You are on page 1of 21

20308-2007(1-4-3 หน่วยกิต)

หน่วยที่ 2
หลักการออกแบบดิจิทัลกราฟิก
ผู้สอน อ.วิภาพร จินตรินทร์
แผนกวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี
คำนิยาม
คำว่า "ออกแบบ"
การรวบรวมหรือการจัดองค์ประกอบทั้งที่เป็น 2 มิติ และ 3 มิติ
เข้าด้วยกันอย่างมีหลักเกณฑ์ การนำองค์ประกอบของการ
ออกแบบมาจัดรวมกันนั้น ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงประโยชน์
ในการใช้สอยและความสวยงาม อันเป็นคุณลักษณะสำคัญของ
การออกแบบ เป็นศิลปะของมนุษย์เนื่องจากเป็นการสร้างค่า
นิยมทางความงาม และสนองคุณประโยชน์ทางกายภาพให้แก่
มนุษย์ด้วย
หลักการออกแบบ
(DESIGN) เป็นการวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบ
โดยจัดส่วนประกอบให้มีความงาม น่าสนใจ
เหมาะสมกับวัสดุและประโยชน์ใช้สอย
การออกแบบอาจจะเป็นการกำหนดความคิด
หรือออกแบบเป็นรูปแผนงานที่จะสร้าง
นักออกแบบจะต้องมีความเข้าใจในองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ ในการออกแบบทั้งเรื่อง
เครื่องหมาย (SIGN) สัญลักษณ์ (SYMBOL)
และจิตวิทยาการรับรู้ ความเชื่อ ศรัทธาของ
กลุ่มเป้าหมาย
1. ความสาคัญของหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์

หลักการจัดองค์ประกอบทางศิลปะเป็นหลักสาคัญสาหรับผู้สร้างสรรค์งานศิลปะที่จะ
นาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยคุณค่าของงานที่ใช้องค์ประกอบทางศิลปะเกิดจาก
การนาเอาองค์ประกอบต่างๆ ของศิลปะ อันได้แก่ จุ ด เส้น รูปร่าง รูปทรง ค่าน้าหนัก
บริ เ วณว่ า ง สี และพื้ น ผิ ว มาจั ด ประกอบเข้ า ด้ ว ยกั น จนเกิ ด ความพอดี แ ละเหมาะสม
เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาสาระ ทาให้เกิดความสวยงามและได้รับความพึงพอใจจากผู้ชม รวมถึง
ทาให้งานศิลปะชิ้นนั้นมีคุณค่าอย่างสูงสุด
2. การวางแผนใช้องค์ประกอบศิลป์ในการออกแบบ

2.1 กาหนดวัตถุประสงค์

2.2 กาหนดกลุ่มเป้าหมาย

2.3 กาหนดสิ่งที่ต้องการจะบอก

2.4 กาหนดสื่อที่ต้องการนาเสนอ
3. หลักการออกแบบงานศิลป์
3.1 เอกภาพ (Unity)
เป็นการนาส่วนประกอบมาจัดรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทาให้สาระและองค์ประกอบทุกส่วน
มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน มีเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะตัว เป็นการสร้างจุดรวมสายตาและเน้น
ให้องค์ประกอบนั้นมีความโดดเด่นมากยิ่งขึ้น การสร้างเอกภาพทาได้โดยการนารูปร่างหรือรูปทรง
มาจัดวางให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันได้หลายแบบดังนี้
• การนามาใกล้ชิดกัน (Proximity)
• การทาซ้า (Repetition)
• การกระทาต่อเนื่อง (Continuation)
การออกแบบโดยการทาซา
โดยใช้รูปทรงเหมือนกัน

