You are on page 1of 4

นางสาวชลิตดา ปรีชื่น เลขที่ 14

สรุปสิ่งที่นศ.เรียนรู้จากการทำกลุม่ กระบวนการวินิจฉัยชุมชน
กลุ่มที่ 3 หมู่ บ้านโคกอิเกิ้ง
จากการสำรวจข้อมูลชุมชน ณ วันที่ 27 เมษายน 2566
ขอให้นศ.แต่ละคนเขียนการทำงานกลุ่มในแต่ละข้อว่าทำอย่างไรบ้างตามขั้นตอนที่ทำจริงอ้างถึงขั้นตอนที่
เรียนมาด้วย อธิบาย ยกตัวอย่างจากข้อมูลจริงของกลุ่ม
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล..........มีวิธีการอย่างไร
ตอบ 1. การนำข้อมูลดิบ Edit data มาตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล
2. การแยกประเภทข้อมูล เช่น ข้อมูลทั่วไป ,ข้อมูลด้านประชากรและสถิติชีพ,
3. การแจกแจงความถี่ เช่น ช่วงอายุ
4. การขีดนับข้อมูลจากแบบสอบถามลงในตาราง tally mark ใน Dummy table จากข้อมูล
5. การวิเคราะห์ร้อยละจากจำนวนประชากร 201 คน จำนวน54 ครอบครัว และจำนวน 54 ครัวเรือน
6.การสรุปข้อมูล
1.3 การแปลผล สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล................มีวิธีการอย่างไร
ตอบ การแปลผล สรุปผลวิเคาระข้อมูล ซึ่งนำข้อมูลที่วิเคราะห์ที่ได้ออกมาจากการหาร้อยละมาเปรียบเทียบกับ
ข้อมูลอื่นๆ เพือ่ ให้ได้การสรุปผล ที่เข้าใจง่ายและเห็นความแตกต่างของปัญหา และการสรุปผลข้อมูลของกลุ่ม โดย
มีสูตร การหาร้อยละ ตัวอย่างเช่น จำนวนประชากรชายที่มีคู่ x 100 หารจำนวนประชากรทั้งหมด
1.4 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล................รูปแบบใดบ้างยกตัวอย่างและการแปลตาราง
ตอบ 1.การนำเสนอข้อมูลไม่เป็นแบบแผน
1.1 การนำเสนอในรูปข้อความ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามสุขภาพ
- ข้อมูลทั่วไป เช่น จำนวนครอบครัวที่สำรวจได้ 54 ครอบครัว , จำนวนประชากรทั้งหมด 201 คน ชาย 77
คน หญิง 124 คน
1.2 การนำเสนอในรูปข้อความกึ่งตาราง เช่น ตารางที่ 12 จํานวนและร้อยละของประชากรที่รับประทาน
ยากล่อมประสาท ยานอนหลับของ ประชากรหมู่ที่ 3 บ้านโคกอิเกิ้ง ต.มวกเหล็ก อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
จากการสํารวจพบ ว่าประชากรทั้งหมด 201 คน ไม่มีการรับประทานยากล่อมประสาท และยานอน หลับ
คิดเป็นร้อยละ 100 ของจํานวนประชากรทั้งหมด
2.การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน
2.1 การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง ยกตัวอย่างตารางทางเดียว
-จำนวนและร้อยละของสิทธิการรักษาพยาบาล
สิทธิการรักษา จำนวน(คน) ร้อยละ
หลักประกันสุขภาพ(บัตรทอง) 146 72.60
ข้าราชการ 9 4.47
ประกันสังคม 46 22.88
ไม่มี 0 0
รวม 201 100

