You are on page 1of 9

บทที่ ๑

บทนำ
๑. แนวคิดที่มา และความสำคัญของโครงงาน
จากการที่พวกผมศีกษาเกี่ยวกับหลอกไฟ LED ที่ใชในการปลูกพืช พบวา แสงไฟLED แตละสีสงผลตอการ
เจริญเติบโตของพืชตางกัน แตละแสงของ LED แตละสีมีความยาวคลื่นที่แตกตางกัน มีผลการวิจัยออกมาแลววา แสงสีมวง
สามารถทำใหพืชเจริญเติบโตไดดีที่สุดเนื่องจาดความเขาแสงของแสงสีมวงพืชสามารถดูซับไปใชไดมากกวาแสงสีอื่น และมีการ
วิจัยวา แสงสีแดง ชวยสังเคราะหแสง เปนสีที่พืชดูดซับมากที่สุด สงเสริมการงอกของเมล็ดพืช หรือ ยับยั้งการงอกของเมล็ดพืช
บางชนิด และยังสงผลตอการออกดอกของพืช แสงสีน้ำเงิน แสงสีคราม แสงสีมวงชวยสังเคราะหแสง ชวยการตอบสนองของ
พืชตอแสงในเรื่องการเบนหรือโคงงอเขาหาแสงของพืช แสงมวงหรือสม สามารถชวยการงอกของเมล็ด แสงสีเขียว มีผลในการ
ระงับการเจริญเติบโตของพืชแสงสีแดงไกล มีผลในการยับยั้งการงอกของเมล็ด
พวกผมจึงไดคิดการทดลองการปลูกพืชดวยหลอดไฟ LED สองสีมาปลูกตนไม เนื่องจากมีงานวิจัยบอกมาแลววาสี
ของแตละแสงนั้นสามารถปลูกพืชไดดีอยางไรจึงทำการทดลองวาถานำแสงสองสีมาปลูกตนไมจะทำใหจะทำใหขอดีของแตละ
สีมารวมกันหรือไม โดยพวกผมจะทำการทดลอง ๓ การทดลองในการปลูกตนถั่วเขียวโดยการทดลองที่ ๑.นำแสง สีแดง มาไว
ทางขวาของตนไมและนำแสงสีนำ้ เงิน มาไวทางซายของตนไม การทดลองที่ ๒.นำแสงสีน้ำเงินมาไว ทางขวาของตนไมและนำ
แสงสีเขียว มาไวทางซายของตนไม การทดลองที่ ๓.นำแสง สีเขียว มาไวทางขวาของตนไมและนำแสงสีมวง มาไวทางซายของ
ตนไม และนำตนไมวางไวตรงกลางของแสงสองสี โดยตัวกลองจะมีขนาดกวาง ๔๕ เซนติเมตร ยาว ๕๕ เซนติเมตร
สูง ๘๐ เซนติเมตร
ดังนั้นเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของพืช โดยการใช LED 2 สี พวกผมจึงทำการทดลองการปลูกพืชดวยหลอกไฟLED
2 สี ขึ้นเพื่อตอบสมมุติฐานในการเจริญเติบโตของพืช วาถานำแสงสองสีมาปลูกตนไมจะทำใหจะทำใหขอดีของแตละสีมา
รวมกันหรือไม

๒ วัตถุประสงคของโครงงาน
๒.๑ เพื่อศึกษาสีของแสงไฟLEDแตละสีที่สงผลตอการเจริญเติบโตของพืช
๒.๒ เพื่อทดลองประสิทธิภาพของแสงLEDแตละสีในการเจริญเติบโตของพืช
๒.๓ เพื่อศึกษาการปลูกพืชดวยแสงประดิษฐ

๓. ตัวแปรที่ศกึ ษา
-ตัวแปรตน สีของแสงจากหลอดไฟLED
-ตัวแปรตาม จำนวนผล จำนวนดอก จำนวนใบ ความสูง เสนผานศูนยกลางของลำตน
-ตัวแปรควบคุม เวลา สถานที่ พันธุของพืชที่ปลูก ยี่หอหลอดไฟLED กระถางตนไม ปริมาณดิน ปริมาณปุย
ปริมาตรน้ำ
๔. ขอบเขตของโครงงาน
๔.๑ ระยะเวลาในการศึกษา วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถึง ๙ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๖๖
๔.๒ ๒๔/๒ ถนน.ประชาพัฒนา เเขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ๑๐๕๒๐

