก
่ ับ
หน้าเว็บไซต์ได้นาน หากใส่รูปภาพ วิดีโอ (Embed Video) หรือ Infographic
ไว้ในหน้าเพจหรือแทรกระหว่างบทความ ก็จะช่วยให้ผู้ใช้งานเข้าใจเนื้อหา
ได้มากขึ้น สนใจ และอยูก
่ ับหน้าเพจได้นานขึ้นด้วย

11. ตัง
้ ชื่อไฟล์ให้ครบ
อีกหนึ่งจุดที่มักจะพลาดกันบ่อยๆ ก็คือการตั้งชื่อไฟล์ต่างๆ ก่อนจะอัปโหลด
ขึ้นเว็บ ซึ่งถือเป็นการโยนโอกาสทําคะแนนกับ Google ทิ้งไป

Google Bot นั้นยังไม่เก่งขนาดมองเห็นภาพหรือเข้าใจวิดีโอได้ สิง่ ที่จะบอก


ให้ Bot รูว
้ ่าสื่อนั้นๆ เกี่ยวกับอะไรก็คือชื่อไฟล์ และเราควรตั้งชื่อไฟล์ต่างๆ
ให้เป็นภาษาที่อ่านรูเ้ รื่อง ยิง่ ถ้าเป็นคียเ์ วิรด
์ สําหรับหน้าเพจหรือสิง่ ที่คนเสิรช

หาจริงๆ Google ก็จะเข้าใจหน้าเพจของเรามากขึ้น

สําหรับ รูปภาพมีอีกจุดที่เราควรให้ความสําคัญเช่นเดียวกัน นั่นคือ Alt Text


(Alternative Text) โดยปกติแล้ว Alt Text จะปรากฏขึ้นมาตอนที่ไฟล์รูปยัง
โหลดไม่เสร็จหรือไม่แสดงผลเพื่อไม่ให้ผู้ใช้งานเว็บงง ซึ่ง Google Bot เอง
ก็จะอ่านข้อความในส่วนนี้เพื่อทําความเข้าใจไฟล์

6
ในส่วนชื่อไฟล์และ Alt Text เป็นอีกจุดที่สามารถแทรกคียเ์ วิรด
์ ของเว็บเพจ
นั้นๆ ลงไปได้เพื่อให้ Google เห็นความเกี่ยวข้องกับหน้าเพจได้

อ่านเพิม
่ เติม: วิธท
ี ํา SEO ให้รูปภาพเสิรช
์ เจอบน Google Image Search

12. User Intent


แม้ว่าจุดเริม
่ ต้นของการทํา On-page SEO สําหรับหลายๆ คนแล้ว เรื่องการ
ทํา Keyword Research และเลือกคียเ์ วิรด
์ เป็นเรื่องที่สาํ คัญมากๆ ต้องมี
เทคนิค ต้องเลือกใช้ให้ถก

แต่ปัจจุบน
ั อัลกอริธม
ึ ของ Google พัฒนามามากแล้ว และจุดประสงค์จริงๆ
การทํางานของ Google Search Bot หรือ Crawler ไม่ใช่การหาและจัดอันดับ
“Keyword” แต่เป็นการหาสิง่ ทีผ
่ เู้ สิรช
์ ต้องการจริงๆ หรือ “User Intent”

ที่มารูปภาพ blog.google

7
ตัวอย่างข้างต้น คือ ผลการค้นหาบน Google หลังจากที่ปล่อย BERT Update
ซึ่งเป็นการอัปเดตที่ทําให้ Google สามารถเข้าในภาษาของมนุษย์ได้ดีข้น

สังเกตว่า ในผลการค้นหาทั้งใน Title และ Description ไม่ปรากฏคียเ์ วิรด


์ ที่
ใช้ในการค้นหาเลย

ดังนั้น สิง่ ที่เราควรโฟกัสมากกว่าเรื่องการใช้คียเ์ วิรด


์ คือ คอนเทนต์ของเรา
ต้องมีเนื้อหาที่ตอบโจทย์ผใู้ ช้งานจริงๆ เดาว่าผูใ้ ช้งานสงสัยเรื่องอะไร เราก็
ทําคอนเทนต์ให้ตอบโจทย์ของเขา ซึ่งองค์ประกอบอย่างการใช้ Related
Keyword (หรือศัพท์เทคนิคกว่านัน
้ คือ LSI Keyword) ก็เป็นอีกกลยุทธ์ท่ีใช้ได้

13. หน้าเพจต้องแชร์ได้งา
่ ยและน่าแชร์ (Shareable)
การที่บนหน้าเพจหรือบนหน้าเพจคอนเทนต์ของเรามีปุ่มที่สามารถแชร์ไป
ยัง Social Media ต่างๆ ได้สะดวก จะช่วยเพิม
่ ยอด Visit page ให้กับหน้า
นั้นๆ ได้ง่ายๆ