2.2 การนำเสนอข้อมูลแบบแผนภูมิ
แผนภูมิที่ 15 แสดงจํานวนและร้อยละของหญิงที่แต่งงานแล้ว (อายุ15-49ปี) จําแนกตามการคุมกําเนิด และ
วิธีการคุมกําเนิดของประชากรหมู่ที่ 3 บ้านโคกอิเกิ้ง ต.มวกเหล็ก อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
1.5 การระบุปัญหาอนามัยชุมชนและแสดงเหตุผลในการระบุปัญหา.........ใช้วธิ กี ารใดในการระบุปญ
ั หา
ตอบ ในการระบุปัญหาใช้วิธีจากการสำรวจประชากรข้อมูลในชุมชน และการซักถามข้อมูลจากประชากรใน
ชุมชน หลังจากนั้นนำปัญหาที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้หลักการด้านวิชาการในเรื่องการให้คะแนนขนาดของปัญหา
ความรุนแรง ความยากง่าย ความตระหนักและใช้วิธีการนับคะแนนรวมผลบวก ผลคูณในการระบุลำดับของปัญหา
1.6 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและแสดงเหตุผลในการให้คะแนน
ตอบ การจัดลำดับของปัญหาในชุมชนโค้กอิเกิ้งได้จากการพิจารณาจากจำนวนคนที่เกิดโรค อัตราการป่วย และ
พิจารณาผลกระทบที่เกิดจากปัญหาจากนั้นพิจารณาความยากง่ายในการแก้ปัญหาโดยใช้พิจารณาความเป็นไปได้
ด้านวิชาการ ต้นทุนทางสังคม และขอความร่วมมือจากประชากรในชุมชน ซึ่งจะให้ประชากรในชุมชนร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาในชุมชนว่าชุมชนอยากแก้ไขปัญหา ชุมชนเห็นความสำคัญของปัญหาเพียงใด
เหตุผลในการให้คะแนนของการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาได้จากคะแนนรวมของผลคูณ เนื่องจาก
คะแนนรวมผลบวกมีคะแนนรวมเท่ากันหลายปัญหา และการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาของชุมชนโค้กอิเกิ้งมี
ปัญหาเรื่องโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 10.44 มีคะแนนผลคูณ 32 คะแนน ซึ่งจัดเป็นลำดับของปัญหาที่ 1
เนื่องจากกลุ่มผู้จัดทำเห็นถึงความรุนแรงของโรคที่อาจจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆจึงเลือกปัญหาโรค
ความดันโลหิตสูงในเป็นลำดับ 1
1.7 การวิเคราะห์สาเหตุ โยงใยสาเหตุของปัญหา (web of causation).......อธิบายwebตามที่นศ.เข้าใจ
ตอบ การทำweb คือการเชื่อมโยงสาเหตุของปัญหาทั้งหมดของหมู่บ้านโคกอิ้เกิ้งซึ่งจากการสำรวจนั้น ปัญหา
ของชุมชนโค้กอิเกิ้งจากการสำรวจพบ ประชากรป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 9.45 ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้อง
แก้ไขเป็นอันดับแรกเพราะมีความรุนแรงมากและแก้ไขได้อย่าง ซึ่งปัญหานั้นเกิดขึ้นจากพฤติกรรมของประชากร
ทั้งด้านการรับประทานอาหารรสเค็มจัด ความเครียด การขาดการดูแลตัวเอง และอายุที่มากส่งผลทำให้เกิดภาวะ
ความดันโลหิตสูง นำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้นและการเสียชีวิตได้

1.8 การเขียนแผนงานหลัก และโครงการย่อย.............มีหลักการเขียนอย่างไร


ตอบ การเขียนแผนงานหลักประกอบด้วยขั้นตอนตามลำดับ ดังนี้
1.ปัญหาสาธารณสุข เช่น ปัญหาของชุมชน เรื่องการเจ็บป่วย
2.วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาอย่างละเอียด
3.เป้าประสงค์ในการแก้ปัญหา เช่น การลดอัตราการป่วยของประชากร
4.กลวิธีทางสาธารณสุขในการแก้ไขปัญหา เช่น การแนะนำด้านพฤติกรรม, การบอกแนวทางการักษา
5.การประเมินผล เช่น ประเมินผลจากที่เราตั้งไว้
การเขียนโครงการย่อยประกอบด้วยขั้นตอนตามลำดับ ดังนี้
1.เกิดจากการวางแผ่นแม่บท จะใช้วิธีการทางการสาธารสุข ในการแก้ปัญหามาเขียนแผนโครงการ
2.เกิดจากสถานการณ์ที่จำเป็นเกิดขึ้นในขณะนั้นโดยมิได้มีแผนมาก่อน

You might also like