๕. วิธีการดำเนินการ
๕.๑ วิเคราะปญหา
๕.๒ ศึกษาคนควาจากเอกสารแหละแหลงขอมูล
๕.๓ ตั้งวัตถุประสงค
๕.๔ ตั้งสมมุติฐาน
๕.๕ สำรวจและทดลอง
๕.๖ บันทึกผลการทดลอง
๕.๗ สรุปผลการทดลอง

๖. ประโยชนที่ไดรับ
๖.๑ ไดความรูจากการศึกษาสีของแสงไฟLEDแตละสีที่สงผลตอการเจริญเติบโตของพืช
๖.๒ ไดทักษะในการปลูกพืชแบบในพื้นที่ปด
๖.๓ ไดความรูในการปลูกพืชโดยการใชแสงประดิษฐ

๗. นิยามศัพท
แสงประดิษฐ คือ แหลงกำเนิดแสงที่มนุษยสรางขึ้น เชน หลอดไฟ กองไฟ เทียน แฟลช ฯลฯ โดยสวนมากแสง
เหลานี้จะสามารถควบคุมไดทั้งความแรงและทิศทาง แตการใชแสงประดิษฐจะมีอุณหภูมิสีที่แตกตางกัน
หลอดไฟLED หรือ(Light Emitting Diode) คือ 'ไดโอดชนิดเปลงแสง' ที่สามารถนำไปติดตั้งในอุปกรณ
อิเล็กทรอนิกสเพื่อแสดงสถานะ รวมถึงเพื่อใชเปนแหลงกำเนิดแสงแบบตาง ๆ
การสังเคราะหแสงของพืช คือ กระบวนการสรางอาหารของพืชสีเขียว โดยมีคลอโรฟลลทำหนาที่ดูดพลังงานแสง
จากดวงอาทิตยแลวเปลี่ยนสารวัตถุดิบคือน้ำและแกสคารบอนไดออกไซด ใหเปน น้ำตาลกลูโคส น้ำ และ แกสออกซิเจน
บทที่ ๒
เอกสารที่เกี่ยวของ
ในการศึกษาโครงงาน เรื่อง สีของแสงที่มผี ลตอการเจริญเติบโตของพืช ผูจัดทำไดรวบรวมแนวคิดตางๆจาก
เอกสารที่เกี่ยวของดังตอไปนี้
๒.๑ เอกสารทีเ่ กี่ยวของ
๒.๑.๑ พืชสามารถดูดกลืนแสงอะไรไดดีที่สุด
๒.๑.๒ เเสงเเตละชนิดทำใหพืชเจริญเติบโตดานใด
๒.๑.๓ ความเขมแสงของแตละสี
๒.๑.๔ วิธีการปลูกถั่วเขียว
๒.๑.๕ ระยะเวลาในการปลูกถั่วเขียว
๒.๑.๖ เเสงเทียมดีกวาเเสงจากดวงอาทิตยอยางไร
๒.๑.๗ อุณหภูมิที่เหมาะสมกับพืชที่ปลูก
๒.๑.๘ สิ่งที่ควรรูเ ปนเบื้องตนกอนใชแสงเทียมเพื่อปลูกพืช
๒.๑.๙ การสังเคราะหแสงของพืช
๒.๑.๑๐ แสงทำปฏิกิริยายาใดกับพืช
๒.๑.๑๑ การตอบสนองของพืชตอเเสงชนิดตาง
๒.๑.๑๒ วิธีการปลูกพืช indoor