นอกจากนี้ เรายังอาจได้ Referral link กลับมายังเว็บไซต์ซ่งึ เป็นอีกหนึ่งปัจจัย


ที่สง่ ผลต่อ Page Authority หรือความน่าเชื่อถือของเว็บเพจด้วย

8
ทั้งนี้ ก่อนที่เราจะให้ผอ
ู้ ่านแชร์ เราก็ต้องทําคอนเทนต์ของเราให้นา่ แชร์ก่อน หาก
ทําคอนเทนต์คณ
ุ ภาพ ตอบโจทย์คนเสิรช
์ ได้ น่าสนใจ ให้คณ
ุ ค่า ให้ประโยชน์ได้
มากกว่า ทําไมเขาจะไม่แชร์ล่ะ

9
Sitelink

FAQ

12
นอกจากการ Optimize เพื่อ Rich Snippet แล้ว ยังมีสว
่ นที่เรียกว่า Fea-
tured Snippet หรือ Zero Position ที่เป็นเทรนด์ในการแข่งขันกันอยู่

ตัวอย่าง Featured Snippet ในรูปแบบ Listing

Featured Snippet นั้น คือ การ์ดคําตอบสั้นๆ เพื่อให้คําตอบแก่ผู้เสิรช


์ ทันที
โดยไม่จําเป็นต้องกดเข้าไปอ่านเนื้อหาภายในเว็บเพจ ซึ่งการ์ดคําตอบนี้จะ
อยูเ่ หนือเว็บไซต์อันดับแรก เราจึงมักเรียกตําแหน่งนี้ว่า “Zero Position”

ส่วนวิธก
ี ารทําให้หน้าเพจถูกเลือกเป็น Featured Snippet จะยังไม่มส
ี ต
ู รที่
แน่นอน แต่จากการสังเกตและข้อสันนิษฐานของคนที่ปรับปรุง SEO กัน ก็
สรุปสูตรที่ชว
่ ยเพิม
่ โอกาสได้รบ
ั การ Feature เช่น

▲ วลีหลักหรือ Keyphrase อยูใ่ นรูปคําถามและเนื้อหาเป็นคําตอบ


▲ มีโครงสร้างบทความ/เนื้อหาชัดเจนด้วย Heading
▲ บอกขัน
้ ตอนหรือให้คําตอบแบบ Listing โดยใช้ Bullet หรือตัวเลขระบุ

13
Part 3
UX Optimization & Link
(User Experience)

17. แสดงผลได้ดบ
ี นมือถือ (Mobile Responsiveness)
ทุกวันนี้ผู้คนเสิรช
์ Google ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile device) มากกว่า
ผ่าน Desktop แล้ว ดังนั้น Google จึงให้ความสําคัญกับเรื่อง Mobile
Responsiveness หรือการแสดงผลบนมือถือที่ดี เป็นหนึ่งในปัจจัยการจัด
อันดับเว็บไซต์ (Ranking)

ตัวอย่างหน้าตาเว็บไซต์ท่ีแสดงผลบน Mobile ที่ดี


ตาม Webmaster Mobile Guide ของ Google

โดยทั่วไป ถ้าเว็บไซต์ใช้ธม
ี ของ Website Builder อย่าง WordPress, Wix หรือ
เจ้าดังเจ้าอื่นๆ เรื่องของหน้าตาเว็บไซต์ หรือ UI (User Interface) ก็มักจะ
รองรับการแสดงผลบน Mobile อยูแ
่ ล้ว แต่ถ้าหากเว็บไซต์ของคุณเขียนขึ้นมา
ใหม่ อาจจะต้องเช็คดูว่าแสดงผลเป็นอย่างไร หากแสดงผลได้ไม่ดี ส่งผลต่อ
SEO แน่ๆ ต้องรีบปรึกษากับผู้ดแ
ู ลเว็บไซต์หรือนักพัฒนาเว็บไซต์เพื่อแก้ไข

ตรวจสอบการแสดงผลด้วย Mobile-Friendly Test

14
15
Main Menu

Navigator

16
8
20. 404 Not Found Page

ตัวอย่างหน้า 404 Not Found ของ contentshifu.com

เวลาที่เราค้นหาอะไรไม่เจอ คลิกเข้าลิงก์พงั สิง่ ที่เราจะเจอก็คือหน้า 404


Not Found ซึ่งในแง่ผู้ใช้อย่างเราเจอหน้านี้เข้าไปก็รูท
้ ันทีว่ามีปัญหา และ
อาจปิดเว็บไซต์ออกไปเลย

จะดีกว่าไหม ถ้าเราออกแบบ 404 Not Found ให้เป็นดีไซน์เดียวกับเว็บไซต์


ของเรา ทําลิงก์กลับไปที่หน้า Home page ได้ พร้อมคําอธิบายที่เป็นมิตร
และถ้ายิง่ สามารถค้นหาสิง่ ที่อยูใ่ นเว็บไซต์ของเราได้ ไม่ปล่อยให้ผู้ใช้กระโดด
ออกจากเว็บไซต์ของเราไปโดยที่ยงั ไม่ได้ทําอะไร ซึ่งการทํา Custom 404
Not Found ก็เป็นสิง่ ที่ Google สนับสนุนให้ทําอย่างยิง่ เช่นกัน