การออกแบบโดย
การกระทาต่อเนื่อง
ซึ่งเป็นการกาหนดทิศทาง
การออกแบบโดยการรวมกลุ่มบุคคล ของเส้นให้เหมือนกัน
ให้อยู่ใกล้ชิดกันเป็นกลุ่ม
3.2 ดุลยภาพหรือความสมดุล (Balance)
เป็นการจัดวางภาพที่มีความพอดีและเหมาะสม เพื่อให้เกิดน้าหนักการจัดวางสองข้างที่เท่ากัน
ความสมดุลขององค์ประกอบทาให้เกิดความกลมกลืนและดึง ดูดให้ผู้ช มมีส่วนร่วม ช่ วยกระตุ้น
พื้นที่ว่างและชี้นาสายตาผู้ชม ซึ่งเป็นสิ่งที่จะช่วยให้ผู้ชมรู้สึกว่าเป็นระเบียบ มีความเท่ากัน ไม่เอียง
หรือหนักไปทางด้านใดด้านหนึ่ง โดยความสมดุลแบ่งได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
• ความสมดุลแบบสองข้างเท่ากัน (Symmetrical Balance)
• ความสมดุลแบบสองข้างไม่เท่ากัน (Asymmetrical Balance)
ความสมดุลแบบสองข้างเท่ากัน ความสมดุลแบบสองข้างไม่เท่ากัน
3.3 จุดเด่น (Dominance)
จุดเด่นในความหมายของทัศนศิลป์คือบริเวณหรือส่วนสาคัญของงานทัศนศิลป์ที่ปรากฏขึ้น
จากการเน้น (Emphasis) ของจุด เส้น รูปร่าง พื้นผิว หรือน้าหนัก ซึ่งเมื่อสัมผัสด้วยสายตาแล้ว
สามารถสื่ออารมณ์ ความรู้สึก และความงามให้เห็นได้อย่างเด่นชัด เป็นการสร้างจุดสนใจให้กับ
ส่วนที่ต้องการเน้นให้เห็นอย่างชัดเจน การสร้างจุดเด่นทาได้หลายวิธีดังนี้
• การเน้นด้วยการใช้องค์ประกอบที่ตัดกัน
• การเน้นด้วยการอยู่โดดเดี่ยวแยกออกไปจากส่วนอื่นๆ ของภาพ
• การเน้นด้วยการจัดวางตาแหน่ง
• การเน้นด้วยขนาดของรูปร่าง
• การเน้นจุดเด่นของภาพ
• การเน้นด้วยสี
• การใช้แนวเส้นนาสายตา
• การสร้างจุดเด่นด้วยพื้นที่ว่าง
การออกแบบที่แสดงจุดเด่นโดยการเน้นสี
3.4 ความกลมกลืน (Harmony)
เป็นการประสานสัมพัน ธ์กลมกลืนกันของส่วนประกอบทางทั ศ นศิ ลป์ เช่ น ความกลมกลืน ด้วยเส้ น
โดยการใช้เส้นซึ่งมีลักษณะเดียวกัน ความกลมกลืนด้วยรูปร่างหรือรูปทรง เป็นการนารูปร่างหรือรูปทรงที่มี
ลักษณะเหมือนหรือคล้ายกันและมีขนาดใกล้เคียงกันมาจัดวางรวมกันให้เกิดความกลมกลืน โดยความกลมกลืน
แบ่งได้ 3 แบบ ดังนี้
• ความกลมกลืนในด้านประโยชน์ใช้สอย
• ความกลมกลืนในด้านความหมาย
• ความกลมกลืนในด้านองค์ประกอบ
การออกแบบโดยการสร้างความกลมกลืนโดยใช้รูปทรงเดียวกัน
3.5 ความขัดแย้ง (Contrast)
เป็ น การไม่ ป ระสานสั ม พั น ธ์ กั น หรื อ เข้ า กั น ไม่ ไ ด้ ข องส่ ว นประกอบต่ า งๆ ท าให้
ขาดความกลมกลืน โดยความขัดแย้งจะช่วยเร้าความสนใจ ช่วยสร้างความสะดุดตาให้กับ
ส่ ว นที่ ต้ อ งการเน้ น ความส าคั ญ และช่ ว ยจั ด ระเบี ย บข้ อ มู ล ให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง่ า ย