๒.๑.๑ พืชสามารถดูดกลืนแสงอะไรไดดีทสี่ ุด
คลอโรฟลลเอดูดกลืนแสงไดดีที่ความยาวคลื่นประมาณ ๔๐๐-๔๕๐ และ ๖๖๐-๗๐๐ นาโนเมตร
สสวท. (๒๕๖๒). ชีวะวิทยา(ออนไลน). สืบคนจาก
https://www.scimath.org/ebooks/10300/flippingbook/index.html#190 [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๒ เเสงเเตละชนิดทำใหพืชเจริญเติบโตดานใด
-แสงสีแดง ใหผลชวยเรื่อง ผลดก
-แสงสีน้ำเงิน ใหผลชวยเรื่อง ใบมีความสมบูรณ
-แสงสีเขียว ใหผลชวยเรื่อง ลำตนสุง
สวนผักบานคุณตา. (๒๕๖๑). นวัตกรรมการปลูกพืชผักในที่รมดวยแสงจากหลอด LED(ออนไลน). สืบคนจาก
https://www.grandpaurbanfarm.net/?p=1466&fbclid=IwAR04ROTFbIyo77T0jez_kv2GU-
k5xWrgCgp5czTZ4nyIAnOWCn7Bmg0kdNw [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]
๒.๑.๓ ความเขมแสงของแตละสี
มวง ๓๘๐-๔๓๕ nm
น้ำเงิน ๔๓๕-๕๐๐ nm
เขียว ๕๐๐-๕๖๕ nm
เหลือง ๕๖๕-๖๐๐ nm
สม ๖๐๐-๖๓๐ nm
แดง ๖๓๐-๗๕๐ nm
IPACH. (๒๕๖๐). ความเขมแสงของแตละสี(ออนไลน). สืบคนจาก
https://ipachthailand.com/2017/05/01/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%
E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0
%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87-2/
[๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๔ วิธีการปลูกถั่วเขียว
- ปลูกแบบหวาน ใชเมล็ดพันธุประมาณ ๖-๘ กิโลกรัมตอไร
- ปลูกแบบโรยเปนแถว ใหแถวหางกันประมาณ ๒๕ เซนติเมตร จะใชเมล็ดพันธุประมาณ ๕-๖ กิโลกรัมตอไร กอน
ปลูก ไถเตรียมดินประมาณ ๑-๒ ครั้ง แลวหวานหรือโรยเมล็ดพันธุทันที โดยไมตองปลอยดินตากแดดจนแหง
Plookphak.com. (๒๕๖๒). วิธีปลูกถั่วเขียว (Mung Beans)(ออนไลน). สืบคนจาก
https://www.plookphak.com/how-to-plant-mung-beans/ [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๕ ระยะเวลาในการปลูกถั่วเขียว
เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ ๖๕-๗๐ วัน
Plookphak.com. (๒๕๖๒). วิธีปลูกถั่วเขียว (Mung Beans)(ออนไลน). สืบคนจาก
https://www.plookphak.com/how-to-plant-mung-beans/ [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๖ เเสงเทียมดีกวาเเสงดวงอาทิตยอยางไร
แสงแดดควบคุมดวยการบังแดด แตควบคุมแหลงกำเนิดไมไดพืชตนเล็กตนเด็กจึงมักเหี่ยวแหงตาย
ทามกลางแสงแดด
แสงเทียมควบคุมแหลงกำเนิดไดจึงมักนำมาเพาะตนกลาใหแข็งแรงใน
JOE. (๒๕๖๕). แสงแดดกับแสงเทียม(ออนไลน). สืบคนจาก
https://thaha.org/%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%
B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E
0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1/ [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]
๒.๑.๗ อุณหภูมิที่เหมาะสมกับพืชที่ปลูก
ถั่วเขียวสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินแถบทุกชนิด ที่มีคาความเปนกรดดาง ๕.๕-๗.๐ อุณหภูมิที่เหมาะสม
๒๕-๓๕ องศาเซลเซียส การปลูกและงอกในชวงอุณหภูมิต่ำกวา ๑๕ องศาเซลเซียส ถั่วเขียวจะชะงักการเจริญเติบโต
Kubota. (๒๕๕๙). ถั่วเขียวพืชไร่หลังนา(ออนไลน์). สืบค้นจาก
https://www.kubotasolutions.com/knowledge/plants/detail/512 [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๘ สิ่งที่ควรรูเปนเบื้องตนกอนใชแสงเทียมเพื่อปลูกพืช
แสงธรรมชาติที่มาจากดวงอาทิตยประกอบดวยสเปกตรัมของแสง (Light spectrum) ในชวงความยาว
คลื่น (Wavelength) ระหวาง ๒๐๐-๕๐๐๐ นาโนเมตร (nm) จัดแบงเปน ๓ ประเภทคือ แสงชวงคลื่นสั้น แสงชวง
คลื่นยาว และแสงชวงคลื่นที่ตาเราสามารถมองเห็นได ซึ่งการที่แสงมีความยาวคลื่นแตกตางกัน ทำใหเกิดสีที่แตกตาง
กันไปดวย แสงที่พืชนำมาใชในการสังเคราะหดวยแสงเพื่อการเจริญเติบโต สรางใบ ดอก และผล คือแสงในชวงคลื่น
ที่ตาเราสามารถมองเห็นได (Visible Light) ซึ่งเปนแสงที่มีความยาวคลื่น ๓๘๐-๗๖๐ นาโนเมตร ประกอบดวยแสงสี
ตาง ๆ คือ มวง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง สม และแดง โดยพืชจะดูดซึมแสงเพื่อสรางคลอโรฟลลชนิด a และ b ได
ดีที่สุดระหวางความยาวคลื่น ๔๐๐-๔๘๐ นาโนเมตร (แสงสีน้ำเงิน) และระหวาง ๖๓๐-๖๘๐ นาโนเมตร (แสงสีแดง)
เวลาพืชไดรับแสง พืชไมไดนำแสงไปใชงานทั้งหมด เพราะจะมีชวงแสงบางชวงที่พืชตองการเทานั้น ชวงแสงนั้น
เรียกวา Photo synthetically Active Radiation (PAR) อยูในชวงความยาวคลืน่ ๔๐๐-๗๐๐ นาโนเมตร นั่น
หมายความวา ไมวาหลอดไฟจะสวางหรือแรงแคไหน ถาไฟนั้นมีชวงแสงที่พืชนำไปใชไดนอย ก็ถือวาประสิทธิภาพใน
การนำไปใชปลูกตนไมก็นอยเชนกัน
บานและสวน. (๒๕๖๕).แสงไฟสำหรับปลูกตนไมในบาน ทางรอดเมื่อในหองมีแสงนอย(ออนไลน).
https://www.baanlaesuan.com/199045/ideas/led_growlight [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๙ การสังเคราะหแสงของพืช
การสังเคราะหดวยแสงเกิดขึ้นไดที่ทุกสวนของตนพืชที่มีสีเขียว โดยมีใบเปนสวนที่ทำหนาที่นี้โดยตรง
ตามปกติใบของพืชจะกางออกใหไดรับแสงสวางเต็มที่และกานใบมักจะมีการบิดตัวตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย
เพื่อใหใบไดรับแสงแดดอยูเสมอ ผิวดานบนสวนที่รับแสงเรียกวาหลังใบ สวนผิวดานลางที่ไมไดรับแสงเรียกวาทอง
ใบ ทางดานหลังใบมักมีสีเขียวเขมและผิวเรียบกวาทางดานทองใบ