21. Friendly URL


URL เปรียบเสมือนป้ายบอกทางที่คนจะเข้ามาเจอหน้าเพจของเรา ลิงก์
URL ที่อ่านได้ (Readable) สื่อสารว่าเกี่ยวข้องกับอะไรย่อมดีกว่า URL

17
23. แก้ไข Broken link และทํา Redirect URL
ทุกครั้งที่ปล่อยหน้าเพจใหม่ๆ ควรตรวจสอบลิงก์ต่างๆ ว่าเข้าถึงหน้าเว็บได้
จริงหรือไม่ ลิงก์ไหนผิด ลิงก์ไหนหายไปก็ควรแก้ไขเอาออก หรือหากมีการ
เปลี่ยนแปลงที่อยู่ URL ก็ควรทําการ Redirect จากเว็บเพจเก่าไปยังเว็บเพจ
ใหม่เพื่อให้ลิงก์ยงั เข้าถึงได้

หากมีลิงก์อยูใ่ นหน้าเพจที่กดแล้วเข้าถึงไม่ได้ ก็จะส่งผลให้ประสบการณ์การ


ใช้งานไม่ดี ส่งผลต่อค่า Score การใช้งานเว็บไซต์

24. ทํา Internal link เชื่อมหน้าเพจต่างๆ เข้าด้วยกัน


มีหน้าเพจใหม่ๆ มา สิง่ ที่แนะนําให้ทําอยูเ่ สมอคือการลิงก์หน้าเพจภายใน
เว็บไซต์เข้าหากัน หรือทํา Internal link โดยประโยชน์ของการเชื่อมหน้าเพจ
ต่างๆ ก็เพื่อที่จะให้ผู้ใช้งานคลิกเข้าไป และใช้เวลาอยูภ
่ ายในเว็บไซต์ของเรา
นานขึ้น นอกจากนี้ การเชื่อมหน้าเพจที่เกี่ยวข้องกันยังช่วยให้ Search Bot
เห็นความสัมพันธ์และเข้าใจเว็บเพจนั้นๆ มากขึ้น ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร

ทั้งนี้ การทํา Internal link ควรทําเพื่อให้ประโยชน์ในการเข้าถึงคอนเทนต์


เข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งาน และทํา Internal link อย่างเป็นธรรมชาติ ไม่ใช่การ
แปะลิงก์เยอะๆ ที่ดู “จงใจ” และดู “Spamy” ซึ่งจะส่งผลเสียมากกว่าผลดี

สรุปทริคในการใส่ Internal link

▲ เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน
▲ ซ่อนลิงก์ไว้ในตัวหนังสือหรือที่เรียกว่า Anchor text

19
▲ Internal link อยูใ่ นตําแหน่งหลักๆ ของหน้าเว็บเพจ หรือกระจายอยู่
ในคอนเทนต์อย่างเป็นธรรมชาติ
▲ ฝังลิงก์ไว้ในประโยคที่ประกอบไปด้วย Focused Keyword ของหน้าที่
ลิงก์ไปหา มากกว่าฝังไว้ในคียเ์ วิรด
์ เดี่ยวๆ ที่ดจ
ู งใจเกินไป (ช่วยเพิม

ความชัดเจน น่าคลิก และ Bot เห็นความสัมพันธ์)

25. ทํา External link


การลิงก์เว็บไซต์ของเราไปหาเว็บไซต์ท่ีมเี นื้อหาที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้ Google
ให้ความสัมพันธ์ของเนื้อหาระหว่างเว็บไซต์ท่ีเราลิงก์ไป และยิง่ ถ้าเราลิงก์ไป
ยังเว็บไซต์ท่ีมีความน่าเชื่อถือ มี Domain Authority สูงๆ เว็บไซต์ของเราก็จะ
น่าเชื่อถือขึ้นมาในสายตา Google ด้วย

และเช่นเดียวกันกับการทํา Internal link ก็ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของผู้


ใช้งานและใส่ลิงก์อย่างเป็นธรรมชาติ

20
ให้มีคณ
ุ ภาพและทํา Content Optimization รวมทั้งปรับปรุงทํา
UX Optimization ในภาพรวม

ศึกษาเพิม
่ เติม: เครื่องมือที่ดีท่ีสด
ุ และใช้งานได้ฟรีสาํ หรับการติดตาม
Performance ของเว็บไซต์และการปรับปรุง On-page SEO คือ Google
Analytics คุณสามารถเรียนรูก
้ ารใช้งานได้ฟรีจากคอร์สของ Google หรือ
ศึกษา Metrics พื้นฐานของใน GA ได้ในบทความของเรา

22
ติดตามความรูด
้ า
้ น SEO ครบทุกเรือ
่ งในรูปแบบ
SEO Complete Guide

https://contentshifu.com/pillar/seo/

You might also like