โดยแนวทางการสร้างความขัดแย้งมีดังนี้
• ความขัดแย้งด้วยเส้น
• ความขัดแย้งด้วยรูปร่างหรือรูปทรง
• ความขัดแย้งด้วยสี
การออกแบบโดยใช้แนวทางการสร้างความขัดแย้งด้วยสี
3.6 ระยะห่างและพืนที่ว่าง (Space)
พื้นที่ว่างจะช่วยชักนาสายตาของผู้ชมไปยังองค์ประกอบอื่นๆ การจัดพื้นที่ว่างในการออกแบบ
กราฟิกจะช่วยเน้นจุดสาคัญและสร้างความแตกต่างให้เห็นได้อย่างชัดเจน รวมถึงช่วยสร้างความ
เป็นระเบียบ ทาให้ดูสบายตา ช่วยสร้างจังหวะและลีลาขององค์ประกอบภาพให้มีความเหมาะสมและ
สวยงาม โดยการเว้นระยะห่างและพื้นที่ว่างจะต้องพิจารณาจากการวางวัตถุของภาพ ความสมดุล
และวัตถุประสงค์ของงาน
การออกแบบโดยการเว้นระยะห่างและพืนที่ว่าง
3.7 การจัดวางตาแหน่งวัตถุและการจัดวางวัตถุชนิดต่างๆ (Position)
การจัดวางตาแหน่งเป็นการออกแบบและจัดโครงร่างทั้งหมดที่เป็นการกาหนดตาแหน่งและ
ขนาดของภาพประกอบ ข้อความ และส่วนประกอบอื่นๆ ที่ปรากฏบนผลงาน การจัดวางตาแหน่ง
เริ่มตั้งแต่การสร้างรูปร่าง การวางองค์ประกอบลงบนส่วนต่างๆ ให้น่าสนใจและมีความสอดคล้องกัน
โดยควรจั ด เรี ย งต าแหน่ ง ขององค์ ป ระกอบให้ เ ป็ น ล าดั บ และมี ทิ ศ ทางการมองเห็ น ที่ ชั ด เจน
นอกจากนั้นควรคานึงถึงจุดเด่นที่ควรเน้น ความสมดุล ตลอดจนความสบายตาในการมอง รวมถึง
ให้ ค วามส าคั ญ กั บ องค์ ป ระกอบทุ ก ส่ ว นที่ ป รากฏบนชิ้ น งานและความเหมาะสมของการจั ด วาง
องค์ประกอบในตาแหน่งต่างๆ โดยมีเทคนิคในการจัดวางตาแหน่งดังนี้
• ค้นหาจุดที่ต้องการจะโฟกัส
• การใช้เส้นนาสายตา
• ขนาดและลาดับความสาคัญ
• กฎสามส่วน (Rule of Third)
การออกแบบโดยการจัดวางตาแหน่งของวัตถุในลักษณะ
เรียงจากซ้ายไปขวา
3.8 ความเรียบง่าย (Simplicity)
เป็นหลักการพื้นฐานในการออกแบบและการสื่อสารทั้งหมด มีความสาคัญต่อการสร้าง
และการแสดงผลข้อมูลในเชิงปริมาณ รวมถึงเป็นการจัดวางองค์ประกอบทางศิลปะให้ดูสบายตา
และไม่ยุ่ง ยากซับซ้อนด้วยการแสดงสิ่ง สาคั ญเท่า ที่จ าเป็น โดยใช้ วิธีการนาฉากหลัง หรื อ
ภาพประกอบอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป เพราะการมีฉากหลังจะทาให้องค์ประกอบหลัก
ดูไม่โดดเด่น และการลดข้อความหรือการตกแต่งที่ไม่จาเป็น เนื่องจากผลงานหลายๆ ชิ้น
ที่เต็มไปด้วยข้อความ แผนภูมิ หรือสีสันที่มากเกินความจาเป็น มักจะไม่ประสบผลสาเร็จ
ในการสื่อสาร
การออกแบบโดยการวางองค์ประกอบต่างๆ ให้เรียบง่าย

You might also like