ปจจัยที่มีผลตอการสังเคราะหแสง
๑.ความเขมของแสง
ถามีความเขมของแสงมาก อัตราการสังเคราะหดวยแสงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อุณหภูมิกับความเขมของแสง มี
ผลตออัตราการสังเคราะหดวยแสงรวมกัน คือ ถาอุณหภูมิสูงขึ้นเพียงอยางเดียว แตความเขมของแสงนอยจะไมทำ
ใหอัตราการสังเคราะหดวยแสงเพิ่มขึ้น อัตราการสังเคราะหดวยแสงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงขีดหนึ่งแลวอัตราการ
สังเคราะหดวยแสงจะลดต่ำลงตามอุณหภูมิและความเขมของแสงที่เพิ่มขึ้นอุณหภูมิที่เหมาะสมอยูในชวง ๐-๓๕ °C
หรือ ๐-๔๐ °C ถาอุณหภูมิสูงกวานี้ อัตราการสังเคราะหดวยแสงจะลดลง ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการสังเคราะหดวย
แสงเปนปฏิกิริยาที่มีเอนไซมควบคุม และการทำงานของเอนไซมขึ้นอยูกับอุณหภูมิ
ถาความเขมของแสงนอยมาก จนทำใหการสังเคราะหดวยแสงของพืชเกิดขึ้นนอยกวากระบวนการหายใจ
น้ำตาลถูกใชหมดไป พืชจะไมสามารถมีชีวิตอยูได อัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืชไมได ขึ้นอยูกับความเขมของ
แสงเทานั้น แตยังขึ้นอยูกับความยาวคลื่น (คุณภาพ) ของแสง และชวงเวลาที่ไดรับ เชน ถาพืชไดรับแสงนานจะมี
กระบวนการสังเคราะหดวยแสงดีขึ้น แตถาพืชไดแสงที่มีความเขมมากๆ ในเวลานานเกินไป จะทำใหกระบวนการ
สังเคราะหดวยแสงชะงัก หรือหยุดลงไดทั้งนี้เพราะคลอโรฟลลถูกกระตุนมากเกินไป ออกซิเจนที่เกิดขึ้นแทนที่จะ
ออกสูบรรยากาศภายนอก

๒.ความเขมขนของคารบอนไดออกไซด
ถาความเขมขนของคารบอนไดออกไซด (CO2) เพิ่มขึ้นจากระดับปกติที่มีในอากาศ อัตราการสังเคราะห
ดวยแสงจะเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย จนถึงระดับหนึ่งถึงแมวาความเขมขนของคารบอนไดออกไซดจะสูงขึ้น แตอัตรา
การสังเคราะหดวยแสงไมไดสูงขึ้นตามไปดวย และถาหากวาพืชไดรับคารบอนไดออกไซด ที่มีความเขมขนสูงกวา
ระดับน้ำแลวเปนเวลานานๆ จะมีผลทำใหอัตราการสังเคราะหดวยแสงลดต่ำลงได

๓.อุณหภูมิ
อุณหภูมิ นับวาเปนปจจัยที่มีผลตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช โดยทั่วไปอัตราการสังเคราะหดวยแสงจะ
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ๑๐-๓๕ °C ถาอุณหภูมิสูงขึ้นกวานี้อัตราการสังเคราะหดวยแสงจะลดต่ำลงตาม
อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น อัตราการสังเคราะหดวยแสงที่อุณหภูมิสูงๆ ยังขึ้นอยูกับเวลาอีกปจจัยหนึ่งดวย กลาวคือ ถา
อุณหภูมิสูงคงที่ เชน ที่ ๔๐ °C อัตราการสังเคราะหดวยแสงจะลดลงตามระยะเวลาที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะเอนไซม
ทำงานไดดีในชวงอุณหภูมิพอเหมาะ ถาสูงเกิน ๔๐ °C เอนไซมจะเสื่อมสภาพทำใหการทำงานของเอนไซมชะงักลง
ดังนั้นอุณหภูมิจึงมีความสัมพันธตอการสังเคราะหแสงดวย

๔.กาซออกซิเจน
ในสวนของกาซออกซิเจนมีผลในดานปริมาณ ถากาซออกซิเจนลดลงจะมีผลทำใหอัตราการสังเคราะหดวย
แสงสูงขึ้น แตถามีมากเกินไปจะทำใหเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของสารตางๆ ภายในเซลล โดยเปนผลจากพลังงาน
แสง (Photorespiration) รุนแรงขึ้น การสังเคราะหดวยแสงจึงลดลง

๕.น้ำ
น้ำ (H2O) ถือเปนวัตถุดิบที่จำเปนตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสง (แตตองการประมาณ ๑% เทานั้น
จึงไมสำคัญมากนักเพราะพืชมีน้ำอยูภายในเซลลอยางเพียงพอ) อิทธิพลของน้ำมีผลตอกระบวนการสังเคราะหดวย
แสงในสวนชวยกระตุนการทำงานของเอนไซมใหปฏิกิริยาเกิดขึ้นอยางสมบูรณ

๖.เกลือแร
ธาตุแมกนีเซียม (Mg), และไนโตรเจน (N) ของเกลือในดิน มีความสำคัญตออัตราการสังเคราะหดวยแสง เพราะธาตุ
ดังกลาวเปนองคประกอบอยูในโมเลกุลของคลอโรฟลล ดังนั้น ถาในดินขาดธาตุทั้งสอง พืชก็จะขาดคลอโรฟลล ทำ
ใหการสังเคราะหดวยแสงลดลงดวย นอกจากนี้ยังพบวาเหล็ก (Fe) จำเปนตอการสรางคลอโรฟลล และสารไซโต
โครม (ตัวรับและถายทอดอิเล็กตรอน) ถาไมมีธาตุเหล็กในดินเพียงพอ การสังเคราะหคลอโรฟลลก็จะเกิดขึ้นไมได

๗.อายุของใบ
ใบจะตองไมแกหรือออนจนเกินไป ซึ่งในใบออนคลอโรฟลลยังเจริญไมเต็มที่ สวนใบที่แกมากๆ คลอโรฟลลจะ
สลายตัวไปเปนจำนวนมาก
สมการการสังเคราะหแสงของพืช 6CO2 + 6H2O + พลังงานแสง C6H12O6 + 6O2
พจนา เพชรคอน. (๒๕๖๓).การสังเคราะหแสงของพืช(ออนไลน). สืบคนจาก https://www.scimath.org/lesson-
biology/item/10517-2019-07-18-01-41-56?fbclid=IwAR3JJpaKEu2n-
SGI314b9IvUKSt8X8L0cRAIQrF6PRAGiWaCEqxOnfOYBYI [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๑๐ แสงทำปฏิกิริยายาใดกับพืช
กระบวนการสังเคราะหดวยแสง (photosynthesis) เปน กระบวนการสรางอาหารของพืชสีเขียว โดยมีคลอโรฟลล
ทำหนาที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตยแลวเปลี่ยนสารวัตถุดิบคือน้ำและแกสคารบอนไดออกไซด ใหเปน น้ำตาลกลูโคส น้ำ
และ แกสออกซิเจน NGThai.(๒๕๖๓). การตอบสนองของพืช กลไกทางชีวภาพเพื่อความอยูรอดของสายพันธุ(ออนไลน).
สืบคนจาก https://ngthai.com/science/31684/plant-
responses/?fbclid=IwAR3W9RrWhOqOdWGacGXexAgF2_qmP-rlialjouP2A1tdTNtz-
2dIlqNelSg#:~:text=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9
A%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%
E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87,%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%88%E0
%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B9
%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%20(Negative%20Phototropism) [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๑๑ การตอบสนองของพืชตอเเสงชนิดตางๆ
การตอบสนองตอแสง (Phototropism) คือ การเคลื่อนที่ของพืชจากการกระตุนของแสง ซึ่งปลายยอดพืชหรือลำตน
ของพืชสวนใหญมีทิศทางการเจริญเติบโตเขาหาแสงสวาง หรือ โคงตัวไปทางที่มีความเขมขนของแสงมากกวา
(PositivePhototropism) ในขณะที่ปลายราก มักมีทิศทางการเจริญเติบโตหนีหางออกจากแสงสวาง
(NegativePhototropism)
NGThai.(๒๕๖๓). การตอบสนองของพืช กลไกทางชีวภาพเพื่อความอยูรอดของสายพันธุ(ออนไลน). สืบคนจาก
https://ngthai.com/science/31684/plant-
responses/?fbclid=IwAR3W9RrWhOqOdWGacGXexAgF2_qmP-rlialjouP2A1tdTNtz-
2dIlqNelSg#:~:text=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9
A%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%
E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87,%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%88%E0
%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B9
%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%20(Negative%20Phototropism) [๒๘ มกราคม ๒๕๖๖]

๒.๑.๑๒ วิธีการปลูกพืช indoor


ระยะความหาง ของไฟ คือ ใหหางจากยอด ของตน ๒๕-๓๐ ซม.
๑.ระยะตนออน ๐-๑ เดือน เริ่มเปดไฟตั้งแตเราเอา เมล็ดลงพีทมอส ใหเปดไฟ ตลอด ๒๔ ช.ม ควรหาวัสดุโปรงแสง
มาครอบคลุมกระถางไว เพื่อรักษาความชื้น ตนจะไดไมแหงตาย
๒.ระยะทำใบ - เริ่มแสดงเพศ ใหเปดไฟ ๑๘ ช.ม ปด ๖ ช.ม อาจจะใชตัวตั้งเวลาเพื่อความสะดวก
๓. ระยะทำดอก - เก็บเกี่ยว (กรณีใชไฟ Led ทั่วไปใช แสงสีสม )
- ตนโฟโตใหเปดไฟ ๑๒ ช.ม ปด ๑๒ ช.ม
- ตนออโต ใหเปดไฟ ๑๘ ช.ม ปด ๖ ช.ม
๔.การปรับระยะความหาง ของไฟ คือ ใหหางจากยอด ของตน ๒๕-๓๐ CM
ขอดีขอเสีย ของการปลูกพืช indoor
การปลูก indoor ขอดีตนจะโตไวกวา ไมมีแมลงมากัดกินตน และสามารถควบคุม แสง ความชื้นไดตามตองการ
ปลูกไดตลอดป
ขอเสีย คาไฟฟาตอเดือน ที่อาจจะเพิ่มมากขึ้น ตนทุนอุปกรณ สูง
Growredthai. (๒๕๖๕). การใหแสงกับตนไมIndoor(ออนไลน). สืบคนจาก
https://www.facebook.com/Growredthai/posts/699210208087826/

๒.๒ โครงงานที่เกี่ยวของ
๒.๒.๑ แหลงกำาเนิดแสงเทียมเปนสวนประกอบที่สำคัญของการปลูกพืชในระบบกึ่งปดจึง
ทำการศึกษาผลของแสงจากหลอดไฟ LED ตอการเจริญเติบโตของตนพิทูเนียพันธุ Purple ภายใตระบบปลูก
พืชแบบกึ่งปด โดยใชแสงไฟที่มีอุณหภูมิและสัดสวนของแสงสีแดง และน้ำเงินแตกตางกันทั้งหมด 4 ตารับ คือ
5000K 3000K 5000K: 3000 K (1:1) และ6500K:3000 K (1:1) แบงความเขมแสงออกเปน 2 ระดับ คือ
150 และ 200 µmol. m^-2 s^-1 หลังจากปลูกเปนเวลา 30 วันพบวา แสง 5000K ที่ความเขม 200µmol
m^-2 s^-1 และแสง 6500K:3000K ที่ความเขม 150 µmol m^-2 s^-1สงผลใหตน พิทูเนียมีอัตราการ
สังเคราะหแสงและคาประสิทธิภาพการทางานสูงสุดของระบบแสงที่สอง (Fv/Fm) สูงกวาตนที่ไดรับแสงในตา
รับอื่น ๆ อยางไรก็ตาม ในสวนของน้ำหนักแหงไมพบความแตกตางระหวางแสงทั้ง 4 ตารับ ผลการทดลองนี้
แสดงใหเห็นวาแสงขาวจากหลอด LED มีประสิทธิภาพใกลเคียงกันในการชักนาใหเกิดการเจริญเติบโตของ
ตนพิทูเนียพันธุ Purple
ในระบบกึ่งปด
๒.๒.๒ ศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์ Red Oak ที่ปลูกภายใต้แสงที่แตกต่างกัน เพื่อศึกษา
ชนิดแสงที่เหมาะสมต่อการปลูกผักสลัดในร่ม โดยมีสิ่งทดลองที่ 1 แสงธรรมชาติ (control) สิ่งทดลองที่ 2
Fluorescent, สิ่งทดลองที่ 3 Strip LED , สิ่งทดลองที่ 4 Circle LED และสิ่งทดลองที่ 5 Squair LED วางแผน
การทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) แต่ละสิ่งทดลองมี 4 ซํา้ ๆ ละ 4 ต้น โดยบันทึก
ความสูงต้น (ซม.)จํานวนใบ (ใบ/ต้น), ความกว้างทรงพุ่ม (ซม.), คลอโรฟิ ลล์ (SPAD), ความยาวราก (ซม.),
นํา้ หนักสดและแห้งต้น (ก.) และนํา้ หนักสดและแห้งราก (ก.) จากผลการทดลอง พบว่า ผักสลัด Red Oak ที่ปลูกในสิ่ง
ทดลองที่ 5 Squair LED มีแนวโน้มให้การเจริญเติบโตได้ดี โดยมีความสูง จํานวนใบ และนํา้ หนักสดต้น
แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญกับสิ่งทดลองอื่น แต่ความกว้างทรงพุ่ม จํานวนใบ นํา้ หนักสดและแห้งของต้นและรากไม่มีความ
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญ ดังนัน้ หลอด Squair LED จึงเหมาะในการนําไปใช้เป็ นแสงเทียมสําหรับปลูกผักในร่ม

You might also like